You are on page 1of 21

ทบทวนวิชาประวัติศาสตร์

เอเชียตะวันออก
มีอาณาเขตครอบคลุมประเทศ
จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ เกาหลี
เหนือ และมองโกเลีย ซึ่งเป็ น
ดินแดนที่ได้รับอิทธิพลจาก
อารยธรรมจีนที่มี แหล่งกาเนิด
บริ เวณลุ่มน้ าฮวงเหอต่อมาจึง
แพร่ หลายออกไปสู่ดินแดน
ใกล้เคียง พัฒนาการทาง
ประวัติศาสตร์ของชาติสาคัญ
ในดินแดนเอเชียตะวันออก
ได้แก่ จีน เกาหลี และญี่ปุ่น มี
ดังนี้
พัฒนาการ
ทางประวัติศาสตร์จีน (ระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๙-๒๔)
ภายหลังจากที่ราชวงศ์ฮนั่ สลายลง เมื่อ พ.ศ. ๗๖๔ ดินแดนจีนได้แตกแยกโดยมีผนู ้ าแบ่งออกเป็ น ๓ กลุ่ม ที่
เรี ยกว่าสมัยสามก๊ก(พ.ศ. ๗๖๔-๘๐๘) ได้แก่
Ø กลุ่มโจโฉ ปกครองอาณาบริ เวณทางตะวันออกเฉียงเหนือ
Ø กลุ่มซุนกวน ซึ่งสื บเชื้อสายจากราชวงศ์ฮนั่ ปกครองบริ เวณลุ่มน้ าแยงชีและกลุ่มเล่าปปกครองบริ เวณทาง
ตะวันออกเฉี ยงใต้ของมณฑลเสฉวน ทั้งสามกลุ่มต่างสู ้รบ เพื่อแย่งชิงความเป็ นใหญ่
Ø จนกระทัง่ ในที่สุดทายาทของกลุ่มโจโฉสามารถรวม อาณาจักรและตั้งราชวงศ์ ได้สาเร็ จเมื่อประมาณ พ.ศ.
๘๐๘ แต่กษัตริ ยร์ าชวงศ์น้ ีไม่สามารถรวบรวม
อาณาจักรได้นาน เพราะเกิดการขัดแย้งทางการเมือง ภายในทาให้มีผตู ้ ้ งั ตัวเป็ นกษัตริ ยป์ กครองแว่น
แคว้นต่างๆ ขณะเดียวกันต้องเผชิญกับการรุ กรานจากกกลุ่มชนทางตอนเหนื อ ได้แก่ พวกตุรกี ฮัน่ และมองโกล
ในที่สุดหยางเฉิ น เป็ นผูน้ าในการรวบรวมอาณาจักรโดยปราบปรามแคว้นต่างๆ แต่ผทู ้ ี่ต้ งั เป็ นจักรพรรดิและ
สถาปนาราชวงศ์สุยได้สาเร็ จคือหางตี้ ซึ่งเป็ นโอรสของพระองค์ ราชวงศ์ซ่ ึงสถาปนาเมื่อ พ.ศ.๑๑๒๔ ทาการ
ปกครองจีน ต่อมาอาณาจักรถูกรุ กรานจากเผาต่างๆที่มาจากทางเหนือทาให้อาณาจักรเสื่ อมลงเป็ นเหตุให้หลี
หยวน หรื อจักรพรรดิ ถัง ไท จื่อ สถาปนาตนเองเป็ นจักรพรรดิต้ งั ราชวงศ์ถงั ได้ในปี พ.ศ.๑๑๖๑ สมัยราชวงศ์ถงั
ซึ่งมีศูนย์กลางอยูท่ ี่เมืองซีอาน ถือว่าเป็ นยุคทองยุคหนึ่งของจีนเนื่องจากราชวงศ์น้ ีได้สร้างความเจริ ญในด้านต่าง
ทั้งทางด้านการปกครอง เศรษฐกิจการต่างประเทศยุคนี้มี กบฏเกิดขึ้นหลายครั้ง ทาให้ราชวงศ์ถงั สิ้ นสุ ดลงใน
พ.ศ. ๑๔๕๐

ภายหลังจากราชวงศ์ถึงระหว่าง พ.ศ. ๑๔๕๐-๑๕๐๓ อาณาจักร จีนอันกว้างขวางได้แตก แยกเป็ นแคว้น


ถึงสิ บแคว้นมีกษัตริ ยป์ กครองเป็ นอิสระในที่สุดนายพลเจา กวง หยิน สามารถตั้งตัวเป็ นจักรพรรดิซ่ง ไทย สื อ ผู ้
สถาปนาราชวงศ์ซ่ง(พ.ศ. ๑๕๐๓-๑๘๒๒) ซึ่งมีศูนย์กลางอยูท่ ี่เมืองไคฟงและเมืองฮังโจวราชวงศ์น้ ีแม้วา่ ได้ทา
การปรับปรุ งเศรษฐกิจ การปกครองและการศึกษา แต่เนื่องจากต้องใช้จ่ายเงินในการป้องกันการรุ กรานจากชน
เผ่าที่อยูท่ างตอนเหนื อ โดยเฉาะพวกมองโกลและเกิดภาวการณ์เพิ่มประชากร ทาให้มีผลกระทบเช่นความอด
อยาก การขาดแคลนที่ดินทากิน ซึ่งเป็ นสาเหตุสาคัญ ที่ทาให้ราชวงศ์น้ ี เสื่ อมลง
ชาวมองโกลได้สถาปนาตนเองเป็ นจักรพรรดิแห่งราชวงศ์หยวน (พ.ศ.๑๘๒๒-๑๙๑๑)มีศูนย์กลางการ
ปกครองที่เมืองข่านพาลิก(ปั จจุบนั คือกรุ งปักกิ่ง)ในรัชกาลจักรพรรดิกุบไลข่านจีน ได้ขยายอาณาเขตออกไป
อย่างกว้างขวาง แต่เมื่อสิ้ นรัชกาล ราชวงศ์หยวนก็เริ่ มเสื่ อมลง เนื่องจากการต่อต้านโดยชาวจีนประกอบกันเกิด
ภาวะเงินเฟ้อและ ภัยธรรมชาติ

ในที่สุด จู หยวน จัง อดีตพระในพระพุทธศาสนาจึงยึดอานาจ พร้องทั้งสถาปนาตนเองเป็ นจักรพรรดิหุง อู่


