You are on page 1of 26

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6

ร าย วิ ช า ส 2 2 1 02 สั งคมศึ ก ษา
วัฒนธรรมในเอเชีย ผู้ สอน นาย ป ร เมษฐ นาม ไ พ ร

ก ลุ่ ม ส าร ะการ เรี ย นรู้ สั ง คมศึ ก ษา ศาส นา แ ล ะวั ฒนธร รม โ ร งเรี ย นสุ รนารี วิ ทยา
ความหมาย
“วัฒนธรรม”
ตาม พรบ.วัฒนธรรมแห่งชาติ พ.ศ.2553 ให้ความหมายของคาว่าวัฒนธรรมไว้
ว่า วิถีการดาเนินชีวิต ความคิด ความเชื่อ ค่านิยม จารีต ประเพณี พิธีกรรม
และภูมิปัญญา ซึ่งกลุ่มชนและสังคมได้ร่วมกันสร้างสรรค์ สั่งสม ปลูกฝัง สืบ
ทอด เรียนรู้ ปรับปรุง และเปลี่ยนแปลง เพื่อให้เกิดความเจริญงอกงามทั้งด้าน
จิตใจ และวัตถุอย่างสันติสุขและยั่งยืน

สืบทอด และ ส่งต่อ


ทุกสิ่งทุกอย่างที่ เพื่อสนองความต้องการ
จากรุ่นสู่รุ่น
มนุษย์สร้างขึ้น และพัฒนาชีวิตความ
เป็นอยู่
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 วัฒนธรรมในเอเชีย
วัฒนธรรมไทย สะท้อนให้เห็นเอกลักษณ์ความเป็นไทย ซึ่งมีการสั่งสม
ความรู้ ความคิด สติปัญญาของบรรพบุรุษสืบต่อกันมา
โดยได้รับอิทธิพลจาก 3 ปัจจัยดังนี้
1.) อิทธิพลจากพระพุทธศาสนา
คนไทยส่ ว นใหญ่ นั บ ถื อ ศาสนาพุ ท ธ จึ ง ท าให้
ศาสนามี อิทธิ พลต่ อความคิ ด ความเชื่ อ และการ
ปฏิบัติตน
เช่ น ความกตั ญ ญู ก ตเวที การปฏิ บั ติ ที่
เกี่ยวข้องกับวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา ประเพณี
งานด้านสถาปัตยกรรม และศิลปกรรมต่าง ๆ อัน
เป็นเอกลักษณ์

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 วัฒนธรรมในเอเชีย
วัฒนธรรมไทย สะท้อนให้เห็นเอกลักษณ์ความเป็นไทย ซึ่งมีการสั่งสม
ความรู้ ความคิด สติปัญญาของบรรพบุรุษสืบต่อกันมา
โดยได้รับอิทธิพลจาก 3 ปัจจัยดังนี้

2.) สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ
มนุษย์ต้องพึ่งพาอาศัยธรรมชาติ
แ ล ะ ต้ อ ง ป รั บ ตั ว ใ ห้ เ ข้ า กั บ
สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ
ดังนั้น จึงเกิด ความแตกต่างในเรื่องของวิถี
ชีวิต เช่น การแต่งกาย การกินอาหาร การ
สร้ า งที่ อ ยู่ อ าศั ย จึ ง ท าให้ ลั ก ษณะของ
วัฒนธรรมมีความแตกต่างต่างหลาย และ
เป็นเอกลักษณ์

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 วัฒนธรรมในเอเชีย
วัฒนธรรมไทย สะท้อนให้เห็นเอกลักษณ์ความเป็นไทย ซึ่งมีการสั่งสม
ความรู้ ความคิด สติปัญญาของบรรพบุรุษสืบต่อกันมา
โดยได้รับอิทธิพลจาก 3 ปัจจัยดังนี้
3.) กา ร รั บ และ การผสม ผสานกั บ
วัฒนธรรมจากภายนอก
วั ฒ นธรรมที่ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ สั ง คมไทย
ได้แก่ วัฒนธรรมจีน วัฒนธรรมอินเดีย
และวัฒนธรรมตะวันตก

