You are on page 1of 46

1

แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
หน่วยที่ 1 เรื่อง เวลาและการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากล
คำชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว
1. พุทธศักราช เกิดก่อนคริสต์ศักราชกี่ปี
1. 245 2. 453 3. 543 4. 1124
2. พ.ศ. 2467 อยู่ในช่วงพุทธศตวรรษที่เท่าไร
1. 26 2. 25 3. 24 4. 23
3. ฮิจเราะห์ศักราช เป็นการใช้ศักราชโดยคนที่นับถือศาสนาใด
1. ศาสนาฮินดู 2. ศาสนาคริสต์ 3. ศาสนาอิสลาม 4. ศาสนายูดาห์
4. มหาศักราชเป็นศักราชที่ไทยได้แบบอย่างมาจากชาติใด
1. ลังกา 2. ขอม 3. อินเดีย 4. จีน
5. ยุคประวัติศาสตร์เริ่มเมื่อไร
1. รู้จักทำการเกษตร 2. มีการตั้งชุมชนขึ้น
3. มีการใช้โลหะเป็นอาวุธ 4. มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร
6. ข้อใดคือลักษณะของมนุษย์ยุคหินกลาง
1. รู้จักการทำเครื่องปั้นดินเหนียว 2. ใช้ขวานหินหรือขวานกำปั้น
3. ใช้หินกะเทาะในการล่าสัตว์ 4. มีชีวิตเร่ร่อนตามแหล่งสัตว์ชุกชุม
7. “สร้างที่พักด้วยดินเหนียว รู้จักรอการเก็บเกี่ยว” หมายถึงมนุษย์ในข้อใด
1. ยุคโลหะ 2. ยุคหินเก่า 3. ยุคหินกลาง 4. ยุคหินใหม่
8. ศิลปวัฒนธรรมตะวันตกและตะวันออก มาบรรจบเป็นครั้งแรกที่ใด
1. เปอร์เซีย 2. ลุ่มน้ำสินธุ 3. ลุ่มน้ำฮวงโห 4. ลุ่มน้ำอิรวดี
9. ชุมชนบ้านเชียง จัดอยู่ในยุคใด
1. ยุคหินแรก 2. ยุคหินเก่า 3. ยุคหินกลาง 4. ยุคหินใหม่
10. รูปแบบการดำเนินชีวิตและการปกครองของประเทศในเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ในปัจจุบันส่วนใหญ่ได้รับ
อิทธิพลจากศาสนาใดมากที่สุด
1. คริสต์ 2. อิสลาม 3. ยูดาห์ 4. ถูกทุกข้อ
11. การค้นพบสิ่งใดทำให้มนุษย์ก้าวเข้าสู่สมัยประวัติศาสตร์
1. มนุษย์ค้นพบไฟ และการใช้ภาษาพูด
2. มนุษย์ประดิษฐ์ภาษาเขียนและการบันทึก
3. มนุษย์มาอยู่รวมกันเป็นสังคมและรู้จักการเพาะปลูก
12. สมัยประวัติศาสตร์ของโลกตะวันตกเริ่มที่แหล่งอารยธรรมใด
1. อารยธรรมกรีก 2. อารยธรรมโรมัน
3. อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ 4. อารยธรรมลุ่มแม่น้ำไทกริส-ยูเฟรทีส
2