แห่งราชวงศ์หมิงใน พ.ศ.๑๙๑๑ ซึ่งมีศูนย์กลางอยูท่ ี่เมืองหนานจิง ภายหลังจึงยึดกรุ งปั กกิ่งได้สาเร็ จจีนสมัย
ราชวงศ์หมิง มีการขยายตัวทางการค้า เนื่องจากบ้านเมืองมีความสงบแต่ในตอนปลายราชวงศ์เกิดการแย่งชอง
ราชบัลลังก์ในกลุ่มพระจึงทาให้ราชวงศ์หมิงค่อยๆ เสื่ อมอานาจลง จนในที่สุดเนอฮาชิ ชาวแมนจูซ่ ึงมี
ศูนย์กลางอยูท่ ี่เมืองมุกเดนในแหลมเลียวตุงได้รวบรวมกาลังเข้ายึดกรุ งปักกิ่งสถาปนาราชวงศ์ชิง( พ.ศ.๒๑๘๗-
๒๔๕๕)ประมาณกลางพุทธศตวรรษที่ ๒๔ ราชวงศ์ชิงเริ่ มเสื่ อมลงเนื่ องจาก ได้รับการต้านจากชาวจีนที่ถือว่า
ราชวงศ์น้ ี เป็ นชาวต่างชาติราชวงศ์แมนจูยงั ต้องเผชิญกับภาวะการเพิ่มประชากรและโจรสลัดในน่านน้ าทะเลจีน
ใต้ทาให้มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจจีนรวมทั้งการขยายอิทธิ พลของชาติตะวันตกในปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๔ ซึ่ง
มีผลกระทบทาให้ยคุ ราชวงศ์ของจีนสิ้ นสุ ดลงในเวลาต่อมา ประวัติศาสตร์จีนช่วงพุทธศตวรรษที่ ๙-๒๔ มี
พัฒนาการ ดังนี้
การเมืองการปกครอง
จีนได้มีการปกครองในรู ปแบบจักรวรรดิอีกครั้งหนึ่งจักพรรดิแห่งราชวงศ์สุยได้ทาการประมวลกฎหมาย
อาญาและปรับปรุ งระบบการบริ หารภายในซึ่งราชวงศ์ถึงได้นามาเป็ นอย่างแล้วปรับปรุ งให้มีป ระสิ ทธิภาพยิง่ ขึ้น
โดยการแบ่งหน่วยงานส่ วนกลางออกเป็ น ๖กระทรวง ได้แก่
1. กระทรวงข้าราชการ
2. การคลัง
3. ทหาร
4. ยุติธรรม
5. โยธา
6. พิธีกรรม
ส่วนในหัวเมือง ราชวงศ์ถงั ได้แบ่งหน่วยปกครองออกเป็ นมณฑลและจังหวัด โดยแต่ละมณฑล จักรพรรดิโปรด
ส่งข้าหลวงไหปกครองและให้แยกอานาจออกเป็ น ๓ ฝ่ าย คือ ฝ่ ายพลเรื อน ฝ่ ายทหารและฝ่ ายตุลาการทาให้
อานาจ ของจักรพรรดิกระจายออกไปยังมณฑลต่างๆ

เมื่อสิ้ นราชวงศ์ถงั จีนได้ตกอยูใ่ นภาวะแตกแยกทางการเมือง จนกระทัง่ ราชวงศ์ซ่งขึ้นมามีอานาจราชวงศ์น้ ี


พยายามเลียนแบบการบริ หารและการปกครองแบบราชวงศ์ถงั แต่เพื่อป้องกันการกบฏจักรพรรดิแห่งราชวงศ์ซ่ง
ได้เสริ มสร้างอานาจส่ วนกลางให้ควบคุม หัวเมืองรัดกุมขึ้น เช่น ให้ฝ่ายทหารหัวเมืองขึ้นอยูก่ บั ฝ่ ายพลเรื อน จึง
เป็ นเหตุให้หวั เมืองต่างๆอ่อนแอดังนั้น เมื่ออาณาจักรจีนถูกรุ กรานจากพวกมองโกลและพวกแมนจู หัวเมืองจึง
ไม่อาจต้านทานกาลังจากผูร้ ุ กรานเหล่านี้ จนในที่สุดราชวงศ์ซ่ง จึงหมดอานาจลงแล้วชาวมองโกลจึงเข้ามา
ปกครองจีนชาวมองโกลเป็ นนักรบที่เข้มแข็ง สามารถใช้กองกาลังขยายอาณาจักรได้อย่างกว้างขวาง แต่ไม่
คุน้ เคยกับการปกครองอาณาจักร

ด้านเศรษฐกิจ
ทาการค้าติดต่อกับต่างชาติ เช่น มีการติดต่อค้าขายกับญี่ปุ่นและได้ส่งทูตไปเรี ยกร้องบรรณ การและ
ค้าขายกับหมู่เกาะทาง ตอนใต้ ทาให้จีนได้รับประโยชน์ทางเศรษฐกิจจากบรรณาการต่างๆที่นามาถวายโดย
นามาให้หรื อ แปรรู ปสมัยราชวงศ์ถงั จีนเริ่ มปฏิรูปที่ดินเพื่อให้ชาวนามีที่ดินทากินเพราะที่ดินที่อุดมสมบูรณ์ใน
เมืองจีนมีจานวนน้อยนอกจากนี้จีนยังทาการค้ากับนานาชาติ โดยใช้เส้นทางบกไปจนถึง อินเดียเปอร์เซียและ
ยุโรปส่วนเส้นทางทะเลจีนได้ติดต่อกับญี่ปุ่น อาณาจักรจามปา ศรี วิชยั และเมืองในเกาะลูซอน

จนในพุทธศตวรรษที่ ๒๔เมื่อราชวงศ์ชิงปกครองประเทศจีน มีการค้ากับต่างชาติขยายมากขึ้นทั้งนี้


เพราะชาวตะวันตกบังคับให้จีนเปิ ดเมืองท่าสิ น ค้าที่สาคัญ ได้แก่ เครื่ องปั้ นดินเผา เครื่ องลงรัก หมึกจีน พลอย
เทียม และชา สาหรับสิ นค้านาเข้า ได้แก่ ผ้าขนสัตว์ยารักษาโรค ฝิ่ น และเครื่ องจักรกล ในปลายราชวงศ์ชิงมีการ
ตั้งธนาคารแห่งชาติ เพื่อจ่ายเงินตามแบบตะวันตก

สังคมและวัฒนธรรม

ความเชื่อและศาสนา ในช่วงสามก๊ก สังคมจีนเกิดความยุง่ ยากเนื่องจากการสู้รบทาให้ผคู ้ นแสวงหาที่พ่ึงทาง


จิตใจ พระพุทธศาสนาได้รับการ ฟื้ นฟูพระสงฆ์ในยุคนั้นมีความรู ้ ในพระธรรมวินยั และให้วิธีการเผยแผ่ศาสนา
โยวิธีสังคมสงเคราะห์ พระภิกษุชื่อเสี ยงได้แก่ พระภิกษุฟาเลียน ที่เดินไปอินเดียโดยทางบกผ่านดินแดนเด
เชียกลาง แต่เดินทางกลับจีนทางทะเลและพระภิกษุถงั ชาจัง๋ เดินทางบกไปกลับจากอินเดียพระภิกษุเหบ่นนี้ได้
พระไตรปิ ฎกและพระสูตรเป็ นภาษาจีนทาให้พระพุทธศาสนาแพร่ หลาย
ศาสนาอิสลามได้แพร่ หลายเข้ามาตามเส้นทางการค้า ทางตะวันตก เช่น ที่มณฑลยูนนาน และซินเกียง
เนนอกจากนี้ยงั ความรู ้ในวิทยาการสมัยใหม่ เช่น ดาราศาสตร์ เครื่ องจักรกลและการแพทย์แต่ต่อมารัฐบาล
ระแวงชาวตะวันตกว่าเป็ นผูร้ ุ กรานจีน ดังนั้นในสมัยราชวงศ์ชิงคริ สต์ศาสนาจึงได้รับการต่อต้าน
เอเชียใต้
ในโลกที่เราอยูอ่ าศัยนี้เต็มไปด้วยเรื่ องราวเล่าขานกันไม่
จบสิ้ น การศึกษาเรี ยนรู ้ทางสาขาประวัติศาสตร์มีความ
จาเป็ นที่ตอ้ งรู ้ความเป็ นมาของภูมิภาคเอเชียใต้ตลอดถึง
วิถีการดาเนิ นชีวิตของผูค้ นในถิ่นนี้รวมถึงการศึกษาใน
หลายด้านโดยสามารถแยกประเด็นนาเสนอออกเป็ น
ด้านต่าง ๆเอเชียใต้เป็ นภูมิภาคของทวีปเอเชีย และเป็ น
ที่ต้ งั ของประเทศอินเดีย ปากีสถาน บังกลาเทศ ศรี ลงั กา
เนปาล ภูฏาน และมัลดีฟส์ ภูมิภาคนี้ยงั เป็ นที่รู้จกั กันใน
อีกชื่อหนึ่งว่า อนุทวีปอินเดีย