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 วัฒนธรรมในเอเชีย
วัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาคเอเชีย
เป็นทวีปที่พื้นที่กว้างใหญ่มากที่สุดของโลก แบ่งเป็น 5 ภูมิภาค คือ เอเชียตะวันออก
เฉียงใต้ เอเชียตะวันออก เอเชียกลาง เอเชียใต้ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ส่วนใหญ่รับวัฒนธรรม
เอเชียกลางและเอเชียตะวันตก
ของจีนและอินเดีย
เฉียงใต้รับวัฒนธรรมอิสลาม
แหล่ ง ก าเนิ ด อารยธรรม
แหล่ ง ก าเนิ ด ศาสนาส าคั ญ โบราณ ได้แก่ จีน อินเดีย
ของโลก คือ พราหมณ์ -ฮินดู และเมโสโปเตเมีย
พุทธ คริสต์ และอิสลาม

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 วัฒนธรรมในเอเชีย
วัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาคเอเชีย
อยู่ ในคาบสมุ ทรเกาหลี ญี่ ปุ่ น รวมทั้ ง
เวียดนาม และชาวจีนส่วนหนึ่งที่อพยพเข้าสู่
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
วัฒนธรรมจีน
ลัทธิขงจื้อ (คุณธรรม จริยธรรม) ได้รับ
1.) ศาสนา
การยอมรับนับถือในเอเชียตะวันออก
จีนแมนดารินหรือจีนกลาง (ภาษาประจา
2.) ภาษา
ชาติ) จีนฮกเกี้ยน จีนแต้จิ๋ว จีนไหหลา
มีสถาปัตยกรรม และงานศิลปะ
3.) ศิลปะ
แขนงต่าง ๆ เป็นเอกลักษณ์
รับประทานข้าวเป็นอาหารหลักร่วมกับ
4.) อาหาร
ข้าวต่าง ๆ ใช้ตะเกียบ ก๋วยเตี๋ยว ติ่มซา
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 วัฒนธรรมในเอเชีย
วัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาคเอเชีย
มีอิทธิพลแผ่ขยายไปถึงเอเชียกลาง
เอเชียใต้ที่ศรีลังกา และเอเชียตะวันออก
วัฒนธรรมอินเดีย
เฉียงใต้ โดยเฉพาะคาบสมุทรอินโดจีน คือ เมียนมา ไทย ลาว กัมพูชา ผ่านการค้าขาย
การเผยแผ่ศาสนา โดยผสมผสานกับวัฒนธรรมของตน

1.) ศาสนา
อินเดียเป็นแหล่งกาเนิดศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ศาสนาพุทธ ซึ่งเข้ามามี
อิทธิพลต่อขนบธรรมเนียม ประเพณี และวิถีการดาเนินชีวิตของผู้คนในเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ เช่น พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 วัฒนธรรมในเอเชีย
วัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาคเอเชีย

2.) ภาษา
วัฒนธรรมอินเดีย
อินเดียมีภาษาพูดแตกต่างกันตามแต่ละท้องถิ่น แต่ใช้ ภาษาฮินดี และ
ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ
3.) ศิลปะ
ส่วนใหญ่มีความเกี่ยวข้องกับ ศาสนา เช่น งานแกะสลักหินที่ถ้าอชันตา
ทัชมาฮาล และการฟ้อนราที่เป็นเอกลักษณ์

4.) อาหาร
ใช้ เ ครื่ อ งเทศเป็ น เครื่ อ งปรุ ง หลั ก เช่ น มั ส มั่ น มะตะบะ โรตี นิ ย ม
รับประทานอาหารด้วยมือ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 วัฒนธรรมในเอเชีย
วัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาคเอเชีย
อยู่ บริ เว ณ ค าบ ส มุ ทร อา หรั บ
แผ่ขยายผ่ านการค้า การสงคราม
และการเผยแผ่ศาสนา (ชาวอาหรับ)
วัฒนธรรมอิสลาม
เป็นแหล่งกาเนิดศาสนาอิสลาม 1.) ศาสนา

ภาษาอาหรับ (เป็นรากฐานของประเทศที่
2.) ภาษา
นับถือศาสนาอิสลาม)

เกิดจากความศรัทธาในศาสนาอิสลาม 3.) ศิลปะ

นิยมทานเนื้อสัตว์กับถั่วหรือผลไม้แห้ง 4.) อาหาร

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 วัฒนธรรมในเอเชีย
วัฒนธรรมใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
1) ไทย 7) สิงคโปร์
2) เมียนมา 8) บรูไนดารุสซาลาม
3) ลาว 9) ฟิลิปปินส์
4) กัมพูชา 10) อินโดนีเซีย
5) มาเลเซีย 11) ติมอร์-เลสเต
6) เวียดนาม
ดิ น แดนแถบนี้ ไ ด้ รั บ อิ ท ธิ พ ลจากวั ฒ นธรรมต่ า ง ๆ ผ่ า นการอพยพ
ย้ายถิ่นที่อยู่ การค้า และการขยายอานาจ

