You are on page 1of 1

1.

ประวัติ วรรณกรรมของประเทศอิ นโดนีเชี ยวรรณกรรมอิ นโดนีเซียเป็ นการสะท้อนสภาพสั งคม วัฒนธรรมการเมือง


และประวัติ ศาสตร์ อารมณ์ ความรู้สึ ก บุ คลิ กลักษณะของประชาชนอิ นโดนีเซีย โดยพัฒนาการวรรณกรรมของ
อิ นโดนีเซีย แบ่ งได้เป็ น 3 ยุ ค 1. วรรณกรรมยุ คก่อนอาณานิ คม 2. วรรณกรรมสมัยอาณานิ คมฮอลันดาและต่ อต้านการ
ปกครองของญี่ปุ่ น 3. วรรณกรรมสมัยหลังได้รับเอกราช ในส่ วนของวรรณกรรมยุ คก่อนอาณานิ คมหรือวรรณกรรม
กรรมยุ คดั้งเดิ ม ในตอนที่อิ นโดนีเซียยังไม่ได้ตกเป็ นอาณานิ คมของอาณานิ คมใดวรรณกรรมโบราณของอิ นโดนีเซีย
มักจะเป็ นการร้องเพลง บทสวดประกอบพิ ธีกรรม และนิ ทานพื้นบ้าน ที่เรียกว่า “ฮิ กายัต” คือ เรื่องเล่านิ ทานที่เล่าต่ อๆ
กัน ฮิ กายัตที่มีชื่ อเสี ยงที่สุ ดในอิ นโดนีเซีย คือ อิ เหนา ในอิ นโดนีเซียเรียกว่า อิ นู ต่ อมาเป็ นวรรณกรรมสมัยอาณานิ คม
ฮอลันดาและต่ อต้านการปกครองของญี่ปุ่ น ในยุ คนี้มีการนำวรรณกรรมจากยุ คดั้งเดิ ม มาดัดแปลงให้เป็ นรู ปแบบคล้าย
วรรณกรรมตะวันตก เพราะได้รับอิ ทธิ พลจากการอ่ านวรรณกรรมฮอลันดา มีการแต่ งเรื่องสั้ น นวนิ ยา และบทกวีขึ้น
วรรณกรรมในยุ คอาณานิ คมในด้านเนื้ อหาจะมุ่งเน้นไปถึงประเด็ นการเมืองและสั งคมเป็ นหลัก มีการใช้ วรรณกรรมเพื่อ
เป็ นกระบอกเสี ยงในการต่ อสู้ ปลดปล่อยตนเองให้เป็ นอิ สระจากการปกครองของฮอลันดา ในการเขียนนวนิ ยาย
วรรณกรรมการต่ อสู้ เพื่อชาติ นี้เพื่อเป็ นการกระตุ้นให้คนรักชาติ และอยากออกไปต่ อสู้ จริ งๆในสั งคมเพื่อปลดปล่อย
ประเทศจากการตกเป็ นอาณานิ คม ต่ อมาเมื่อพ้นจากการตกเป็ นอาณานิ คมของประเทศต่ างๆ จะเป็ นวรรณกรรมสมัย
หลังได้รับเอกราชภายใต้การนำของซู การ์ในจนถึงปั จจุ บั น ในยุ คนี้เป็ นยุ คที่ทหารกุ มอำนาจแบบเผด็ จการ นั่นทำให้นั ก
เขียนต่ างไม่พอใจ วรรณกรรมในยุ คนี้นั กเขียนจะต่ อสู้ เพื่อเอกราช เสรีภาพ และความเสมอภาค นั กเขียนที่เขียนโจมตี
รัฐบาลหรือพวกทหาร ก็ จะถู กขุ มขังหรือประหารชี วิ ต ทำให้นั กเขียนเหล่านี้ใช้ ชี วิ ตด้วยความหวาดกลัวเผด็ จการทหาร
(ถนนสายนี้ไม่มีที่สิ้ นสุ ด)ของมอคตาร์ลู บิ ส เกี่ยวกับการต่ อสู้ เพื่อเอกราชให้หลุ ดพ้นจากการปกครองของฮอลันดา

2. ภาพยนตร์ Be with Me ของประเทศสิ งคโปร์ได้สะท้อนสภาพสั งคมของประเทศสิ งคโปร์ในแง่มุ มปั ญหาในสั งคม