1 . ด้ านภูมิศาสตร์
เอเชียใต้มีพ้ืนที่รวมกันมากกว่า 4,486,000 ตารางกิโลเมตร คิดเป็ นพื้นที่ 1 ใน 10 ของทวีปเอเชีย มีประชากร
ประมาณ 2000 ล้านคน จากมีคนเยอะทาให้เกิดปัญหามากตามมาเช่นความยากจนเป็ นต้น
เอเชียใต้ยงั เป็ นดินแดนทางตะวันตกสุดของทวีปเอเชียและอยูใ่ กล้กบั ทวีปยุโรปมากจึงมีการปะทะทาง
วัฒนธรรมและประวัติศาสตร์มากกว่าทวีปอื่น
2 . ด้านประวัติศาสตร์
เอเชียใต้เป็ นอู่อารยธรรมของโลกมานานกว่า 5000 ปี ถิ่นแถบนี้เป็ นแหล่งวัฒนธรรมโบราณสมัยอินโด-อารยัน
เผ่าเร่ ร่อนแสวงหาที่อยูอ่ าศัย รวมถึงเผ่าชนชาวเปอร์เซีย กรี กและโรมันที่เข้ามาแสวงหาทรัพยากรทางธรรมชาติ
อันหลากหลาย
3 . ด้านการเมือง
เอเชียใต้ปัจจุบนั มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา อันเป็ นมรดกที่องั กฤษมอบให้เป็ น
ของขวัญแก่เอเชียใต้ และอินเดียได้ชื่อว่าเป็ นประเทศประชาธิปไตยที่มีพลเมืองมากที่สุดในโลก และชาวอินเดีย
ทุกคนล้วนมีสิทธิ์ออกเสี ยงเลือกตั้งตามกฎหมาย
4 . ด้านเศรษฐกิจ
ทุกประเทศในเอเชียใต้ต่างต้องการยกระดับวิถีชีวิตของพลเมืองให้ดีข้ นึ จึงต้องพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ
การเกษตร อุตสาหกรรมการผลิตเพื่อบริ โภคให้ได้จานวนมากกว่าพลเมืองของตน
5 . ด้านทางสังคม
เอเชียใต้มีสังคมที่กว้างใหญ่สลับซับซ้อน มีความแตกต่างทางเชื้อชาติเผ่าพันธุ์ มีความหลากหลายทางความเชื่อ
ศาสนา ภาษา ชนชั้นวรรณะ และขนบธรรมเนียมประเพณี สิ่ งต่าง ๆ เหล่านี้ได้กลายมาเป็ นปัญหาการปกครอง
ประเทศในแถบเอเชียใต้ในที่สุด

เอเชียกลาง

เอเชียกลางเป็ นดินแดนที่เคยรวมอยูก่ บั สหภาพโซเวียตที่ปกครองด้วยระบอบเผด็จการคอมมิวนิสต์และใช้ระบบ


เศรษฐกิจแบบสังคมนิยม แม้ได้รับเอกราชการปกครองตนเองและหันมาใช้ระบบเศรษฐกิจแบบเสรี นิยมแล้ว
แต่ระบบเก่าที่ฝังรากลึกอยูเ่ กือบร้อยปี ทาให้ความเปลี่ยนแปลงในภูมิภาคนี้เป็ นไปอย่างล่าช้า
เอเชียกลางเป็ นภูมิภาคที่เคยรวมอยูก่ บั ดินแดนบางส่ วนที่ต้ งั อยูใ่ นทวีปยุโรปเป็ นประเทศสหภาพโซ
เวียต ต่อมาดินแดนต่างๆ ของประเทศสหภาพโซเวียตทั้งในทวีปยุโรปและเอเชียกลางได้ประกาศแยกออกเป็ น
สาธารณรัฐอิสระเพื่อปกครองตนเอง ทาให้ประเทศสหภาพโซเวียตต้องล่มสลายลงใน พ.ศ.2534 สาธารณรัฐ
ในเอเชียกลางที่แยกตัวออกมาจากอดีตสหภาพโซเวียต มี 8 ประเทศ ได้แก่ คาซัคสถาน อุซเบกิสถาน คีร์กีซ
เติร์กเมนิสถาน ทาจิกิสถาน จอร์เจีย อาร์เมเนีย และอาเซอร์ไบจาน มีขนาดพื้นที่รวมกันประมาณ 4.2 ล้านตาราง
กิโลเมตร คิดเป็ นร้อยละ 10 ของเนื้ อที่ทวีปเอเชีย หรื อร้อยละ 1 ของพื้นผิวโลกทั้งหมด

ที่ต้งั
เอเชียตั้งอยู่ระหว่าง เอเชียตะวันตกเฉี ยงใต้กบั รัสเซีย ประกอบด้วยดินแดน 2 ส่วน โดยมีทะเลสาบแค
สเปี ยนคัน่ อยู่ คือ ดินแดนด้านตะวันออกของทะเลสาบแคสเปี ยน ได้แก่ คาซัคสถาน คีร์กีซ เติร์กเมนิ
สถาน ทาจิกิสถาน กับดินแดนทางด้านตะวันตกของทะเลสาบแคสเปี ยน
ได้แก่ จอร์เจีย อาร์เมเนีย อาเซอร์ไบจาน

อาณาเขต ทิศเหนือ ติดต่อกับ ประเทศสหพันธ์รัฐรัสเซีย


ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ประเทศจีน
ทิศใต้ ติดต่อกับ ประเทศอัฟกานิสถาน อิหร่ าน ตุรกี
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ทะเลดา
ลักษณะภูมิประเทศ
แบ่งออกเป็ น 2 เขต
1. เขตเทือกเขาและที่ราบสูง เทือกเขาทางตะวันออกเป็ นแนวภูเขาสูงที่ต่อเนื่องมาจากแนวเทือกเขาใน
เอเชีย ได้แก่ เทือกเขาเทียนชานและปามีร์ มียอดเขาสู งที่สุดคือ ยอดเขาคอมมิวนิสต์ สู ง 7,495 เมตร อยูใ่ น
ประเทศ ทาจิกิสถาน ส่ วนเทือกเขาทางใต้ ได้แก่ เทือกเขาคอเคซัส ในประเทศ จอร์เจีย อาร์เมเนียและ
อาเซอร์ไบจาน ส่วนที่ราบสู ง เป็ นที่ราบสู งเชิงเขาลาดลงสู่ ที่ราบและทะเลสาบแคสเปี ยนทางตะวันตก ได้แก่ ที่
ราบสูงทางภาคเหนือและภาคตะวันออกในประเทศคาซัคสถาน อุซเบกิสถาน เติร์กเมนิสถานและมีทะเลสาบ
บอลคาซ ซึ่งเป็ นทะเลสาบบนที่ราบสู งอยูท่ างตะวันออกของภูมิภาคนี้
2. เขตที่ราบ ได้แก่ ที่ราบที่อยูท่ างตะวันออกของทะเลสาบแคสเปี ยน เรี ยกว่า ที่ราบตูราน ในประเทศ
คาซัคสถาน อุซเบกิสถาน และเติร์กเมนิสถาน ซึ่งเป็ นที่ราบต่อเนื่องมาจากที่ราบไซบีเรี ย ในเขตที่ราบนี้มี
ทะเลสาบที่สาคัญคือ ทะเลสาบอูราล