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 วัฒนธรรมในเอเชีย
วัฒนธรรมใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ศาสนา
- เมียนมา ไทย ลาว กัมพูชา และสิงคโปร์ ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ
แต่ก็มีบางพิธีกรรมที่ได้รับอิทธิพลจากศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และผี
- มาเลเซีย อินโดนีเซีย และบรูไน นับถือศาสนาอิสลาม
- ฟิลิปปินส์ และติมอร์-เลสเต นับถือศาสนาคริสต์

ภาษา
- ประเทศต่าง ๆ มีภาษาประจาชาติของตนเอง ได้แก่ ภาษาไทย
ภาษาลาว ภาษาพม่า ภาษาเขมร ภาษามลายู (มาเลเซี ย สิ ง คโปร์
บรูไน) และภาษาตากาล็อก (ฟิลิปปินส์)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 วัฒนธรรมในเอเชีย
วัฒนธรรมใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
การแต่งกาย
แต่ละประเทศจะมีชุดประจาชาติของตน ซึ่งจะแต่งในโอกาสพิเศษต่าง ๆ
ส่วนการดาเนินชีวิตจะแต่งกายแบบสากล ยกเว้นในประเทศที่นับถือศาสนาอิสลาม

อาหาร
บริ โ ภคข้ า วเป็ น อาหารหลั ก และมี เ ครื่ อ งเทศเป็ น ส่ ว นประกอบของ
อาหารคาว ของหวานมักทาจากแป้ง มะพร้าว และน้าตาล

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 วัฒนธรรมในเอเชีย
วัฒนธรรมใน เอเชียตะวันออก
1) จีน 3) ญี่ปุ่น
ไต้หวัน 4) เกาหลีเหนือ
2) มองโกเลีย 5) เกาหลีใต้
ศาสนา
จี น เป็ น ต้ น ก าเนิ ด ของลั ท ธิ เ ต๋ า และลั ท ธิ ข งจื๊ อ ซึ่ ง เน้ น หลั ก คุ ณ ธรรม
จริยธรรม ต่อมาเมื่อศาสนาพุทธเข้ามาก็ได้ผสมผสานกับลัทธิทั้งสอง โดยชาวจีน
จะยึ ด มั่ น ในเรื่ อ งของความกตั ญ ญู ก ตเวที มี พิ ธี ก รรมเซ่ น ไหว้ วิ ญ ญาณ
บรรพบุรุ ษ และเชื่อเรื่ อง “ฮวงจุ้ย ” ส่วนชาวญี่ปุ่นส่วนใหญ่นับถือศาสนา
ชินโต ชาวเกาหลีมีทั้งนับถือศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต์ และลัทธิขงจื๊อ (มีผล
ต่อความเชื่อและพิธีกรรม)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 วัฒนธรรมในเอเชีย
วัฒนธรรมใน เอเชียตะวันออก
ภาษา
- จีนใช้ภาษาจีนแมนดาริน (จีนกลาง) เป็นภาษาราชการ
- ญี่ปุ่นและเกาหลี มีภาษาของตัวเอง

การแต่งกาย เอเชียตะวันออกมีอากาศหนาวเย็น
- ชุดประจาชาติชาติจีน คือ กี่เพ้า
- ชุดประจาชาติญี่ปุ่น คือ กิโมโน
- ชุดประจาชาติเกาหลี คือ ฮันบก
- ปัจจุบันมีการแต่งกายแบบสากล
ส่วนชุดประจาชาติจะใส่ในโอกาสพิเศษต่าง ๆ