13. ข้อใด ไม่ใช่ ความเจริญของมนุษย์ยุคหินใหม่


1. การใช้เครื่องมือหินขัด 2. เร่ร่อนเก็บของป่า ล่าสัตว์
3. การตั้งถิ่นฐานเป็นสังคมเมือง 4. รู้จักทำภาชนะเครื่องปั้นดินเผา
14. ช่วงเวลาสมัยก่อนประวัติศาสตร์ใช้สิ่งใดเป็นเกณฑ์ในการแบ่งยุคสมัย
1. ประเภทของปศุสัตว์ 2. ที่อยู่อาศัยของมนุษย์
3. อาณาจักร หรือราชวงศ์ 4. เครื่องมือเครื่องใช้ของมนุษย์
15. ช่วงเวลากับยุคสมัยทางประวัติศาสตร์เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
1. เหมือนกัน เพราะช่วงเวลาเป็นสิ่งที่กำหนดยุคสมัย
2. เหมือนกัน เพราะยุคสมัยเป็นสิ่งที่กำหนดช่วงเวลา
3. ต่างกัน เพราะช่วงเวลากล่าวถึงเวลา แต่ยุคสมัยกล่าวถึงสภาพสังคม
4. ต่างกัน เพราะช่วงเวลาแบ่งจากจำนวนปีทุกๆ 10 ปี หรือร้อยปีแต่ยุคสมัยแบ่งจากพัฒนาการทาง
ประวัติศาสตร์
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

เฉลยกระดาษคำตอบ หลังเรียน เรื่อง เวลาและการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากล


ชื่อ..................................................................ชั้ น......................เลขที่.......................
1) 3 6) 2 11) 2
2) 2 7) 4 12) 4
3) 3 8) 1 13) 2
4) 3 9) 4 14) 4
5) 4 10) 2 15) 4

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

เฉลยกระดาษคำตอบ ก่อนเรียน เรื่อง เวลาและการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากล


ชื่อ.............................................................ชั้น......................เลขที่.........................
1) 3 6) 2 11) 2
2) 2 7) 4 12) 4
3) 3 8) 1 13) 2
4) 3 9) 4 14) 4
5) 4 10) 2 15) 4
3

ใบงานที่ 1 : เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
ความรู้เบื้องต้นทางประวัติศาสตร์
1. ประวัติศาสตร์ (History) คือ การศึกษาเรื่องราวและพฤติกรรมของมนุษย์ในอดีต
2. การศึกษาเรื่องราวในประวัติศาสตร์ต้องเข้าใจว่าจะศึกษาเกี่ยวกับ ช่วงเวลาใด(time) และ ณ ที่ใด (space)
ประวัติศาสตร์มีความสำคัญอย่างไรช่วยให้มนุษย์รู้จกั ตัวเอง ให้เกิดความเข้าใจในมรดก วัฒนธรรมของมนุษยชาติ
สามารถนำมาเป็นบทเรียน ในปัจจุบัน หรืออนาคต และประยุกต์ใช้ในกระบวนการแก้ไขปัญหาและวิกฤตการณ์
ต่างๆ ให้คนรู้จักคิดเป็น ไม่หลงเชื่อสิ่งใดง่าย โดยมิได้ไตร่ตรองพิจารณาให้ ถี่ถ้วนเสียก่อน
3. การนับและการเทียบศักราชในประวัติศาสตร์สากล
1) การนับและการเทียบศักราชของโลกตะวันตก
• ก่อนมี ค.ศ. ชาวตะวันตกนับเวลาโดยใช้ปฏิทินจูเลียนและเปลี่ยนมาใช้ ปฏิทินเกรกอเรียน
• คริสต์ศักราช ( ค.ศ. ) ภาษาอังกฤษใช้คำว่า A.D. ย่อมาจาก Anno Domini เริ่มนับ ค.ศ. 1 ตั้งแต่เหตุการณ์
พระเยซูถือกำเนิด
* เหตุการณ์ก่อนพระเยซูประสูติใช้ ก่อนคริสต์ศักราช หรือ B.C. ย่อมาจาก Before Christ
• ศักราชร่วมหรือศักราชสากล ( C.E. ย่อมาจาก Common Era ) ใช้เรียกแทน ค.ศ. สำหรับปีก่อน ค.ศ.ให้
ใช้ก่อนศักราชร่วมหรือก่อนสากลศักราช ( BCE ย่อมาจาก Before Common Era )
* สาเหตุที่ต้องใช้ศักราชร่วมเนื่องจาก เกิดความไม่ชอบใจการนับศักราชตามคริสต์ศาสนา
2) การนับและการเทียบศักราชของโลกตะวันออก
• การนับศักราชแบบจีน
- จีนโบราณนับเวลาในรอบปีด้วยการใช้ปฏิทินแบบ จันทรคติ
- นับศักราชโดยยึดถือ การครองราชย์สมบัติของจักรพรรดิแต่ละพระองค์ เรียกว่า รัชศก
- จีนยังใช้ศักราชที่นำเข้ามาจากภายนอกด้วยเช่น คริสต์ศักราช
- ปัจจุบันจีนนับศักราชแบบ คริสต์ศักราช
• การนับศักราชแบบอินเดีย
- มหาศักราช ( ม.ศ. ) เริ่มต้นการนับในสมัย การขึ้นครองราชย์ของ พระเจ้ากนิษกะ อาณาจักรกุษาณะ
- ปัจจุบันอินเดียนับศักราชแบบ คริสต์ศักราช
• การนับศักราชแบบอิสลาม เรียกว่า ฮิจเราะห์ศักราช ตัวย่อ( ฮ.ศ. ) เริ่มนับ ฮ.ศ. 1 ตั้งแต่เมื่อท่านนบีมุฮัมมัด
กระทำาฮิจเราะห์ (แปลว่าการอพยพโยกย้าย) จากเมืองเมกกะไปยังเมืองเมดินะ
4