ลักษณะภูมิอากาศ
แบ่งออกเป็ น 4 เขต อากาศส่วนใหญ่ของเอเชียกลางแห้งแล้งเป็ นทะเลทรายและกึ่งทะเลทรายในเขต
อบอุ่น เพราะอยูใ่ นเขตอิทธิพลของลมที่พดั มาจากเขตความกดอากาศสูงภายในทวีปไม่มีความชื้นมีแต่ความแห้ง
แล้ง อยูห่ ่างไกลจากทะเลและมีภูมิประเทศเป็ นที่ราบสู งและเทือกเขาเป็ นขอบ ทาให้ได้รับอิทธิพลความชื้นจาก
ทะเลน้อย
1. เขตอากาศแบบกึ่งทะเลทราย หรื อทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทราย ได้แก่ พื้นที่ส่วนใหญ่ของคาซัคสถาน พืช
พรรณธรรมชาติ คือ ทุ่งหญ้าสเตปป์
2. เขตอากาศแบบทะเลทราย ได้แก่ ทะเลทรายคีซิลคุม ในประเทศอุซเบกิสถานและภาคใต้ของ
คาซัคสถาน ทะเลทรายคาราคุมในเติร์เมนิสถาน ทะเลทรายทังคุมและทะเลทรายมูยนุ คุมในคาซัคสถาน
3. เขตอากาศแบบเมดิเตอร์ เรเนียน ได้แก่ ชายฝั่งทะเลดาของจอร์ เจีย ชายฝั่งทะเลสาบแคสเปี ยนของ
อาเซอร์ไบจาน ชายฝั่งภาคใต้ของเติร์เมนิสถาน
4. เขตอากาศแบบที่สูง ได้แก่ เขตเทือกเขาในคีร์กีซ ที่สูงปามีร์ในทาจิกิสถาน เขตเทือกเขาคอเคซัสใน
จอร์เจีย อาร์เมเนียและอาเซอร์ไบจาน

ลักษณะทางสังคมวัฒนธรรม
ประวัติความเป็ นมา เอเชียกลางมีประวัติความเป็ นมาแตกต่างกัน 2 กลุ่ม
1. ดินแดนทางตะวันออกของทะเลสาบแคสเปี ยน เป็ นพื้นที่แห้งแล้ง ประชากรส่ วนใหญ่นบั ถือศาสนา
อิสลาม มีอาชีพเลี้ยงสัตว์แบบเร่ ร่อน และเคยอยูใ่ ต้อานาจของอาณาจักรมองโกลมาก่อน
2. ดินแดนทางตะวันตกของทะเลสาบแคสเปี ยน พื้นที่ส่วนใหญ่เป็ นภูเขา ประชากรส่ วนใหญ่นบั ถือ
ศาสนาคริ สต์ ประกอบอาชีพเพาะปลูกในเขตเชิงเขาและที่ลุ่มน้ า เคยอยูภ่ ายใต้การปกครองของอาณาจักรออตโต
มันมาก่อน หลังจากการสถาปนาประเทศสภาพโซเวียต พ.ศ.2465 ดินแดนเหล่านี้ ตอ้ งตกเป็ นส่ วนหนึ่งของ
สภาพโซเวียต ต่อมาได้แยกตัวเป็ นสาธารณรัฐ มีอิสระในการปกครองตนเอง จนทาให้สหภาพโซเวียตต้องล่ม
สลายลง

ประชากร
เอเชียกลางเป็ นภูมิภาคที่มีประชากรน้อยที่สุดของทวีปเอเชีย บริ เวณที่มีประชากรหนาแน่น ได้แก่
อาร์เมเนีย อาเซอร์ไบจาน จอร์เจีย ส่วนบริ เวณที่มีประชากรเบาบางคือ คาซัคสถานและเติร์กเมนิสถาน
เชื้อชาติ
ส่ วนใหญ่เป็ นพวกคอเคซอย์หรื อพวกผิวขาว ได้แก่ ชาวอุซเบก รัสเซีย อาเซอร์ เติร์กเมน อาร์เมเนีย ทา
จิก มองโกลลอยด์ ซึ่งเป็ นประชากรในคาซัคสถาน คีร์กีซและทาจิกิสถาน
ภาษา
เนื่องจากเคยอยูภ่ ายใต้การปกครองของสภาพโซเวียตนานเกือบ 100 ปี ทาให้ประชากรทุกประเทศต้อง
เรี ยนรู ้และใช้ภาษารัสเซียเป็ นภาษากลางในติดต่อสื่ อสาร
ศาสนา
ประเทศที่อยูท่ างตะวันออกของทะเลสาบแคสเปี ยน ประชากรส่วนใหญ่นบั ศาสนาอิสลาม ส่วนประเทศ
ที่อยูท่ างตะวันตกของทะเลสาบแคสเปี ยน ประชากรส่วนใหญ่นบั ถือศาสนาคริ สต์

ลักษณะทางเศรษฐกิจ
ทรัพยากรแร่ ธาตุ
- น้ ามันและก๊าซธรรมชาติ แหล่งผลิตสาคัญได้แก่ อาเซอร์ไบจาน เติร์กเมนิสถาน คาซัคสถานและ
คีร์กีซ
- ถ่านหิน แหล่งผลิตสาคัญ คือ คาซัคสถาน คีร์กีซ จอร์เจีย ทาจิกิสถาน เติร์กเมนิสถาน
- เหล็ก แหล่งผลิตสาคัญคือ คาซัคสถาน อาเซอร์ไบจาน โครเมียม คาซัคสถานเป็ นประเทศที่ผลิต
ได้มากที่สุดในโลก
- ทองคา แหล่งผลิตสาคัญคือ คีร์กีซ อาร์เมเนีย
- ทองแดง แหล่งผลิตสาคัญคือ อาร์เมเนีย คาซัคสถาน
ป่ าไม้
มีนอ้ ยเพราะพื้นที่ส่วนใหญ่แห้งแล้งเป็ นทะเลทรายและกึ่งทะเลทราย แต่มีทุ่งหญ้าอุดมสมบูรณ์เหมาะ
แก่การเลี้ยงสัตว์
การเพาะปลูก
มีการปลูกข้าวสาลี ฝ้าย ข้าวโพด ข้าวบาร์เลย์ในเขตที่ราบทางตะวันออกของทะเลสาบแคสเปี ยน และ
ที่ราบลุ่มแม่น้ าทางตะวันตกของทะเลสาบแคสเปี ยน มีการปลูก พืชผลเมดิเตอร์เรเนียน ได้แก่ ข้าวสาลี องุ่น
ส้ม พืชผัก
การเลีย้ งสัตว์ ได้แก่ แกะ แพะ โคเนื้ อ โคนม ม้า ลา ซึ่งเป็ นแหล่งเลี้ยงสัตว์ที่สาคัญของโลก เพราะพื้นที
ส่ วนใหญ่เป็ นทุ่งหญ้าในการเลี้ยงสัตว์
การอุตสหากรรม ส่วนใหญ่อยูป่ ระเทศ คาซัคสถาน อาร์ เมเนีย และอาเซอร์ไบจาน ได้แก่ การผลิตเหล็ก
และเหล็กกล้า ยานยนต์ เครื่ องจักรการเกษตร ปิ โตรเคมีและเคมีภณ ั ฑ์ สิ่ งทอ
การประมง แหล่งประมงสาคัญคือ ทะเลสาบแคสเปี ยน การผลิตไข่ปลาคาร์เวียร์ ที่ได้จากปลาสเตอร์
เจียน ในเขตเติร์กเมนิสถาน อาเซอร์ไบจานและคาซัคสถาน
ดินแดนเอเชียตะวันตกเฉียงใต้