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 วัฒนธรรมในเอเชีย
วัฒนธรรมใน เอเชียตะวันออก
อาหาร
- อาหารหลัก คือ ข้าว เนื้อสัตว์ และผัก ผลไม้ที่ผลิตได้ในท้องถิ่น
- นิยมรับประทานขณะร้อน
- เครื่องดื่มที่นิยม คือ ชา ก่อให้เกิดพิธีชงชา
- ใช้ตะเกียบในการรับประทานอาหาร
- ชาวญี่ปุ่นมักจะตกแต่งอาหารอย่างมีศิลปะ อาหารที่เป็นที่รู้จัก
เช่น ข้าวปั้น ปลาดิบ โซบะ สุกี้ยากี้ ซูชิ ราเมน
- อาหารเกาหลีที่เป็นที่รู้จัก เช่น เนื้อย่าง กิมจิ (ใช้เป็นเครื่องเคียง)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 วัฒนธรรมในเอเชีย
วัฒนธรรมใน เอเชียกลาง
1) คาซัคสถาน 5) ทาจิกิสถาน
2) เติร์กเมนิสถาน 6) อาเซอร์ไบจาน
3) อุซเบกิสถาน 7) จอร์เจีย
4) คีร์กีซสถาน 8) อาร์เมเนีย

ในอดีตที่เส้นทางติดต่อระหว่างโลกตะวันออกและโลกตะวันตก วัฒนธรรมจีน
เผยแผ่ผ่านเส้นทางการค้าทั้งทางบก (เส้นทางสายไหม) และทางทะเล พุทธ
ศาสนาจึงเข้ามาดินแดนแทบนี้ด้วย (ปรากฎหลักฐานพระพุทธรูปแห่งบามิยันใน
อัฟกานิสถาน) จากนั้นศาสนาอิสลามจากเปอร์เซียก็เข้ามามีอิทธิพลแทนที่

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 วัฒนธรรมในเอเชีย
วัฒนธรรมใน เอเชียกลาง
ชาวเอเชี ย กลางส่ ว นใหญ่ นั บ ถื อ ศาสนาอิ ส ลาม
ศาสนา
ส่วนชาวอาร์เมเนียและจอร์เจียนับถือศาสนาคริสต์

ภาษา เนื่องจากแยกออกมาจากสหภาพโซเวียต จึงใช้


ภาษารัสเซียเป็นภาษากลาง

ส่ ว นใหญ่ นั บ ถื อ ศาสนาอิ ส ลาม จึ ง แต่ ง กาย


การแต่งกาย ตามศาสนบัญญัติ
เนื่องจากภูมิประเทศเป็นทะเลทรายและที่ราบ
อาหาร ทุ่งหญ้า มีวิถีชีวิตแบบเร่ร่อน อาหารหลัก คือ เนื้อสัตว์
และอาหารแปรรูปจากสัตว์ เช่น เนย โยเกิร์ต

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 วัฒนธรรมในเอเชีย
วัฒนธรรมใน เอเชียใต้
1) อินเดีย 5) ศรีลังกา
2) ปากีสถาน 6) ภูฏาน
3) เนปาล 7) มัลดีฟส์
4) บังกลาเทศ

วัฒนธรรมอินเดียอยู่บริเวณลุ่มน้าสินธุ ถือเป็นรากฐานอารยธรรมร่วมของ
เอเชียใต้ อินเดียนับถือศาสนาพราหมณ์ -ฮินดู เคยถูกเปอร์เซีย และกรีกรุกราน
ตามด้วยกลุ่มมุสลิม และชาติตะวันตก (ตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษ) แม้จะเคย
ถูกปกครองโดยต่างชาติ รวมทั้งกระแสการเปลี่ ยนแปลงของโลก แต่ชาว
อินเดียยังยึดมั่นในขนบธรรมเนียม ประเพณี ความเชื่อ จวบจนปัจจุบัน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 วัฒนธรรมในเอเชีย
วัฒนธรรมใน เอเชียใต้
ศาสนา
- ชาวอินเดีย และเนปาล นับถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
- ชาวปากีสถาน บังกลาเทศ และมัลดีฟส์ นับถือศาสนาอิสลาม
- ชาวศรีลังกาและภูฏาน นับถือพระพุทธศาสนา

ภาษา
- ภาษาที่ชาวอินเดียส่วนใหญ่ใช้กัน คือ ภาษาฮินดี
- ภาษาราชการ คือ ภาษาฮินดี และภาษาอังกฤษ

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 วัฒนธรรมในเอเชีย
วัฒนธรรมใน เอเชียใต้
การแต่งกาย
มีความคล้ายคลึงกันเพราะวัฒนธรรมอินเดียเป็นวัฒนธรรมร่วม แตกต่างกัน
ไปตามศาสนาที่นับถือ
- ผู้ชาย จะสวมชุดสีขาวหลวม ๆ ชาย (สิกข์) จะโพกผ้าที่ศีรษะ
- ผู้หญิง ที่นับถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดู จะพันตัวด้วยผ้ายืนยาว