ใบงานที่ 2 : เปรียบเทียบยุคสมัยทางประวัตศิ าสตร์


ให้นักเรียนเติมข้อมูลยุคสมัยทางประวัติศาสตร์แต่ละพื้นที่ให้ถูกต้อง ครบถ้วน

ยุคสมัย ประวัติศาสตร์ตะวันตก ประวัติศาสตร์ตะวันออก ไทย


จีน อินเดีย
1. ยุคหิน มนุษย์ปักกิ่ง วัฒนธรรมโซน (Soan) วัฒนธรรมฟิงานอยเอียน
หินเก่า หาของป่าล่าสัตว์ (Sianathropus pekimemsis) รัฐปัญจาบ อินเดีย (Fingnoian Culture) หรือ
วัฒนธรรมแควน้อย
ยุคก่อนประวัติศาสตร์

หินกลาง เวียดนาม ถ้ำผีแมน แม่ฮ่องสอน


ใช้หินขนาดเล็ก Hoabinhian culture
หินใหม่ วัฒนธรรมหยางเชา บ้านเก่า กาญจนบุรี
เพาะปลูก ตั้งถิ่นฐาน ( Yang Shao Culture ) บ้านเชียง อุดรธานี
วัฒนธรรมหลงซาน
( Lung Shan Culture )
2. ยุคโลหะ อารยธรรมสินธุ
ยุคสำริด เมืองฮารัปปา
ทองแดง+ดีบุก เมืองโมเฮน-โจดาโร
ราชวงศ์ชาง
ยุคเหล็ก ราชวงศ์โจว
สมัยโบราณ ราชวงศ์ฉิน สมัยพระเวทตอนต้น สมัยก่อนประวัติศาสตร์ใน
1. อารยธรรมเมโสโปเตเมีย ราชวงศ์ฮั่น (อารยันรุกดราวิเดียน) ดินแดนไทย
2. อารยธรรมอียิปต์ สมัยพระเวทตอนปลาย สมัยรัฐโบราณในดินแดนไทย
3. อารยธรรมกรีก อารยันขยายไปตะวันออก
4. อารยธรรมโรมัน สมัยพุทธกาล
5. อารยธรรมชนกลุ่มน้อย ราชวงศ์เมารยะ
ราชวงศ์กุษาณะ
สมัยกลาง สมัยแตกแยก ราชวงศ์คุปตะ สมัยก่อนสุโขทัย
(สามก๊ก หกราชวงศ์) ยุคกลางของอินเดีย อาณาจักรลังกาสุกะ
ยุคประวัติศาสตร์