ครอบคลุมพื้นที่ในปั จจุบนั ได้แก่ประเทศตุรกี เลบานอน


อิสราเอล จอร์แดน อิรัก อิหร่ านซาอุดีอาระเบียคูเวต
ไซปรัส โอมาน กาตารสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์บาห์เรน
และเยเมน

ดินแดนบริ เวณนี้มีเรื่ องราวทางประวัติสาสตร์ ต้ งั แต่อารย


ธรรมเริ่ มแรก ที่มีกลุ่มชนกลุ่มต่างๆข้ามามีอานาจ
ผลัดเปลี่ยนกันปกครองโดยเริ่ มประมาณ 500 ปี ก่อนพุทธศักราชชาวบาบิโลนและชาวอัสซีเรี ย ซึ่งมีอานาจอยูไ่ ด้
ถูกโค่นล้มไปในที่สุดและมหาอานาจที่ข้ ึนมาครอบครองดินแดนนี้คือชาวเปอร์เซีย

ภายหลังจากนั้นดินแดนในภูมิภาคนี้ได้รับอิทธิพลจากความเชื่อนศาสนาอิสลาม เป็ นจักรวรรดิอิสลาม ดังนี้

การสถาปนาอาณาจักรเปอร์ เซีย ( ประมาณ 31 ปี ก่อนพุทธศักราช –พ.ศ. 230 )

ชาวเปอร์เชียเป็ นชนในกลุ่มชาติพนั ธุ์อินโดยูโรเปี ยนมีถิ่นกาเนิดดั้งเดิมอยูร่ ิ เวรทางใต้ของรัสเซียและ


เอเชียกลางเข้ามาตั้งถิ่นฐานในดินแดนเอเชียตะวันตกเฉี ยงใต้ ยุคแรกๆ คือเมื่อประมาณ 257 ปี ก่อนพุทธศักราช
ดังปรากฏในเอกสารอัสซีเรี ยซึ่งบันทึกไว้วา่ กษัตริ ยอ์ สั ซีเรี ยได้รบชนะพวกบัคสและเปอร์เซีย จึงผนวกเอา
ดินแดนทั้งสองพวกนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของอัสซีเรี ยแต่ชาวเปอร์ เซียไม่ยอมจานน จึงได้ก่อกบฏต่อต้านพวกอัสซีเรี ย
เรื่ อยมาจนกระทัง่ ประมาณ 31 ปี ก่อนพุทธศักราช ชาวเปอร์ เซียจึงสามารถรบชนะพวกอัสซีเรี ยและยึดเมือง
หลวงได้สาเร็ จโดยกษัตริ ยไ์ ซรัสมหาราช แห่งเปอร์ เซีย( ประมาณ 17 ปี ก่อนพุทธศักราชถึง พ.ศ. 13 )ทรง
รวบรวมประชาชนเชื้อชาติเดียวกันให้เป็ นปึ กแผ่นในรัชสมันของพระองค์ได้ทาสงครามพิชิต ดินแดนต่างๆและ
กษัตริ ยแ์ ห่งจักรวรรดิเปอร์เซี ยองค์ต่อมามีอานาจมากขึ้นสามารถขยายดินแดนออกไปอย่างว้างขวางโดยเฉพาะ
ในสมัยของพระเจ้าดาริ อุสมหาราชครองราชยประมาณ พ.ศ. 22-85ดินแดน

อาณาจักรของเปอร์เซีย มีอาณาเขตทางตะวันตกเริ่ มจากแม่น้ าไนล์ในอียปิ ต์ไปจนจรดแม่น้ าสิ นธุทาง


ตะวันออกล้วนเป็ นดินแดนที่มีความอุดมสมบูรณ์ทาให้อาณาจักรเปอร์ เซียในยุคนั้นมีความมัง่ คัง่ อันเนื่องจาก
ความครอบครองทรัพยากรในดินแดนดังกล่าว รวมทั้งติดต่อค้าขายกับดินแดนเหล่านั้น
เช่น การติดต่อกับอินเดียโดยส้นทางมหาสมุทรอินเดียและแล่นเรื อเลียบฝั่งทะเลอาหรับไปยังทะเลแดงเดินทาง
ไปถึงอียปิ ส์เปอร์เซียมีอานาจเหนื อดินแดนที่ปกครองต่อเนื่องมาจนถึงปลายรัชกาลพระเจ้าดาริ อุสมหาราชทั้งนี้
เนื่องจากเปอร์เซียทาสงครามกับนครรัฐกรี ก การทาสงครามกับกรี กติดพันต่อมาจนกระทัง่ พระเจ้าดาริ อุสมหา
ราชสวรรคตพระโอรสของพระองค์ยงั คงทาสงครามกับกรี กต่อมารวมทั้ง ทาสงครามปราบปรามผูน้ าในดินแดน
ต่างๆ ที่ไม่ยอมรับอานาจของพระองค์ในที่สุดพระโอรสของพระเจ้าดาริ อุสมหาราชทาสงครามพ่ายแพ้นครรัฐ
กรี กจึงเป็ นเหตุให้พระองค์ยุตินโยบายการขยายดินแดน แต่ก็ยงั คงรักษาอานาจในดินแดนเอเชียและแอฟริ กาที่
เปอร์เซียยึดครองไว้ได้ โดยมีศูนยกลางการปกครองอยูท่ ี่กรุ งเปอร์ซีโปลิสในประเทศอิหร่ านปัจจุบนั

การเมืองการปกครอง

อาณาจักรเปอร์เซีย ปกครองโดยแบ่งจักรวรรดิออกเป็ น 20 มณฑล แต่ละมณฑล มีขา้ หลวงปกครองและกษัตริ ย ์


ทรงแต่งตั้งข้าราชการฝ่ ายทหารและฝ่ ายจัดเก็บภาษีเป็ นผูแ้ ทนพระองค์ไปประจาแต่ละมณฑลนอกจากนี้ยงั มี
ผูต้ รวจราชการพิเศษคอยเป็ นหูเป็ นตาให้กบั กษัตริ ยโ์ ดยผูต้ รวจราชการจะเดินทางไปตรวจราชการตามมณฑล
ต่างๆโดยไม่แจ้งให้ทราบล่วงหน้าในเขตแดนอาณาจักรเปอร์ เซียประกอบด้วยประชากรหลายเชื้อชาติ ประชากร
เหล่านั้นได้รับอนุญาตให้ดาเนินชีวิต จักรวรรดิเพราะเมืองหลวงสามารถที่จะควบคุมอานาจและแก้ไขเหตุการณ์
ที่เกิดขึ้นตามมณฑลต่างๆได้ในเวลาอันรวดเร็ ว

