You are on page 1of 15

12/02/67

1
.

.1

แหล่งอารยธรรมในภูมิภาค
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ความเจริญของมนุษยชาติ มีพฒั นาการทางด้านต่างๆ ทั้งทางด้าน


ความหมายของ การผลิตอาหาร การอยู่รวมกันเป็นชุมชนเมือง มีการจัดระเบียบ
การปกครอง มีผู้ประกอบอาชีพเฉพาะด้านตามความชานาญ และมี
อารยธรรม
ระบบการขีดเขียนบันทึก หรือมีตัวหนังสือใช้ อารยธรรมเป็น
ผลรวมของความเจริญทางวัฒนธรรม ซึ่งเป็นความเจริญในด้าน
ใดด้านหนึ่ง

1
12/02/67

ที่ตั้งและ
ความสาคัญของ
แหล่งอารยธรรม

1. ดองซอน 2. ถ้าหลังโรงเรียน

3. บ้านเชียง 4. ยะรัง

แหล่งวัฒนธรรมดองซอน

อยู่ที่ปากแม่น้าแดง ในตังเกี๋ย หรือเวียดนามตอนเหนือ มีการพบกลอง


มโหระทึกทาด้วยสาริด อายุประมาณ 2,500 ปีล่วงมาแล้ว โดยพบ
แพร่หลายในดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แสดงว่ามีการติดต่อค้าขาย
กับดินแดนอื่น

ลายเส้นคัดลอกจาก
หน้ากลองมโหระทึก
พบที่เวียดนาม

2
12/02/67

แหล่งโบราณคดีถ้าหลังโรงเรียน

ตั้งอยู่ที่ตาบลทับปริก อาเภอเมือง จังหวัดกระบี่ เคยเป็นที่


อยู่ของมนุษย์ตัวตรงที่เก่าแก่ทสี่ ุด ที่พบในประเทศไทย
เมื่อประมาณ 37,000 ปีล่วงมาแล้ว พบเครื่องมือ
เครื่องใช้ทาด้วยหิน สาหรับใช้ในการยังชีพด้วยการล่าสัตว์
และจับปลา

แหล่งวัฒนธรรมบ้านเชียง

อยู่ที่อาเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี มีความเจริญทาง


วัฒนธรรมสูงมาแต่โบราณ รู้จักทาการเกษตร เครื่องมือเครื่องใช้
จากสาริดและเหล็ก ทาเครื่องปั้นดินเผาลายเขียนสี รู้จักทอผ้า
วัฒนธรรมบ้านเชียงได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกทาง
วัฒนธรรมใน พ.ศ.1992

3
12/02/67

แหล่งวัฒนธรรมยะรัง

อยู่ใกล้บริเวณแม่น้าปัตตานี อาเภอยะรัง จังหวัด


ปัตตานี เป็นเมืองโบราณขนาดใหญ่ที่เคย เป็น
เมืองท่าค้าขายระหว่างอินเดียกับจีน และนับถือ
พระพุทธศาสนา

ธรรมจักรดิน เผา
พบที่เมืองโบราณยะรัง
ศาสนสถานโบราณ จ.ปัตตานี
ในเมืองโบราณยะรัง

จ.ปัตตานี

จดหมายเหตุราชวงศ์เหลียงของจีน ที่วาดภาพ
ราชทูตจากลัง กาสุกะ เดินทางไปเยือนราชสานัก
จีนในสมัยพระเจ้าอู่ตี้แห่ง ราชวงศ์เหลียง และได้
การวาดภาพนี้บนผ้าไหมม้วน ในปี พ.ศ. 1058

แหล่งมรดกโลกในภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้

มรดกโลก
ความหมายและ
คุณค่าของแหล่ง แหล่งมรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติในโลกที่มี
มรดกโลก คุณค่าสูงยิ่งต่อมนุษย์ มรดกโลกแบ่งเป็น 3 ประเภท

มรดกทางวัฒนธรรม

มรดกทางธรรมชาติ

มรดกแบบผสม

4
12/02/67

การรับรองและคุ้มครองมรดกโลกเป็นไปตามอนุสัญญาว่า ด้ ว ยการคุ ้ ม ครองมรดกโลกทาง


วัฒนธรรมและธรรมชาติ ค.ศ. ๑๙๗๒ (พ.ศ. ๒๕๑๕) ซึ่งได้รับการรับรองโดยองค์การการศึกษา
วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือเรียกย่อๆ ว่า “ยูเนสโก” (UNESCO)