ราชวงศ์สุย (แตกเป็นอาณาจักรต่างๆ) อาณาจักรทวารวดี


ราชวงศ์ถัง ราชวงศ์สุลต่าน อาณาจักรโยนกเชียงแสน
สมัยแตกแยก แห่งเดลฮี อาณาจักรตามพรลิงค์
(ห้าราชวงศ์ สิบอาณาจักร) สมัยสุโขทัย
ราชวงศ์ซ่ง (ค.ศ.1249 - 1438)
ราชวงศ์หยวน
สมัยอยุธยา
K.บรมไตรโลกนาถ
(ค.ศ.1448-1488)
สมัยใหม่ ราชวงศ์หมิง(ค.ศ.1500-1800) ราชวงศ์โมกุล สมัยอยุธยา(ค.ศ.1488-1767)
ราชวงศ์ชงิ (ค.ศ.1800-ปัจจุบัน) อังกฤษยึดอินเดีย สมัยธนบุรี(ค.ศ.1767-1782)
(ค.ศ.1858-1947) สมัยรัตนโกสินทร์
อินเดียได้เอกราชและปากีฯ (ค.ศ.1782-ปัจจุบัน)
สมัยปัจจุบัน แยกออกจากอินเดีย
(ค.ศ.1947-ปัจจุบัน)
5

ใบงานที่ 3 : วิธีการทางประวัติศาสตร์
ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้
1. วิธีการทางประวัติศาสตร์หมายถึง วิธีการหรือขั้นตอนที่ใช้ศึกษาค้นคว้าและเรียบเรียงเรื่องราวในอดีต โดยอาศัย
หลักฐานต่าง ๆ เพื่อให้รู้ถึงเรื่องราวในอดีตได้อย่างถูกต้อง สมบรูณ์ และน่าเชื่อถือ
2. วิธีการทางประวัติศาสตร์มีความสำคัญอย่างไร
ทำให้เรื่องราว กิจกรรม เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประวัติศาสตร์มีความน่าเชื่อถือ มีความถูกต้องเป็นความจริง หรือ
ใกล้เคียงความเป็นจริงมากที่สุด
3. วิธีการทางประวัติศาสตร์ 5 ขั้นตอน
1. การกำหนดหัวเรื่องที่ต้องการจะศึกษา
2. การรวบรวมหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
3. การประเมินคุณค่าของหลักฐานที่ได้มา
4. การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และจัดหมวดหมู่ข้อมูล
5. การเรียบเรียงหรือการนำเสนอข้อมูล

หลักฐานทางประวัติศาสตร์

แบ่งตามความสำคัญ แบ่งตามลักษณะ
o หลักฐานชั้นต้น o หลักฐานทีไ่ ม่เป็นลายลักษณ์อักษร
เช่น หลักฐานทางราชการ ภาพถ่าย เช่น โบราณสถาณ โบราณวัตถุ
o หลักฐานชั้นรอง o หลักฐานประเภทลายลักษณ์อักษร
เช่น แบบเรียน ตำรา เช่น ศิลาจารึก พงศาวดาร

คำถาม?
หากท่านเข้าชมพิพิธภัณฑ์มนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ท่านจะไม่พบสิ่งใด
1. เครื่องประดับ
2. อาวุธหินกะเทาะ
3. แผ่นศิลาจารึก
4. หม้อดินเผาสามขา
6

แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
หน่วยที่ 2 เรื่อง : อารยธรรมยุคโบราณ
คำชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว
1. ข้อใดกล่าวถึงอารยธรรมในยุคโบราณคลาดเคลื่อนไป 6. ข้อใดมีความสัมพันธ์กนั
จากความเป็นจริง 1. นครนิเนเวห์=ซูเมเรีย 2.คาลเดีย=บาบิโลนใหม่
1. อารยธรรมกรีกโบราณบูชาเทพเจ้าและเทวีหลายองค์ 3. ซิกกูแรต=ที่ฝังพระศพ 4.ฮัมมูราบี=กฎหมาย12โต๊ะ
2. อารยธรรมเมโสโปเตเมียใช้อักษรลิ่ม(อักษรคูนิฟอร์ม) 5. เนบูคดั เนซซาร์ = บาบิโลนเก่า
3. อารยธรรมกรีกโบราณสร้างเทวรูปเหมือนมนุษย์ 7. ข้อใดเป็นสถาปัตยกรรมเก่าที่สุดในอารยธรรมอียิปต์
4. อารยธรรมอียิปต์โบราณสร้างพีระมิดเก็บศพฟาโรห์ 1. มหาพีระมิดแห่งเมืองกิเซห์ 2. มหาวิหารอาบูซิมเบล
5. อารยธรรมโรมันโบราณสร้างโคลอสเซียมไว้บูชาเทพ 3. สุสานฟาโรห์ตตุ ันคามุน 4.มหาวิหารคาร์นัก
2. จุดเด่นของอารยธรรมอียิปต์โบราณคือข้อใด 5. มหาวิหารกลางทะเลทรายของราชินีฮัตเซบสุต
1. มีการนำต้นกกปาปิรุสมาทำเป็นแผ่นกระดาษ 8. ที่ใดสร้างขึ้นตอบสนองต่อการใช้งานของสาธารณชน
2. มีการแผ่ขยายอิทธิพลของกองทัพไปจนถึงอินเดีย 1. ซิกกูแรตเมืองอูร์ 2. โคลอสเซียมกรุงโรม
3.มีการบูชาเทพเจ้าที่มีพระวรกายเหมือนมนุษย์ทั้งหมด 3. สวนลอยบาบิโลน 4. มหาพีระมิดเมืองกิเซห์
4. มีการเขียนอักษรเป็นรูปภาพลงบนแผ่นดินเหนียวเผา 5. โรงละครกลางแจ้งของกรีกโบราณ
5. มีการสร้างพีระมิดเพื่อเป็นวิหารสำหรับบูชาเทพเจ้า 9. เหตุใดคนในสมัยอารยธรรมจีนจึงนิยมสร้างบ้านเรือนไว้
3. ข้อใดเป็นตำนานหรือประวัติศาสตร์ของอารยธรรมกรีก ใกล้กับแม่นํ้าหวางเหอ
โบราณเกี่ยวข้องกับยุคที่มีความเจริญรุ่งเรืองบนเกาะครีต 1. เพราะอยู่ใกล้วังหลวงของจักรพรรดิ
1. ประวัติศาสตร์สมัยนครรัฐที่สู้รบกับเปอร์เซีย 2. เพราะเป็นที่ดอน นํ้าไม่สามารถท่วมถึงได้
2. ตำนานสงครามกรุงทรอย ซึ่งมีเทพเจ้าเข้าร่วม 3. เพราะพื้นที่เหมาะสมแก่การเพาะปลูก
3. ตำนานมิโนทอร์ที่ถูกขังอยู่ในเขาวงกตใต้พระราชวัง 4. เพราะมีภูเขาล้อมรอบ ช่วยป้องกันพายุถล่มได้
4. ประวัติศาสตร์สมัยนครรัฐซึ่งมีนครรัฐกรีกอยู่มากมาย 5.เพราะเป็นชุมชนที่รวมตัวกันของชาวจีนมากทีส่ ุด
5. ประวัติศาสตร์สมัยพระเจ้าอะเล็กซานเดอร์มหาราช 10. ข้อใดคือสิ่งสำคัญที่เกิดขึ้นในสมัยราชวงศ์ชาง
ขยายอำนาจไปทั่วอาณาเขต 1. ขยายดินแดนจากจีนออกไปจนถึงเอเชียกลาง
4. ข้อใดไม่สัมพันธ์กัน 2. มีการบันทึกเหตุการณ์สำคัญอยู่ในวรรณกรรมไซ่ฮั่น
1. พีทาโกรัส=บิดาแห่งตัวเลข2.ซุส=เทพเจ้าแห่งทะเล 3. สลักตัวอักษรเจี่ยกู่เหวินบนกระดองเต่า/กระดูกสัตว์
3. เอเธนส์=ประชาธิปไตย 4.ทรอย=ม้าโทรจัน 4. แยกแผ่นดินเป็นแคว้นต่าง ๆ แล้วส่งเชื้อพระวงศ์
5. นครรัฐสปาร์ตา = ผู้นำด้านการทหาร ไปปกครอง
5. ข้อใดไม่มสี ว่ นเกี่ยวข้องกับอารยธรรมโรมันโบราณ 5. มีกษัตริย์ปกครองถึง 17 พระองค์ โดยมีการสืบทอด
1. เคยปกครองโดยเหล่าสมาชิกสภา อำนาจถึง 14 ชั่วคน
2. เคยมีช่วงเวลาที่ปกครองโดยองค์พระจักรพรรด
3. มีระบบสาธารณสุขและท่อส่งนํ้าที่มี
4. ในช่วงแรกมีการบูชาเทพเจ้าของศาสนากรีกโบราณ
5. ช่วงหลังประชาชนหันมานับถือศาสนาอิสลามมากขึ้น
7