เศรษฐกิจ

ดินแดนอาณาจักรเปอร์เซียในสมัยนั้นมีอาณาเขตกว้างขวาง ทาให้อาณาจักรเปอร์เซียในยุคนั้นมีความมัง่ คัง่ อัน


เนื่องจากทรัพยากรในดินแดนดังกล่าว อาณาจักรนี้มีความสาคัญในการเชื่อมต่อ การค้าจากอินเดีย ซึ่งเป็ น
ดินแดนที่อุดมสมบูรณ์มีทรัพยากรที่สาคัญได้แก่

ไหมทองคา เพชรและมีสัตว์ แปลกๆ โดยเส้นทางทะเลจากบริ เวณอ่าวเปอร์เซียสามารถแล่นเรื อข้ามทะเลอาหรับ


ไปยังทะเลแดง เดินทางไปจนถึงอียปิ ส์
สังคมและวัฒนธรรม

ความเชื่อทางศาสนา ในดินแดนเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ประกอบด้วยกลุ่มชนหลายเผ่าพันธุ์ ซึ่งแต่ละเผ่า


ต่างนับถือเทพเจ้าประจาเผ่า ซึ่งมีหลายองค์เทพเจ้าต่างๆมัก เกี่ยวข้องกับธรรมชาติ เช่น เทพเจ้าแห่งดวงอาทิตย์
ดวงจันทร์พายุหรื อเทพเจ้าแห่งความอุดมสมบูรณ์และเทพเจ้าแห่งสงครามแต่มีเผ่าฮิบรู หรื อ ชาวยิว ที่นบั เทพเจ้า
องค์เดียวเป็ นเทพเจ้าประจาเผ่าในเวลาต่อมาคติในความเชื่อในพระเจ้าองค์เดียวทาให้มีการพัฒนาเป็ นศาสนา
สาคัญของโลกคือศาสนายูดาย คริ สต์ศาสนาและศาสนาอิสลาม

ศาสนาที่เป็ นศาสนาดั้งเดิมของชาวเปอร์ เซียได้แก่ศาสนาโซโรแอสเตอร์ มีหลักคาสอนให้รู้จกั ว่ามีท้ งั


ฝ่ ายดีและฝ่ ายชัว่

· ฝ่ ายดีมีพระอาหุรา มาสดา เป็ นเทพเจ้าแห่งความดี และความยุติธรรม

· ฝ่ ายชัว่ คืออาหริ มนั เป็ นเทพเจ้าแห่งความชัว่ และความเดือดร้อนศาสนาโซโรแอสเตอร์ ยังมีผนู ้ บั ถือและ


ประกอบพิธีกรรม

ในปัจจุบนั ภาษา การปกครองอาณาจักรอันกว้างไกลของเปอร์เซียมีการใช้ภาษาอรามาอิคเป็ นภาษากลางซึ่ง


พัฒนามาจากภาษาขอชาวอัสซีเรี ยแต่ไม่ใช้ตวั อักษร “ลิ่ม”ของชาวสุ เมเรี ยนเป็ นตัวเขียน
จงกาเครื่ องหมายถูก ผิด ลงในช่ องว่ าง
_________________ ภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้มีอาณาเขตติดกับทวีบแอฟริ กา ทวีปยุโรป
_________________ ประชาชนในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉี ยงใต้มีเชื้อชาติอาหรับ อินเดีย
_________________ ประเทศซาอุดีอาระเบียมีพ้นื ที่มากที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้
_________________ประเทศกาตาร์เป็ นศูนย์กลางของภูมิภาคเนื่ องจากเป็ นรัฐชายฝั่งทะเลในอ่าวเปอร์ เซียทาให้
สะดวกกับ การเข้ามาติดต่อค้าขายกับชนชาติต่างๆ
_________________ปัญหาการเมืองของเลบานอนเกิดขึ้นจากความขัดแย้งระหว่างผูน้ บั ถือศาสนาคริ สต์และ
อิสลาม
_________________ ก่อนแยกตัวเป็ นเอกราช ประเทศในภูมิภาคเอเชียกลางอยูภ่ ายใต้การปกครองของจีน
_________________ ราชวงค์โชซ็อนเป็ นราชวงศ์ที่ปกครองเกาหลีช่วง พ.ศ 1935 - 2453
ตอนที่ 1 แบบทดสอบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก
คาสั่ง ให้ นักเรียนกาเครื่ องหมาย ลงในช่ องที่ถูกที่สุดเพียงข้ อเดียว
1.เพราะเหตุใดบริ เวณที่ราบลุ่มแม่น้ าในทวีปเอเชียจึงเป็ นแหล่งกาเนิดอารยธรรมที่สาคัญของโลก
ก. เป็ นศูนย์กลางในการติดต่อค้าขาย ข. มีความอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การดารงชีพ
ค. เป็ นบริ เวณที่มีความสงบร่ มเย็น ง. เป็ นบริ เวณที่มีพ้นื ที่มากกว่าทวีปอื่น
2.ภูมิภาคใดของทวีปเอเชียที่เป็ นจุดเชื่อมต่อระหว่างทวีปทั้งสาม
ก. เอเชียใต้ ข. เอเชียตะวันออก
ค. เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ง. เอเชียตะวันตกเฉียงใต้
3.สภาพภูมิศาสตร์ซ่ ึงเป็ นที่ราบกว้างใหญ่ของเอเชียกลางเหมาะแก่การประกอบอาชีพใดมากที่สุด
ก. เลี้ยงสัตว์ ข.เพาะปลูก ค. ค้าขาย ง. ประมง
4.ข้อใดจัดเป็ นลักษณะเด่นทางด้านสถาปัตยกรรมของเมืองโบราณในอินเดีย
ก. มีการวางผังเมืองอย่างเป็ นระเบียบ ข. นับถือพระพุทธศาสนาเป็ นศาสนาประจาเมือง
ค. เลี้ยงสัตว์เพื่อบริ โภคและใช้แรงงาน ง. มีการติดต่อค้าขายกับดินแดนที่อยูห่ ่างไกล
5.โบราณสถานข้อใดที่แสดงให้เห็นอารยธรรมลุ่มแม่น้ าสิ นธุเด่นชัดที่สุด
ก. เมืองโมเฮนโจ - ดาโร และ มีรุต ข. เมืองฮารัปปา และ มถุรา
ค. เมืองปาฏลีบุตร และ มหินทรา ง. เมืองโมเฮนโจ - ดาโร และ ฮารัปปา
6.การที่อินเดียมีหลักฐานที่เป็ นบันทึกทางประวัติศาสตร์นอ้ ย ส่งผลต่อการศึกษาประวัติศาสตร์สมัยโบราณ
ของอินเดียอย่างไร
ก. นักประวัติศาสตร์ขาดหลักฐานที่จะใช้ศึกษา
ข. ประวัติศาสตร์ไม่ชดั เจนยากต่อการศึกษา
ค. ขาดเอกสารที่ถือเป็ นมรดกของชาติ
ง. การศึกษาไม่ครบตามวิธีการทางประวัติศาสตร์

