You are on page 1of 8

นางสาววริศรา คงพัฒ

630510979
ข้อสอบปลายภาค รายวิชา 450132 ประวัติศาสตร์เอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้
สอบออนไลน์ วันจันทร์ที่ 31 ตุลาคม 2565 เวลา 13:30 -
16:30 คะแนนเต็ม 40 คะแนน
1. ข้อบังคับ
นักศึกษาคิดว่าเหตุใดกระบวนการสร้างชาติของเอเชียตะวัน
ออกเฉียงใต้จึงต้องอาศัย
“เครื่องมือการสร้างชาติ” โปรดอธิบายในประเด็นนี ้ (5 คะแนน)
และในมุมมองของนักศึกษา คิดว่ากระบวนการสร้างของเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ประสบความสำเร็จหรือไม่ อย่างไร โปรด
อภิปรายในประเด็นนีอ
้ ย่างกว้างขวาง พร้อมทัง้ ยกตัวอย่าง
ประกอบให้เห็นอย่างชัดเจน (15 คะแนน)
ตอบ เหตุที่ต้องอาศัยเครื่องมือในการสร้างชาติเพราะว่าเพื่อสร้างภาพ
ลักษณ์และอันลักษณ์ให้กับชาตินน
ั ้ ๆ การสร้างอัตลักษณ์ของชาติเช่น
ภาษาประจำชาติเป็ นปั จจัยสำคัญที่ทำให้มีความเป็ นชาติ เป็ นสื่อกลางใน
การติดต่อและสื่อสาร การพูดภาษาเดียวกันทำให้เกิดสำนึกในความเป็ น
ชาติ มีการศึกษาแห่งชาติมีการกำหนดการศึกษาภาคบังคับและมีการ
กำหนดให้สอนภาษาประจำชาติให้กับคนในประเทศสิง่ นีท
้ ำให้เกิดอัต
ลักษณ์แห่งชาติร่วมกัน และการศึกษาช่วยปลูกฝั่ งให้คนในชาติรักชาติ
สอน และขัดเกลาให้คนในชาติร้จ
ู ักผิดชอบชั่วดี รู้จักแยกแยะเพื่อเติบโต
ไปเป็ นพลเมืองที่ดี แบบเรียนในการสร้างชาติก็เป็ นสิ่งสำคัญที่แทรกเรื่อง
ราวประวัติศาสตร์ชาติในบทเรียนให้ผู้เรียนซึมซับเรื่องราวของชาติในการ
ต่อสู้เพื่อเอกราชของชาติ ถือว่าเป็ นการสร้างภาพให้คนเห็นและสำนึกรัก
ชาติของตน สัญลักษณ์แห่งชาติเช่น ธงชาติ เพลงชาติไปจนถึงการแต่ง
กายประจำชาติที่เป็ นสัญลักษณ์ว่าประเทศนัน
้ ๆมีสัญลักษณ์ที่ส่ อ
ื ถึงความ
เป็ นชาติของตนเอง ให้คนในชาติได้มีสำนึกและให้นิยามว่าราเป็ นคน
เดียวกันในการใช้สัญลักษณ์ต่างๆเหล่านีร้ ่วมกัน นอกจากนีภ
้ าพยนตร์ยัง
เป็ นเครื่องมือในการสร้างชาติอีกด้วยยกตัวอย่างเช่นภาพยนตร์ของไทย
เรื่องนเรศวรมหาราชที่แสดงให้เห็นถึงวีรบุรุษและบรรพบุรุษที่กอบกู้ชาติ
ให้ประเทศเป็ นเอกราชได้ในทักวันนี ้ ทัง้ หมดนีเ้ ป็ นสิ่งสำคัญที่เรียกว่า
เครื่องมือในการสร้างชาติเพื่อให้เห็นตนเองว่าเป็ นคนมีถิ่นที่อยู่และใช้
เครื่องมือเหล่านีเ้ ป็ นสิ่งยืนยันว่าเป็ นคนมีเชื้อชาติและเป็ นการยืนยันตัวตน
ว่าเป็ นคนในชาตินี ้