สัญลักษณ์มรดกโลก เป็นรูปสี่เหลี่ยมมีวงกลมล้อมรอบ โดยมีเส้นเชือ่ มต่อกัน


ล้อมรอบด้วยอักษร 3 ภาษา คือ ภาษาอังกฤษ (WORLD HERITAGE) ภาษาสเปน
(PATRIMONIO MUNDIAL) และภาษาฝรั่งเศส (PATTRIMOINE MONDIAL)

หมายถึง มรดกโลกทางวัฒนธรรม

หมายถึง มรดกโลกทางธรรมชาติ

หมายถึง สัญลัก ษณ์ท ี่ใช้รวมทั้งมรดกโลก


ทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ

การขึ้นทะเบียน

• ลัก ษณะสาคัญของมรดกโลกทางวัฒนธรรม จะต้องมีคุณค่าสูงและโดดเด่นทาง


วัฒนธรรม ใน ค.ศ.2021 มีแหล่งมรดกโลกทั้งหมด 1,154 แห่ง อยู่ใน 167 ประเทศ
ทั่วโลก แบ่งเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรม 897 แห่ง ทางธรรมชาติ 218 แห่ง และที่
เป็นแหล่งผสม 39 แห่ง

• สาหรับในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีแหล่งมรดกโลก รวม 42 แห่ง แบ่งเป็นมรดก


โลกทางวัฒนธรรม 27 แห่ง ทางธรรมชาติ 14 แห่ง และแบบผสม 1 แห่ง

5
12/02/67

ลักษณะสาคัญของมรดกโลกทางวัฒนธรรม แบ่งเป็น 3 ลักษณะ

อนุสาวรีย์
งานสถาปัตยกรรม กลุ่มอาคาร
งานจิตรกรรมและ แหล่งต่างๆ
กลุ่มอาคารที่สร้างติดต่อกัน
ประติมากรรม
หรือแยกจากกัน ผลงานทั้ง หลายของมนุษย์
หรือผลงานทางธรรมชาติรวม
กับผลงานของมนุษย์ แหล่ง
โบราณคดีต่าง ๆ

คุณค่าของมรดกโลก

• ทาให้เกิดความชื่นชม สานึกในมรดกที่บรรพบุรุษสร้างไว้ให้เกิดความผูกพันใน
ท้องถิ่น และประเทศชาติ
• เป็นแหล่งเรียนรู้ทงั้ รูปแบบการก่อสร้าง รูปแบบศิลปะ การดาเนินชีวิต ศรัทธาต่อสิ่ง
ที่ผู้คนเหล่านั้น นับถือยึดมั่น
• กระตุ้นให้เกิดสานึกในการอนุรักษ์แหล่งอื่นๆ ให้เป็นมรดกของชาติของโลกต่อไป
• เป็นแหล่งดึงดูดนักท่องเที่ยว ก่อให้เกิดอาชีพหลากหลายมากขึ้นในท้องถิน ่ มากขึ้น
ให้เกิดรายได้เข้าท้องถิ่นและประเทศ

6
12/02/67

มรดกความทรงจาแห่งโลก

• องค์ก ารการศึก ษา วิท ยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเ นสโก) ยังได้ดาเนินแผนงาน


มรดกความทรงจาแห่งโลก (Memory of the World Programme : MOW)

• เชิญผู้เชี่ยวชาญด้านสารนิเ ทศจากองค์ก รภาครัฐและภาคเอกชนจากทั่วโลกมาประชุมหารือร่ว ม ก ั น


แผนงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม อนุรัก ษ์ และเผยแพร่มรดกความทรงจาที่เป็นเอกสาร วัตถุ หรือ
ข้อมูลข่าวสารต่างๆ ที่ม ีคุณค่าสูงในระดับชาติ ระดับภูมิภาค และระดับนานาชาติ

มรดกความทรงจาของไทยเป็น
"มรดกความทรงจาแห่งโลก"

