You are on page 1of 22

การสัมภาษณเชิงลึก

(Indepth Interview)

รศ.อมรรัตน รศ.มานพ รศ.นฤมล และคณะ


การสัมภาษณ (interview)
เปนวิธีการเก็บรวบรวมขอมูล
หลักฐาน โดยใชการสนทนา หรือ
การเจรจา อยางมีจุดมุงหมาย
ระหวางบุคคล 2 ฝายคือ นักวิจัย
(ฐานะผูสัมภาษณ) และผูใหขอมูล
(ฐานะผูถูกสัมภาษณ) ภายใต
บรรยากาศของการมีปฏิสัมพันธ
อันดีระหวางกัน
ลักษณะสําคัญของการสัมภาษณโดยทัว่ ไปมี 4 ประการคือ

1.นักวิจัยเปนผูกําหนดเนื้อหาและโครงสรางของการสนทนา
2.นักวิจัยพยายามหารายละเอียดเบือ้ งตนเพื่อทําความเขาใจในตัวผูใหขอมูล
3.ความสําเร็จสวนใหญของการสัมภาษณขึ้นอยูกับคําถามที่ใชในการ
สัมภาษณวาเกี่ยวกับเรื่องที่ตองการจะทราบหรือไมเพียงใด และผูให
ขอมูลตอบคําถามตรงตอความเปนจริงมากนอยเพียงใด
4.นักวิจัยควรจะมีความชํานาญในการสัมภาษณพอสมควร
ประเภทของการสัมภาษณ
จําแนกตามลักษณะโครงสรางได 3 ประเภทคือ
1.การสัมภาษณแบบมีโครงสราง (Structured interview)
เปนการสัมภาษณที่มีการวางแผน จัดเตรียมชุดคําถาม และวิธีการ
สัมภาษณอยางเปนระบบและมีขั้นตอนลวงหนา มีการดําเนินงานแบบ
เปนทางการภายใตกฎเกณฑหรือมาตรฐานเดียวกัน
2.การสัมภาษณแบบกึ่งโครงสราง
(Semi-Structured
Interview)
เปนการสัมภาษณที่มีการวางแผน
การสัมภาษณไวกอนลวงหนาอยางเปน
ขั้นตอน แบบเขมงวดพอประมาณ และ
ขอคําถามในการสัมภาษณมีโครงสราง
แบบหลวม (Loosely
structure)
3.การสัมภาษณเชิงลึก (Indepth
Interview)
เปนการสัมภาษณที่ไมมีการกําหนด
กฎเกณฑเกี่ยวกับคําถามและลําดับ
ขั้นตอนของการสัมภาษณไวลวงหนา
เปนการพูดคุยสนทนาตามธรรมชาติ
(Naturalistic Inquiry)
เพื่อชวยใหการสัมภาษณบรรลุเปาหมายในการสัมภาษณเชิงลึก
นักวิจัยควรคํานึงถึงสิ่งตอไปนี้
1.ความเห็นใจ
2.การทําใหมั่นใจ
3.การใหความเห็นชอบ
4.อารมณขัน
5.การพิจารณาใชอปุ กรณประกอบการสัมภาษณ
การสัมภาษณที่มีประสิทธิภาพนั้น นักวิจัยควรมีคุณสมบัติและมี
ความสามารถ คุณสมบัติตอไปนี้จะชวยใหนักวิจัยเปนผูสัมภาษณที่ดีได
1.นักวิจัยตองเขาใจตนเองและสิ่งแวดลอมอยางดี
2.ตองไมมีอคติและไมยึดถือประสบการณของตนเองเปนสําคัญ
3.เปนผูฟงที่ดี เปดโอกาสใหผูใหขอมูลไดพูดอยางอิสระ
4.มีความเขาใจและสนใจชวยเหลือผูอื่นดวยใจจริง
5.ไมแสดงความเห็นอกเห็นใจจนเกินควร
6.ไมวิพากษวิจารณหรือสอนศีลธรรมจรรยาหรือใหสุขศึกษาขณะทําการ
สัมภาษณ
7.หามโตเถียงกับผูถ ูกสัมภาษณ
อยางเด็ดขาด
8.ตองไมพูดลอยๆ และไมใหคํามั่นสัญญามากเกินไป
9.ตองมีความอดทน
10.ตองไมเรงรีบหรือรีบรอนจนเกินไป
11.เปนผูที่มีบุคลิกภาพดี เปนที่เลื่อมใสศรัทธาของผูอื่นและบุคคลรอบขาง
12.มีความรอบรูเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจและสังคม ทันตอเหตุการณเสมอ
13.ยอมรับวาบุคคลมีศักดิ์ศรีและศักยภาพที่จะรับผิดชอบชีวิตของตนเองได
การเขาใจบริบททางวัฒนธรรมถือเปนหัวใจสําคัญที่มีสวนอยางยิ่งตอ
ประสิทธิภาพของการสัมภาษณ
การทบทวนเพื่อเรียนรูทางวัฒนธรรมจะใหประโยชนแกนักวิจัย
3 ประการคือ