ในมุมมองของผู้เขียนมองว่ากระบวนการสร้างชาติของเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ไม่ประสบความสำเร็จแต่มีเพียงสิงคโปร์ที่
ประสบความสำเร็จมนการสร้างชาติเพราะ ประเทศในเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้นอกจากสิงคโปร์มีการขัดแย้งกันในรัฐเองและ
ความหลากหลายทางเชื้อชาติ ความหลากหลายของวัฒนธรรมที่
มีการผสมผสานกันทำให้เกิดความขัดแย้งในการนำเอาสิง่ ต่างๆ
มาสร้างชาติ มีความขัดแย้งที่เกิดขึน
้ ในรัฐมากมายและปั ญหาใน
เรื่องการตกลงดินแดนไม่สำเร็จยกตัวอย่างประเทศที่สร้างชาติไม่
สำเร็จเช่น มลายูที่กำหนดให้ภาษามลายูเป็ นภาษาราชการ และ
รัฐบาลมีการจัดตัง้ นโยบายที่เอื้อต่อต่อคนมลายูคือนโยบายภูมิ
บุตรที่แสดงให้เห็นว่าคนมลายูคือเจ้าของแผ่นดิน ทำให้ชาวจีน
และชาวอินเดียในมลายูร้ส
ู ึกว่าตัวเองไม่ใช่คนในชาติเกิดปั ญหา
ทางชนเชื้อชาติตามมา นอกจากนีย
้ งั มีนโยบายที่รับรองสิทธิ
นางสาววริศรา คงพัฒ
630510979
พิเศษให้กับชาวมลายูเป็ นหลัก มีการยกเลิกการสอนภาษาจีนส่ง
ผลให้เกิดปั ญหาทางเชื้อชาติระหว่างชาวจีนในมาเลเซียและชาว
มุสลิม ทำให้คนที่ไม่ใช่คนมลายูเช่นคนจีนรู้สึกว่าตัวเองไม่ได้รับ
ความยุติธรรมและสิทธิเท่าเทียมเท่ากับคนมลายูเองจากการกลืน
เอาทุกอย่างเป็ นวัฒนธรรมมลายู หลังจากปี 1963 เรียกมลายูวา่
มาเลเซีย ในการก่อตัง้ มาเลเซียมีแนวคิดจะรวมสิงคโปร์และดิน
แดนที่เคยเป็ นอาณานิคมของอังกฤษเข้าด้วยกันยกเว้นประเทศ
บรูไน แต่ในภายหลังสิงคโปร์ก็ได้ถอนตัวออกเพราะการขัดแย้ง
กันระหว่างผู้นำ และสิงคโปร์ไม่ต้องการแชร์ภาษีและไม่ต้องการ
เอาความรุ่งเรืองมาแชร์ผลประโยชน์กัน นอกจากนีก
้ ารใช้ภาษา
มลายูเป็ นภาษาราชการทำให้เป็ นปั ญหากับคนจีน ก่อให้เกิดการ
จลาจลที่คนมลายูเข้าไปสังหารคนจีน
ตัวอย่างประเทศที่สองที่ทำให้เห็นถึงความไม่สำเร็จในการสร้าง
ชาติคือการสร้างชาติของไทยภายใต้จอมพล ป. คือรัฐนิยมโดย
การขยายอิทธิพลวัฒนธรรมไปยังภาคอื่นๆมีการกระตุ้นให้คนมี
จิตสำนึกความเป็ นชาติพน
ั ธ์ ศาสนา และวัฒนธรรมให้กับคนใน
สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ และข้อกำหนดภายใต้จอมพล ป. ยัง
มีบทลงโทษสำหรับผู้ที่ไม่มีปฏิบัติตามทำให้เห็นว่าการสร้างชาติ
ของจอมพล ป. เป็ นการบีบบังคับและนำเอาอิทธิพลวัฒนธรรม
ภาคกลางไปครอบคนอื่น และชาวจังหวัดสามชายแดนภาคใต้มี
อันลักษณและวัฒนธรรมของพวกเค้าเองอยู่แล้วแต่จอมพล ป.