จารึกพ่อขุนรามค าแหง จารึกวัดโพธิ์ เอกสารสาคัญของพระบาทสมเด็จ


พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

บันทึกการประชุมของสยามสมาคม ฟิล์มกระจกหลวงและ
ในพระบรมราชูปถัมภ์ ภาพต้นฉบับ

7
12/02/67

ที่ตั้งและความสาคัญ
ของแหล่งมรดกโลก

วัฒนธรรม 5 แห่ง วัฒนธรรม 3 แห่ง


ธรรมชาติ 4 แห่ง

วัฒนธรรม 5 แห่ง วัฒนธรรม 3 แห่ง


ธรรมชาติ 2 แห่ง
ผสม 1 แห่ง
วัฒนธรรม 2 แห่ง

วัฒนธรรม 3 แห่ง วัฒนธรรม 1 แห่ง


ธรรมชาติ 3 แห่ง

วัฒนธรรม 3 แห่ง ไม่ม ี


ธรรมชาติ 3 แห่ง

วัฒนธรรม 2 แห่ง
ไม่ม ี
ธรรมชาติ 2 แห่ง

ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/รายชื่อ แหล่งมรดกโลกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

8
12/02/67

กัมพูชา
2535/1992 – เมืองพระนคร
2551/2008 – ปราสาทพระวิหาร
2560/2017 – เขตปราสาทสมโบร์ไพรกุก แหล่งโบราณคดีแห่งอีศ านปุระ
2566/2023 – เกาะแกร์ : แหล่งโบราณคดีลิงคปุระโบราณหรือโฉกครรคยาร์

เกาะแกร์ เป็นแหล่งโบราณคดีทางตอนเหนือของกัมพูชา ต ั ้ ง อ ยู ่ ท ี่
จังหวัด พระวิหาร ห่างจากเสียมราฐและโบราณสถานเมื อ งพ ระนคร
ประมาณ 120 กิโลเมตร (75 ไมล์) พบโบราณสถานมากกว่า 180 แห่ง
ในพื้นที่ 81 ตารางกิโลเมตร (31 ตารางไมล์) นักท่องเที่ ย ว สามารถ
เยี่ยมชมพื้นที่โบราณสถานได้ประมาณ 24 แห่งเท่านั ้ น เนื ่ อ งจ าก
โบราณสถานส่วนใหญ่ซ่อนตัวอยู่ในป่าและพื้นที่ทั้งหมดยังทาล าย
ทุ่นระเบิด ไม่หมด

เกาะแกร์เป็นชื่อสมัยใหม่ข องเมืองสาคัญของอาณาจ ั ก รข อ ม ใน
จารึกกล่าวถึงเมืองลิงคปุระหรือเมืองแห่งศิวลึงค์ ภายใต้รัชสมัยของ
พระเจ้าชัยวรมันที่ 4 มีโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ ได้แก่ อ่างเก็บน้า
ขนาดมหึมาและมีการสร้างปราสาทประมาณ 4 0 ห ล ั ง ภ ายใต ้ ก าร
ปกครองของพระองค์

ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/รายชื่อ แหล่งมรดกโลกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ไทย
2534/1991 – นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา
2534/1991 – เมืองประวัติศาสตร์สโุ ขทัยและเมืองบริวาร
2534/1991 – เขตรักษาพันธุ์สต
ั ว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง
2535/1992 – แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง
2548/2005 – กลุ่มป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่
2564/2021 – กลุ่มป่าแก่งกระจาน
2566/2023 – เมืองโบราณศรีเทพ
และโบราณสถานสมัยทวารวดีที่เกีย่ วข้อง

ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/รายชื่อ แหล่งมรดกโลกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

9
12/02/67

กัมพูชา
2535/1992 – เมืองพระนคร
2551/2008 – ปราสาทพระวิหาร
2560/2017 – เขตปราสาทสมโบร์ไพรกุก แหล่งโบราณคดีแห่งอีศ านปุระ
2566/2023 – เกาะแกร์ : แหล่งโบราณคดีลิงคปุระโบราณหรือโฉกครรคยาร์