1.การสรางขอคําถามเพื่อคนหาขอมูลเกี่ยวกับกฎเกณฑทาง
วัฒนธรรมจะชวยใหเห็นความสัมพันธของการสรางขอคําถามสําหรับ
สัมภาษณกับขอมูลที่จะเขาถึง
2.การวิเคราะหทางวัฒนธรรมเปนการเตรียมตัวเพื่อการคนหา
วิธีการในการเขาไปเก็บรวบรวมขอมูลและแสวงหาความสัมพันธที่จะ
เปรียบเทียบขอมูลที่ไดจากการสังเกตกับสัมภาษณวาตรงกันหรือไม
อยางไร เปนการชวยการตรวจสอบสามเสา
3.นักวิจัยสามารถสราง “ความเปนกลาง” ในการศึกษาวิจัยการ
เขาใจวัฒนธรรมจะชวยใหนักวิจัยเขาใจขอมูลพื้นฐานของสิ่งที่เกิดขึ้นกับ
สิ่งที่คาดหวังอันเกิดจากความเคยชินของนักวิจัย ดังนั้นเพื่อใหเขาใจ
“ ภาพ “ ที่แทจริง นักวิจัยจําเปนตองรูบริบททางวัฒนธรรมและสรางความ
เปนกลาง โดยมองเห็นความจริงในทุกแงทุกมุม
การวิจัยเชิงคุณภาพมักใชการสัมภาษณเชิงลึก
(Indepth Interview)
โดยมีวตั ถุประสงคดังนี้
1.เพื่อชวยเพิ่มเติมขอมูลที่ไดมาจากวิธีการ
อื่นๆไดดีขึ้น
2.เพื่อตรวจสอบความเปนจริงของขอมูลที่ได
เก็บรวบรวมมากอน
3.เพื่อดูรองรอยอื่นๆที่ไมไดแสดงออกมาดวย
คําพูด
แนวคําถามที่ใชในการวิจัยเชิงคุณภาพไมใชแบบสอบถามที่ใชใน
การวิจัยเชิงปริมาณ แนวคําถามจะเปนเครื่องมือการวิจัยที่มีโครงสราง
นอยกวาเมื่อเทียบกับแบบสอบถาม แตแนวคําถามที่ดีควรมีความ
ครอบคลุมและรัดกุม ดังนั้นในการสรางแนวคําถามเพื่องานวิจัย ผูที่จะ
สรางแนวคําถามไดดีควรตองศึกษาปญหา และวัตถุประสงคของการ
วิจัยใหเขาใจ จากนั้นจึงสามารถกําหนดแนวคําถามได
แนวคําถามที่ใชในการสัมภาษณเชิงลึกที่ใชโดยทั่วไปนั้นควร
มีลักษณะดังตอไปนี้
1.มีลักษณะเปนเคาโครง(outline) หรือหัวขอการสนทนา
2.จะตองมีความยืดหยุนได(flexible) เปนเพียงแนวคําถาม คราวๆ
เพื่อเปนแนวในการสัมภาษณหรือการสนทนาใหครบถวนตาม
วัตถุประสงคของการวิจัย
3.ควรจะเรียงลําดับใหเนื้อหามีความตอเนื่อง
4.เนื้อหาของแนวคําถามในการวิจัยเรื่องเดียวกันแตใชกับกลุมเปาหมาย
แตละกลุมอาจไมเหมือนกันก็ได
5.ความยาวของแนวคําถามควรมีความยาวไมมากนัก คือประมาณ 1-3
หนากระดาษ
เนื่องจากคําถามในแนวคําถามจะเปนเพียงเคาโครงของคําถาม
เทานั้น ดังนั้นลักษณะของคําถามที่ใชในการสัมภาษณควรมีลักษณะ
ดังนี้
1.เปนคําถามปลายเปด(open-ended questions) คือ
เปนคําถามในลักษณะที่เปดโอกาสใหผูใหขอมูลตอบไดอยางเสรีตาม
ความพอใจ
2.เปนคําถามที่ไมเปนการถามนําหรือเสนอแนะใหผูใหขอมูลตอบ
ไปในแนวทางที่วางไว
3.เปนคําถามที่จะไมทําใหผูใหขอมูลเกิดความรูสึกไมอยากตอบ
หรือจะทําใหผูใหขอมูลเกิดความเสื่อมเสียหรืออับอาย
4.เปนคําถามที่เนนในเรื่องความ
คิดเห็นหรือเหตุผล เปนการอธิบายที่มี
รายละเอียดลุมลึก และมีความหมาย
มากกวาที่จะเนนในเรื่องปริมาณ
5.ไมควรถามคําถามที่เปนความรูทาง
วิชาการมากเกินไป เพราะถาผูใหขอมูล
ตอบไมไดจะรูสึกกลัวที่จะตอบหรือพูดคุย
ตอไป
6.ควรใชคําถามที่มีลักษณะกระตุน
ใหไดแสดงความคิดเห็นอธิบายความให
กวางขวางขึ้น หากยังเงียบควรถามคําถาม
อื่นๆตอไป
ตัวอยาง แนวทางการสัมภาษณ
ตามเอกสารที่แจกใหนักศึกษา
ขั้นตอนในการสัมภาษณ มี 4 ขั้นตอนหลักดังนี้