เข้าไปบีบบังคับทางวัฒนธรรมทำให้คนสามจังหวัดชายแดนภาค
ใต้ไม่อยากอยู่ในพื้นที่เพราะต้องการที่จะกลืนเค้าให้เป็ นคนไทย
แต่ชาวสามจังหวัดชานแดนภาคใต้ต้องการแยกดินแดนไปรวมกับ
รัฐมลายูและอื่นๆ ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางเชื้อชาติและศาสนา
ที่เห็นได้ชัด
ในด้านสิงคโปร์ที่แยกตัวออกมาจากมาเลเซียเกิดเป็ นประเทศใหม่
เป็ นประเทศที่พัฒนาจากที่ไม่มีอะไรเลย การสร้างชาติของ
สิงคโปร์ที่มองเห็นความสำคัญให้ประเทศมีความเป็ นนานาชาติ
แต่ยงั ไม่ทงิ ้ ความเอเชียและยังคงความเป็ นจีนให้คงอยู่โดยการ
รักษาความเป็ นวัฒนธรรมของจีนไว้และไม่มีการผสมทาง
วัฒนธรรม แต่มีการกำหนดให้พด
ู ภาษาอังกฤษได้เพื่อความเป็ น
นานาชาติและความเจริญในประเทศ สิงคโปร์ให้ความสำคัญกับ
การศึกษามากและเป็ นเครื่องมือที่สำคัญในการสร้างชาติที่สำเร็จ
โดยสิงคโปร์มีนโยบายปลูกฝั่ งความเป็ นพลเมืองของชาติผา่ นแบบ
เนื้อหาเรียนประวัติศาสตร์เพื่อให้เยาวชนในสิงคโปร์มีสำนึกใน
ชาติ มีการปลูกฝั่ งให้เยาวชนรู้ถึงความเป็ นวัฒนธรรมและเคารพ
ความแตกต่างของคนในชาติที่มีความแตกต่างกันแต่เป็ นหนึ่ง
เดียวกันโดยผสมผสานวัฒนธรรมภายนอกแต่ไม่มีการกลืนของ
ชาติใดชาติหนึ่ง สิ่งต่างๆเหล่านีท
้ ำให้เห็นถึงความสำเร็จในการ
สร้างชาติของสิงคโปร์ที่ไม่มีการขัดแย้งระหว่างรัฐหรือชนชาติใด
ใดที่ทำให้สงิ คโปร์ประสบความสำเร็จในหารสร้างชาติ
นางสาววริศรา คงพัฒ
630510979
2. ข้อเลือกตอบ
2.1) โปรดอธิบายลักษณะร่วมที่ทำให้เอเชียตะวันออกเฉียง
ใต้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างกว้างขวางภายใต้ระบอบอาณานิคม
(5 คะแนน) และโปรดยกตัวอย่างประกอบทัง้ ในประเด็นเรื่อง
การเมือง (5 คะแนน) เศรษฐกิจ (5 คะแนน) และสังคม (5
คะแนน) ให้เห็นอย่างชัดเจน
ตอบ ลักษณะเด่นที่มีร่วมกันที่ทำให้เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงอย่างกว้างขวางคือการเปลี่ยนแปลงลักษณะร่วมคืออำนาจ
และบทบาททางการเมืองเป็ นหลัก อำนาจของชาวพื้นเมืองที่เป็ นผู้นำ
แบบจารีตได้เปลี่ยนไปยังผูป
้ กครองชาติตะวันตก การศึกษาได้เข้าถึงคน
มากขึน
้ ผูค
้ นสามารถเลือกสถานะตนเองทางสังคมได้ มีการกำหนด
เขตแดน เส้นแบ่งเขตรัฐที่ชัดเจนจึงไม่มีสงครามระหว่างรัฐแล้วเพราะมี
การแบ่งอำนาจอธิปไตยที่ชัดเจน เกิดระบบราชการ และแนวคิดของ
ตะวันตกที่แยกศาสนาออกจากการเมืองอย่างชัดเจน ทัง้ นีม
้ ีการ
เปลี่ยนแปลงร่วมที่สำคัญที่ชาติตะวันตกเข้าไปจัดการทัง้ ด้านการเมือง
เศรษฐกิจ และสังคม
ประเด็นทางด้านการเมืองเจ้าอาณานิคมได้ยกเลิกระบบผู้นำแบบจารีตคือ
ในอดีตของพม่าที่สถาบันสงฆ์มีอำนาจทางการเมือง ยกตัวอย่างการ
เปลี่ยนแปลงทางด้านการเมือง เช่นกรณีของพม่าถูกอังกฤษถอนรากโคน
ระบบกษัตริย์ และมลายาของอังกฤษที่มีการเจรจากับเจ้าท้องถิ่นได้ และ
การที่มีอาณาเขตที่ชัดเจนส่งผลให้เกิดระบบราชการการเกิดระบบนีท
้ ำให้
เห็นถึงแนวคิดแบบตะวันตกที่เข้ามาเปลี่ยนแปลงคือการคิดแบบหลัก
วิทยาศาสตร์ มีเหตุและผลมีแบบแผนชัดเจนต่างจากยุคจารีตที่ทุกอย่าง
ยังขึน
้ อยู่กับชนชัน