อาหาร
อาหารหลัก คือ ข้าวกับแกง ซึ่งใช้เครื่องเทศและผงกะหรี่ อาหารที่เป็นที่
รู้จัก เช่น โรตี แกงกะหรี่ ข้าวหมก
- ชาวฮินดู ไม่กินเนื้อวัว
- ชาวมุสลิม ไม่กินเนื้อสุกร

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 วัฒนธรรมในเอเชีย
วัฒนธรรมใน เอเชียตะวันตกเฉียงใต้

1) ซาอุดิอาระเบีย 9) ยูเออี
2) อิหร่าน 10) จอร์แดน
3) ตุรกี 11) อิสราเอล
4) อัฟกานิสถาน 12) คูเวต
5) เยเมน 13) กาตาร์
6) อิรัก 14) เลบานอน
7) โอมาน 15) ไซปรัส
8) ซีเรีย 16) บาห์เรน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 วัฒนธรรมในเอเชีย
วัฒนธรรมใน เอเชียตะวันตกเฉียงใต้
มีความเจริญมาตั้งแต่สมัยอาณาจักรเมโสโปเตเมีย ซึ่งเป็นรากฐานทาง
วัฒนธรรมมาถึงยุคปัจจุบัน เป็นแหล่งกาเนิดของศาสนาคริสต์ และอิสลาม
ปัจจุบันเป็นศูนย์กลางของผู้นับถือศาสนาอิสลาม
ศาสนา
- คนส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม เป็นรากฐานของวัฒนธรรม
วิถีชีวิตความเป็นอยู่ ระบบเศรษฐกิจ กฎหมาย และการปกครอง
- บางส่วนนับถือศาสนายิว และคริสต์

ภาษา
- ภาษาที่ใช้ส่วนใหญ่ คือ ภาษาอาหรับ ซึ่งมีอิทธิพลต่อภาษาของ
ประเทศต่าง ๆ ที่นับถืออิสลามด้วย เช่น ภาษาตุรกี ภาษาฮีบรู

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 วัฒนธรรมในเอเชีย
วัฒนธรรมใน เอเชียตะวันตกเฉียงใต้
การแต่งกาย
- ผู้ ช าย จะใส่ เ สื้ อผ้ า คลุ ม ยาวกรอมเท้า ผ่า หน้า ตลอด เพื่อ ป้ องกั น
ความร้อนจากทะเลทราย ส่วนบริเวณคาบสมุทรอาหรับ นิยมสวมเสื้อสีขาว
ยาวกรอมเท้า แขนยาวทั้งตัว
- ผู้หญิง ต้องมีผ้าคลุมศีรษะและปกปิดใบหน้า

อาหาร
- ตามหลักศาสนบัญญัติ เช่น ห้ามรับประทานหมู หรือผลิตภัณฑ์จาก
หมู ห้ามดื่มแอลกอฮอล์ เนื้อสัตว์ต้องทาโดยชาวมุสลิมเท่านั้น
- อาหารหลัก คือ ข้าว และเนื้อสัตว์ เช่น แกะ แพะ โค
- ผลไม้ที่เป็นที่รู้จัก คือ อินทผลัม

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 วัฒนธรรมในเอเชีย
วัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยสาคัญในการสร้างความเข้าใจอันดี

“วัฒนธรรม”
สามารถเปลี่ยนแปลงได้

ความคิด การพัฒนาให้ การผสมผสาน


สร้างสรรค์ เหมาะสม ทางวัฒนธรรม

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 วัฒนธรรมในเอเชีย
วัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยสาคัญในการสร้างความเข้าใจอันดี
1. วัฒนธรรมด้านศาสนา ทุกศาสนาสอนให้เป็นคนดี การปฏิบัติตามคา
สอนจะช่วยให้อยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข
2. วัฒนธรรมด้านภาษา เป็นเครื่องมือสื่อสารเพื่อสร้างความเข้าใจที่
ถูกต้อง
3. วั ฒ นธรรมด้ า นอาหาร ช่ ว ยส่ ง เสริ ม
ด้านเศรษฐกิจ
4. วัฒนธรรมด้านกีฬา เช่น เอเชียนเกมส์
5. วัฒนธรรมด้านศิลปะและวัฒนธรรม
ช่วยให้เข้าใจในความแตกต่างทางวัฒนธรรม

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 วัฒนธรรมในเอเชีย

You might also like