1.ขั้นเตรียมการสัมภาษณ
2.ขั้นเริ่มการสัมภาษณ
3.ขั้นดําเนินการสัมภาษณ
4.ขั้นยุตกิ ารสัมภาษณ
การบันทึกขอมูลการสัมภาษณ
เปนสิ่งที่นักวิจัยจําเปนตองทําทุกครั้ง เพราะ
1.ชวยใหนักวิจัยระลึกถึงเรื่องราวของการสัมภาษณนั้นๆได
2.ชวยใหทราบถึงความเปนไปตางๆของผูใหขอมูลจากการไดสัมภาษณแต
ละครั้ง
3.ใหประโยชนในการรักษาความคุนเคยกับผูใหขอมูล และชวยใหเก็บ
เรื่องราวตางๆเปนรายละเอียดที่จะอางอิงถึงภายหลัง
ตัวอยาง แนวทางการสัมภาษณ
ตามเอกสารที่แจกใหนักศึกษา
เอกสารอางอิง
มานพ คณะโต.2550.วิธีวิทยาการวิจัยเชิงคุณภาพในระบบสุขภาพ ชุม
ชน.พิมพครั้งที่1 ขอนแกน : เครือขายพัฒนาวิชาการและขอมูล สาร
เสพติด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยขอนแกน.

You might also like