7.ภูมิภาคเอเชียใต้เป็ นแหล่งกาเนิดศาสนาที่สาคัญของโลกยกเว้นศาสนาใด
ก. ศาสนาเชน ข.ศาสนาฮินดู ค. ศาสนาอิสลาม ง. พระพุทธศาสนา
8.คัมภีร์ที่นกั วิชาการเชื่อว่ามีความเก่าแก่ที่สุดของอินเดียชื่อว่าอะไร
ก. คัมภีร์พระเวท ข. คัมภีร์พระสูต
ค. คัมภีร์พระบท ง. คัมภีร์พระธรรมศาสตร์
9.ข้อใดไม่ใช่ความสาคัญของเมืองฮารัปปา และเมืองโมเฮนโจ-ดาโร ในฐานะหลักฐาน ทาง
ประวัติศาสตร์
ก. แสดงให้เห็นลักษณะการวางผังเมืองในยุคโบราณ
ข. แสดงให้เห็นลักษณะการดาเนินชีวิตของชาวอินเดียยุคโบราณ
ค. แสดงให้เห็นความก้าวหน้าของวิทยาการทางการแพทย์ของชาวอินเดีย
ง. แสดงให้เห็นเทคนิคการสร้างที่อยูอ่ าศัยอันมีระเบียบแบบแผน
10.สาเหตุที่ทาให้พ้นื ที่บางส่ วนของภูมิภาคเอเชียใต้ได้รับความเสี ยหายจากวาตภัยอยูเ่ สมอคืออะไร
ก. ไม่มีป่าไม้ปกคลุม ข. ประชากรมีการศึกษาน้อย
ค. อยูใ่ กล้แหล่งกาเนิดพายุ ง. แม่น้ าสายเล็กระบายน้ าไม่ทนั
11.ข้อใดกล่าวถึงลักษณะประชากรและวัฒนธรรมของภูมิภาคเอเชียใต้ได้ถูกต้อง
ก. มีประชากรมากที่สุดในโลก ข. ส่วนใหญ่เป็ นประเทศที่พฒั นาแล้ว
ค. นับถือศาสนาและภาษาเดียวกันทั้งภูมิภาค ง. มีประเพณีและวัฒนธรรมคล้ายคลึงกัน
12.ข้อใดต่อไปนี้สัมพันธ์กนั ไม่ถูกต้อง
ก. ที่ราบลุ่มแม่น้ าสิ นธุ - ปากีสถาน ข. ที่ราบลุ่มแม่น้ าคงคา - อินเดีย
ค. ทีราบลุ่มแม่น้ าคงคา - บังกลาเทศ ง. ที่ราบลุ่มแม่น้ าพรหมบุตร - อินเดีย
13.หลักฐานในข้อใดที่แสดงให้เห็นว่ามีการตั้งถิ่นฐานของประชากรในภูมิภาคเอเชียใต้มาเป็ นระยะเวลายาวนาน
ก. พบหลักฐานการตั้งราชวงศ์
ข. พบหลักฐานการนับถือศาสนา
ค. พบหลักฐานการดาเนินชีวิตแบบเกษตรกรรม
ง. พบหลักฐานเครื่ องมือใช้ของมนุษย์สมัยหินและโลหะ
14.“ทัชมาฮัล” ในสมัยราชวงศ์โมกุล สร้างขึ้นเพื่อจุดประสงค์ใด
ก. แสดงความยิง่ ใหญ่ของอินเดีย ข. ป้องกันการรุ กรานของข้าศึก
ค. เป็ นอนุสรณ์แห่งความรัก ง. ใช้ประกอบพิธีทางศาสนาอิสลาม
15.ข้อใดจัดเป็ นลักษณะเด่นทางด้านสถาปัตยกรรมของเมืองโบราณในอินเดีย
ก. มีการวางผังเมืองอย่างเป็ นระเบียบ ข. นับถือพระพุทธศาสนาเป็ นศาสนาประจาเมือง
ค. เลี้ยงสัตว์เพื่อบริ โภคและใช้แรงงาน ง. มีการสร้างพระพุทธรู ป
16.ข้อใดคือรู ปแบบการปกครองของอินเดียหลังจากที่ได้รับเอกราชจากอังกฤษ
ก. ประชาธิปไตยแบบสหพันธรัฐ ข. ประชาธิปไตยแบบสมาพันธรัฐ
ค. ประชาธิปไตยแบบมลรัฐ ง. ประชาธิปไตยแบบเอกรัฐ
17.ข้อความใดกล่าวถึงการสร้างสรรค์ผลงานทางด้านอารยธรรมของเอเชียใต้ ผิดไปจากความเป็ นจริ ง
ก. เป็ นแหล่งกาเนิดศาสนาสาคัญของโลก
ข. เป็ นผูร้ ิ เริ่ มการสร้างเข็มทิศขึ้นใช้เอง
ค. เป็ นผูค้ ิดค้นระบบตัวเลข ๑-๙ แทนการใช้เลขโรมัน
ง. เป็ นผูค้ ิดค้นระบบทศนิยมขึ้นใช้ในการคานวณ
18.ลักษณะเด่นของอารยธรรมอินเดียที่ยงั คงสื บเนื่องมาจนถึงปัจจุบนั คือเรื่ องใด
ก. ความนิยมทางไสยศาสตร์ ข. อดทนต่อความยากจน
ค. ประเพณี ลา้ งบาปในแม่น้ าคงคา ง. การยึดมัน่ ในวรรณะและลัทธิศาสนา
19.ข้อใดกล่าวถึงวิธีสัตยเคราะห์ของมหาตมะ คานธีได้ถูกต้องที่สุด
ก. การอดอาหารเพื่อประท้วง ข. การประท้วงโดยสันติวิธี
ค. การไม่ให้ความร่ วมมือกับรัฐบาล ง. การสร้างความร่ วมมือระหว่างชาวฮินดูกบั มุสลิม
20.ข้อใดไม่สัมพันธ์กบั “วีรบุรุษทางวัฒนธรรม” ในประวัติศาสตร์จีน
ก. เป็ นผูค้ น้ พบการใช้ไฟ ข. เป็ นผูส้ อนให้รู้จกั การเพาะปลูก
ค. เป็ นผูค้ ิดประดิษฐ์ตวั อักษรจีน ง. เป็ นผูค้ ิดค้นการวางทิศตามหลักฮวงจุย้
21.ในสมัยราชวงศ์ซอ้ งสตรี ชาวจีนมีค่านิยมใด
ก. การมีสามีเพียงคนเดียว ข. ความเป็ นแม่บา้ นที่เพรี ยบพร้อม
ค. ซื่อสัตย์กตัญญูต่อบุพการี ผมู ้ ีพระคุณ ง. การรัดเท้าให้เล็กเพื่อความสวยงาม
22.สภาพทางภูมิศาสตร์บริ เวณที่ราบลุ่มแม่น้ าของเอเชียตะวันออกเหมาะแก่การประกอบอาชีพใดเป็ นหลัก
ก. เกษตรกรรม ข. อุตสาหกรรม ค. ทาการประมง ง. ทาการค้าระหว่างประเทศ
23.ข้อใดคือคาสอนที่สาคัญของลัทธิเต๋ า
ก. มนุษย์ทุกคนมีกรรมเป็ นกาเนิด
ข. มนุษย์ควรทาตัวให้สอดคล้องกับธรรมชาติ
ค. มนุษย์ควรปฏิบตั ิตนให้ถูกต้องตามฐานะทางสังคม
ง.มนุษย์ทุกคนมีความเท่าเทียมกันมาแต่กาเนิด
24.“อาณัติแห่งสวรรค์” เกี่ยวข้องอย่างไรกับแนวคิดด้านการปกครองของจีน
ก. กษัตริ ยต์ อ้ งเป็ นจอมทัพ
ข. กษัตริ ยต์ อ้ งเอาใจใส่ทุกข์ สุข ของราษฎร
ค. กษัตริ ยต์ อ้ งปกครองโดยใช้อาณัติแห่งสวรรค์