สิ งคโปร์ที่สื่ อผ่ านตั วละครในภาพยนตร์ ในส่ วนของภาพยนตร์เรื่องนี้เป็ นเรื่องที่นำเสนอความรักที่สลับกันไปมาระหว่าง 3
เรื่อง ได้แก่ Mean to be, Finding love, So In love โดยในเรื่องแรก Mean to be กล่าวถึงความรักของชายแก่ที่หมด
หวังในการใช้ ชี วิ ตต่ อ เพราะเหตุ การณ์การสู ญเสี ยภรรยาของตน จนทำให้ตนหมดหวังกับการใช้ ชี วิ ต เนื่องจากยึดติ ดกับ
ความรักมากเกิ นไป ในเรื่องมีการสะท้อนถึงปั ญหาการสั งเกตและใส่ ใจคนในครอบครัว จากตอนที่ลู กชายของคุ ณลุ งที่เป็ น
นั กพัฒนาสั งคมที่ต้องดู แลครอบครัวที่มีปั ญหา แต่ กลับไม่รู้ว่าพ่อของตนนั้ นมีปั ญหาทางด้านจิตใจที่ต้องได้รับการดู แล
เหมือนกัน จากการที่มีนั กพัฒนาสั งคมที่ต้องไปดู แลครอบครัวที่มีปั ญหาต่ างๆ ทำให้เห็ นว่าสภาพสั งคมของสิ งคโปร์มีความ
กดดันและตึงเครียด จนมีนั กพัฒนาสั งคมที่คอยให้ช่ วยเหลือผู้คนเกิ ดขึ้น และจากเรื่องนี้มีการสะท้อนว่าในสิ งคโปร์มีชาติ
พันธ์จีนที่เข้ามาอาศั ยในประเทศ จากตอนที่ลู กชายได้นำเรื่องของเทเรซ่ าไปแปลเป็ นภาษาจีนเพื่อให้พ่อของตนอ่ าน ใน
เรื่องที่สองFinding love เป็ นการเล่าถึงเรื่องราวความรักข้างเดียวของหนุ่ มอ้วนที่ตกหลุ มรักหญิ งสาวที่หน้าตาสวยคนหนึ่ง
มีการสะท้อนปั ญหาการเหยียดรู ปร่ างหน้าตาและฐานะ สะท้อนปั ญหาการเอาใจใส่ ในครอบครัว จากตอนที่ครอบครัวของ
หนุ่ มอ้วนที่แสดงท่ าทีที่ไม่สนใจว่าหนุ่ มอ้วนจะรู้สึ กอย่างไร จากการที่หนุ่ มอ้วนโดนไล่ออกเพราะเผลอหลับขณะทำงาน ได้
สะท้อนให้เห็ นว่าสั งคมในสิ งคโปร์เป็ นสั งคมที่ไม่ได้เอาใจใส่ คนรอบข้าง อันเป็ นปั ญหาที่เห็ นได้สั งคมเมืองที่ต่ างคนต่ าง
สนใจแต่ เรื่องของตนเท่ านั้ น ยังมีการสะท้อนเรื่องความไม่เท่ าเทียมในด้านการศึ กษา จากตอนที่หนุ่ มอ้วนเขียนจดหมายแต่
ยังต้องเปิ ดดิ คชั นนารีภาษาอังกฤษไปเขียนไป ซึ่งสิ งคโปร์ในสมัยนั้ นหลายๆคนสามารถพู ดได้ทั้งภาษาจีนและอังกฤษ ใน
เรื่องนี้ยังมีการสะท้อนถึงความเครียดของคนในสิ งคโปร์ ที่มีคนกระโดดตึกเพื่อปลิ ดชี พตั วเองอีกด้วย ส่ วนในเรื่องสุ ดท้าย
So in love เป็ นการเล่าถึงหญิ งสาวสองคนที่มีปั ญหาครอบครัวและได้เจอกันทางออนไลน์ ทั้งคู่ชอบในเพศเดียวกัน มีการ
สะท้อนเกี่ยวกับกลุ่มความหลากหลายทางเพศที่ยังไม่เปิ ดกว้างในสิ งคโปร์ หญิ งสาวทั้งคู่มีความสั มพันธ์ไปอย่างรวดเร็ ว
และยังมีฝ่ ายหนึ่งที่แอบไปเดทกับหนุ่ มคนอื่น สะท้อนให้เห็ นถึงความสั มพันธ์ในโลกออนไลน์ ที่ไปไวมาไว

3. คำว่า “โทรทั ศนารมณ์” มีความหมายว่า อารมณ์ที่เกิ ดจากสื่ อในโทรทั ศน์ ชั กนำ และควบคุ มให้คนดู
เกิ ดอารมณ์ขึ้น ซึ่งในอดีตอารมณ์ได้เกิ ดจากธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อมรอบข้าง การที่โทรทั ศน์ เข้ามา
เปลี่ยนแปลงสั งคมมาเลเซีย ได้ส่ งผลกระทบจากการเข้ามาของเทคโนโลยีหรือโทรทั ศน์ ไม่ว่าจะเป็ นการ
ควบคุ มจิตใจของมะอีชาและการเข้ามาของแนวคิดแบบคนเมืองที่ทำให้จะห์ ต้องเป็ นโสเภณีในเมือง เพียง
เพราะกระแสนิ ยมโดยไม่คำนึงความผิ ดชอบชั่วดีแม้แต่ นิ ด อีกทั้งยังแสดงให้เห็ นถึงการที่ครอบครัวที่ได้
รับผลกระทบจากโทรทั ศน์ ไปด้วย จากตอนที่คนในครอบครัวได้หลงไปกับโทรทั ศน์ ไม่สามารถที่จะแยก
ผิ ดชอบชั่วดีจนละทิ้ งหน้าที่ของตน คนในครอบครัวได้เชื่ อสิ่ งที่โทรทั ศน์ สื่ อและนำเสนออกมา และได้
ละเลยต่ อศาสนาที่ตนเองนั บถือ ได้ส่ งผลกระทบให้คนในสั งคมเกษตรกรรมได้ดู ถู กคนกันเอง จนเห็ นสิ่ ง
ที่ผิ ดเป็ นความเจริ ญ อีกทั้งยังกระทบต่ อการดู แลคนในครอบครัว จากตอนจบที่พ่อแม่ได้ละทิ้ งหน้าที่ทุ ก
อย่างไปดู โทรทั ศน์ จนไม่สนใจลู ก

You might also like