้ นำแต่ในระบอบอาณานิคมต้องการคนที่มาทำงานให้
ระบอบอาณานิคมไม่จำเป็ นต้องรู้ไสยศาสตร์แต่ต้องมีความรู้แบบตะวัน
ตก มีทักษะการพูดภาษาแบบเจ้าอาณานิคมและต้องการคนเหล่านีเ้ พื่อไป
ทำงานให้กับเจ้าอาณานิคม เกิดการบังคับใช้กฎหมาย การเก็บภาษี และ
การสร้างถนนหรือสาธารณสุขไปจนถึงการสร้างรถไฟทัง้ หมดนีเ้ พื่อเอื้อผล
ประโยชน์ให้แก่เจ้าอาณานิคมมิใช่คนพื้นเมือง ผู้นำพื้นเมืองปกครองร่วม
กับเจ้าอาณานิคมแต่อำนาจส่วนมากอยู่ที่อำนาจของเจ้าอาณานิคม
เป็ นการปกครองทางอ้อมแต่ในนามยกตัวอย่าง การตัง้ สหพันธรัฐมลายู
เพื่อให้อังกฤษได้เข้าไปมีบทบาทและวางแผนนโยบายต่างๆในมลายู
ในด้านเศรษฐกิจมีระบบการผลิตและพื้นที่การเพาะปลูกที่เจ้าอาณานิคม
ลงทุนผลิตและทำเอง ในอดีตที่เครื่องเทศเป็ นที่ต้องการกับประเทศเมือง
แม่มากเพราะหายากแต่การเข้ามาของเจ้าอาณานิคมทำให้กระบวนการ
ทางเศรษฐกิจเปลี่ยนแปลง เครื่องเทศหาง่ายขึน
้ จากทุนภายนอกของ
ประเทศเมืองแม่การส่งออกรูปแบบใหม่ทำให้เกิดเศรษฐกิจรูปแบบใหม่
คือนโยบายแรงงาน เยกตัวอย่าง แรงงานในยุคจารีตเกณฑ์คนเพื่อมารบ
แต่ในยุคของเจ้าอาณานิคมต้องการแรรงานเพราะมีการเกิดขึน
้ ของ
อุตสาหกรรม ทำให้เห็นว่ามีการอพยพแรงงานเพื่อเข้ามาในพื้นที่เพราะ
ต้องการแรงงานมาใช้งานในภาคอุตสาหกรรมจากทาสมาสู่แรงงานเสรี
เพื่อตอบโจทย์ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมยกตัวอย่างเช่น อังกฤษ
ปกครองพม่าเป็ นจังหวัดของอินเดีย ในพม่าปลูกข้าวได้ดีจึงอพยพแรงงาน
อินเดียมายังพม่า มลายาปลูกยางพาราได้ดีส่วผลให้เจ้าอาณานิคมนำ
แรงงานจากหลากหลายชาติมาในพื้นที่ที่มีการเพาะปลูกที่ดี เจ้า
อาณานิคมยังให้ความสำคัญกับแรงงานมากมีการคิดค้นใช้ยารักษาโรคที่
เกิดในระบบแบบสมัยใหม่เพื่อที่จะมีแรงงานที่มีคุณภาพร่างกายแข็งแรง
นอกจากนีก
้ ารเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจยังมีนโยบายด้าน
สาธารณูปโภคที่สร้างเพื่ออำนวยความสะดวกให้กับเจ้าอาณานิคมในการ
สร้างผลประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจเช่น การสร้างรถไฟ ถนนไปจนถึงการ
สร้างเขื่อนซึ่งเป็ นสัญลักษณ์สำคัญที่แสดงให้เห็นถึงความเจริญของ
ประเทศ

ในด้านสังคมคนในอาณานิคมเลือกสถานะแบบตะวันตกได้ มีการเกิดขึน

ของความรัที่ไม่อิงศาสนาหรือความเชื่อแบบดัง้ เดิมในรัฐจารีตแต่อิงความ
เป็ นเหตุเป็ นผลส่งผลให้การเปลี่ยนแปลงนีเ้ กิดชนชัน
้ กลางในระบอบ
อาณานิคมเกิดบุคคลที่มีความรู้ความสามารถเพื่อทำงานให้แก่ระบอบ
อาณานิคมอาศัยคนมีความรู้ และมีการส่งคนไปเรียนเมืองนอกมากขึน
้ คน
ธรรมดาได้รับการศึกษามากขึน
้ นอกจากนีช
้ นชัน
้ นำในรัฐจารีตมีบทบาท
น้อยลงเพราะไม่สามารถปรับตัวกับระบบราชการแบบใหม่และทำให้เกิด
ชนชัน
้ กลางเช่นกัน ชนชัน
้ นำถ้าไม่ปรับตัวกับระบอบอาณานิคมแบบใหม่
ก็จะถูกถอนรากถอนโคนเช่นประวัติศาสตร์พม่า แต่ถ้าชนชัน
้ นำยอมปรับ
ตัวรับอำนาจจากเจ้าอาณานิคมแต่สถานะไม่ได้ใหญ่เท่าตอนยุคจารีตก็จะ
ไม่ถูกถอนรากถอนโคน นำไปสู่ลก
ู หลานของชนชัน
้ นำที่มีการปรับตัวกับ
ระบอบอาณานิคมได้เร็วที่สุด

You might also like