ง. กษัตริ ยต์ อ้ งปกครองการเกิดน้ าท่วม ฝนแล้ง โรคระบาด
25.ฉิ นสื่ อหวงตี้หรื อจิ๋นซีฮ่องเต้สร้างกาแพงเมืองจีนเพื่อจุดประสงค์ใด
ก. ป้องกันการรุ กรานของชนป่ าเถื่อน ข. ป้องกันการรุ กรานของชาวต่างชาติ
ค. แบ่งระหว่างจีนกับชาวต่างชาติอารยธรรม ง. เป็ นสัญลักษณ์ที่สาคัญของจีน
26.ชาวจีนเชื่อว่าการฝังเข็มทาให้เกิดผลดีต่อร่ างกายอย่างไร
ก. ทาให้หายจากอาการเจ็บป่ วยได้เร็ วขึ้น
ข. ช่วยรักษาอวัยวะส่ วนที่ทางานไม่ปกติให้กลับดีข้ นึ
ค. ช่วยให้ผิวพรรณเปล่งปลัง่ ดูอ่อนเยาว์
ง. ช่วยกระตุน้ ให้พลังที่ไหลหมุนเวียนในร่ างกายเป็ นปกติ
27..ลัทธิขงจื๊อมีอิทธิพลต่อความเชื่อใดต่อไปนี้มากที่สุด
ก. ชีวิตหลังความตาย ข. การเคารพบูชาบรรพบุรุษ
ค. ความยิง่ ใหญ่ของชาวจีน ง. การทาความดีเพื่อชาติหน้า
28. เหตุผลที่ทาให้ลกั ษณะทางวัฒนธรรมของประชากรในเอเชียตะวันออกมีความคล้ายคลึงกันคืออะไร
ก. ได้รับอิทธิพลจากแหล่งเดียวกัน ข.อาศัยอยูใ่ นเขตภูมิอากาศเดียวกัน
ค. เริ่ มก่อตั้งประเทศในระยะเวลาใกล้เคียงกัน ง. มีลกั ษณะทางสังคมแบบเดียวกัน
29.เพระเหตุใด เราจึงต้องไปศึกษาบริ เวณลุ่มแม่น้ าไทกริ สและแม่น้ ายูเฟรทีส เมื่อต้องการทราบเรื่ องราว
เกี่ยวกับอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
ก. เป็ นบริ เวณที่มีความสวยงาม ข. มีโบราณสถานหลงเหลืออยู่มาก
ค. ยังมีชนเผ่าดั้งเดิมอาศัยอยูบ่ ริ เวณนี้ ง. เป็ นแหล่งกาเนิดของอารยธรรมเมโสโปเต
เมีย
30.เหตุผลสาคัญที่ทาให้ภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉี ยงใต้เป็ นที่รู้จกั มาตั้งแต่ครั้งอดีตคือ อะไร
ก. อยูใ่ กล้กบั ทวีปยุโรป ข. เป็ นอู่อารยธรรมดั้งเดิม
ค. มีทาเลที่ต้ งั เหมาะสม ง. ประชากรมีฐานะความเป็ นอยูด่ ี
31.ประชากรส่วนใหญ่ของภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้มีเชื้อสายและนับถือศาสนาใด
ก. อาหรับ - อิสลาม ข. อารยัน - ฮินดู
ค. เติร์ก - อิสลาม ง. ยิว - ยูดาย
32.“อักษรคูนิฟอร์ม” ในอารยธรรมเมโสโปเตเมียมีลกั ษณะอย่างไร
ก. เป็ นอักษรภาพ เขียนตามสุสานของกษัตริ ย ์
ข. คล้ายกับตัวอักษรภาษาอังกฤษในปัจจุบนั
ค. ตัวอักษรคล้ายรู ปลิ่มเขียนบนแผ่นดินเหนียว
ง. เขียนด้วยอักษรฮีบรู แต่อ่านออกเสี ยงแบบอาหรับ
33.ประมวลกฎหมายฮัมมูราบีของจักรวรรดิบาบิโลเนียมีหลักการลงโทษผูก้ ระทาผิด แบบใด
ก. ตาต่อตาฟันต่อฟัน ข. ประนีประนอมให้โอกาสกลับใจ
ค. คานึงถึงหลักสิ ทธิมนุษยชน ง. มนุษย์ทุกคนมีความเท่าเทียมกัน
34.บริ เวณใดของเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ที่มีประชากรอาศัยอยูห่ นาแน่นที่สุด
ก. บริ เวณอ่าวเปอร์เซีย ข. บริ เวณคาบสมุทรอาหรับ
ค. ชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์ เรเนียน ง. ที่ราบลุ่มแม่น้ าไทกริ ส – ยูเฟรทีส
35.สภาพอากาศที่ร้อนจัดและแห้งแล้งส่ งผลต่อการตั้งถิ่นฐานของประชากรในภูมิภาค เอเชียตะวันตกเฉียงใต้
อย่างไร
ก. ทาให้ประชากรตั้งถิ่นฐานเป็ นหลักแหล่ง
ข. ทาให้ประชากรเร่ ร่อนไปยังดินแดนอื่นที่มีความอุดมสมบูรณ์กว่า
ค. ทาให้รู้จกั ใช้ไม้เป็ นวัสดุในการสร้างบ้าน
ง. ทาให้ประชากรสร้างบ้านเรื อนบริ เวณที่โล่งแจ้ง
36.ข้อใดไม่ใช่สาเหตุสาคัญของความขัดแย้งในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้
ก. เชื้อชาติ ข.ภาษา ค. ศาสนา ง. สี ผิว
37.ศาสนาใดที่มีตน้ กาเนิ ดจากอิหร่ านซึ่งปัจจุบนั ถือเป็ นศาสนาที่หมดสิ้ นไปจากโลกแล้ว
ก. ศาสนาอัชเทค ข. ศาสนาโวดาน
ค. ศาสนาอะโฟรไดท์ ง. ศาสนาโซโรอัสเตอร์
38.ศาสนาในข้อใดที่มีตน้ กาเนิดจากภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้
ก. เชน - ฮินดู ข. คริ สต์ - อิสลาม
ค. ยูดาย - พระพุทธศาสนา ง. ชินโต - โซโรอัสเตอร์.
39.ซิกกูแรต มีลกั ษณะคล้ายกับอะไร
ก. วัด ข.พีระมิด ค.โบสถ์ ง. มัสยิด
40.ชาวสุเมเรี ยน มีความสาคัญอย่างไร
ก.เป็ นชนชาติแรกที่ประดิษฐ์ตวั อักษร ข.เป็ นผูป้ ระมวลกฎหมาย
ค.เป็ นชนเผ่าดั้งเดิมของเอเชียใต้ ง.เป็ นผูร้ ุ กรานจักรวรรดิจีน

ตอนที่ 2 ให้ นักเรียนตอบคาถาม ให้ ถูกต้ อง (10 คะแนน)


1.จงบอกชื่อประเทศที่มีความสาคัญทางอารยธรรมในภูมิภาคเอเชียมา อย่างน้อย 5 ประเทศ

2.ภูมิภาคเอเชียเป็ นแหล่งกาเนิดศาสนาใดบ้างจงบอกมา อย่างน้อย 5 ชื่อ

You might also like