เมียนมา
2557/2014 – กลุ่มเมืองโบราณอาณาจักรปยู
2562/2019 – พุกาม

กัมพูชา
2535/1992 – เมืองพระนคร
2551/2008 – ปราสาทพระวิหาร
2560/2017 – เขตปราสาทสมโบร์ไพรกุก แหล่งโบราณคดีแห่งอีศ านปุระ
2566/2023 – เกาะแกร์ : แหล่งโบราณคดีลิงคปุระโบราณหรือโฉกครรคยาร์

เมียนมา
2557/2014 – กลุ่มเมืองโบราณอาณาจักรปยู
2562/2019 – พุกาม

10
12/02/67

ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/รายชื่อ แหล่งมรดกโลกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/รายชื่อ แหล่งมรดกโลกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

11
12/02/67

บุโรพุทโธ

ตั้งอยู่ทางภาคกลางของเกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย บนที่ราบใกล้กับแม่ น ้ า


โปรโก สร้างขึ้นในคริสตศตวรรษที่ 9 ในสมัยราชวงศ์ไศเลนทร์ บุโรพุ ท โธ
เป็นศาสนสถานในพระพุทธศาสนานิกายมหายานทีใ่ หญ่ที่สดุ ในโลกแห่งหนึ่ง
สร้างขึ้นจากหินลาวา

ปรัมบานัน

ตั้งอยู่ทางภาคกลางของเกาะชวา สร้างขึ้นในคริ ส ตศตวรรษที ่ 14 เป็ น ศาสนสถานในศาสนา


พราหมณ์ – ฮินดูที่ใหญ่ที่สดุ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยเทวาลัยขนาดใหญ่ 3 หลัง
อุทิศถวายแด่เทพเจ้าในศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ได้แก่ พระพรหม พระนารายณ์ พระศิวะ

12
12/02/67

เมืองฮอยอัน

เป็นเมืองโบราณตั้งอยู่ตอนกลางของประเทศเวียดนาม มีความสาคัญในฐานะที่เป็นเมืองท่าที่
ใหญ่ที่สดุ แห่งหนึ่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว โดยมีการผสมผสาน
สถาปัตยกรรมทัง้ ของท้องถิ่นและของต่างชาติเข้าด้วยกัน รวมทั้งมีการอนุรักษ์อาคารต่าง ๆ
ภายในเมืองให้คงสภาพเดิมไว้เป็นอย่างดี

นครวัด

• ตั้งอยู่ที่เมืองเสียมเรียบ ในกัมพูชา สร้างขึ้นสมัยพระเจ้าสุรยิ วรมันที่ 2 ใน


คริสตศตวรรษที่ 11 - 12 เพื่อเป็นศาสนสถานในศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู
ลัทธิไวษณพนิกาย

• นครวัดเป็นปราสาทหินขนาดใหญ่ มีคูน้าล้อมรอบตามแบบมหาสมุทรที่
ล้อมรอบเขาพระสุเมรุ ตัวปราสาทสูง 60 เมตร ยาว 100 เมตร กว้าง 80
เมตร มีปราสาท 5 หลัง ตั้งอยู่บนฐานสูงตามคติของศูนย์กลางจักรวาล

13
12/02/67

อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย

ในอดีตเคยเป็นราชธานีของอาณาจักรสุโขทัย (ค.ศ. 1249 - 1463) ที่มี


ความเจริญรุ่งเรืองทั้งทางด้านการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ และสังคม
ได้รับการประกาศให้เป็นแหล่งมรดกโลก เมื่อ ค.ศ. 1991 ร่วมกับอุทยาน
ประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัยและอุทยานประวัติศาสตร์กาแพงเพชร

อิทธิพลของอารยธรรมโบราณในดินแดนไทยที่มี
ผลต่อพัฒนาการของไทยในปัจจุบัน

พัฒนาการของมนุษยชาติ มีความสัมพันธ์และต่อเนื่องกับมนุษย์ในอดีต ที่ได้สร้างสมความเจริญ


ต่อเนื่องกันมาจากอารยธรรมหรือวัฒนธรรมโบราณ และคนรุน ่ หลังก็ได้พฒ
ั นารูปแบบความเจริญ
นั้นให้เหมาะสมกับสภาพปัจจุบัน

ศาสนา ศิลปกรรม การมีผู้นา การปลูกข้าว ภาษา ประเพณี

14
12/02/67

15

You might also like