11. “อาณัติแห่งสวรรค์” จากข้อความนี้ ผู้นำต้องมีลักษณะตรงตามข้อใด


1. สืบทอดเชื้อสายมาจากกษัตริย์เท่านั้น 2. ต้องเก่งเรื่องการรบ การค้า และการต่างประเทศ
3. มีความคิดกว้างไกล ประชาชนยอมรับ 4. ผ่านการออกรบเพื่อขยายอาณาจักรมาไม่น้อยว่า 5 เมือง
5. มีคุณธรรม เป็นที่ไว้วางใจ สามารถปกครองแผ่นดินให้เป็นสุขได้
12. สิ่งใดในประวัติศาสตร์อารยธรรมอินเดียที่เกิดขึ้นก่อนการมาถึงของชนเผ่าอารยัน
1. แคว้นมคธ 2. ระบบวรรณะ 3. เมืองฮารัปปา 4. ตัวเลขฮินดูอารบิก 5. มหาภารตะ
13. ข้อใดที่เกิดขึ้นโดยหลุดพ้นไปจากอิทธิพลของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู และอารยัน
1. คัมภีร์พระมนูธรรมศาสตร์ 2. บทสนทนาในมิลินทปัญหา3. การบูชาพระอินทร์เป็นจอมเทพ
4. การบูชาพระพรหมเป็นองค์มหาเทพ 5. มหากาพย์มหาภารตะและรามายณะ
14. ทัชมาฮัลถูกสร้างขึ้นมาเพื่อสิ่งใดเป็นหลัก
1. สถานที่รองรับเอกอัครราชทูต 2. สุสานของพระนางมุมตัซ มาฮัล
3.แหล่งท่องเที่ยวสำคัญทางเศรษฐกิจ 4. ประกาศความยิ่งใหญ่ของราชวงศ์โมกุล
5. ใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา
15. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการเรียกร้องเอกราชของอินเดีย
1. ได้รับเอกราชในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 2. คานธี เรียกร้องเอกราช โดยยึดหลักอหิงสา
3. ได้รับเอกราชจากอังกฤษพร้อมกับปากีสถาน 4. อินเดียกับปากีสถานแยกออกจากกันหลังได้รับเอกราช
5. ยวาหร์ลาล เนห์รู นายกรัฐมนตรีคนแรกของอินเดียเป็น 1 ในผู้นำเรียกร้องเอกราช
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

กระดาษคำตอบ หลังเรียน เรื่อง เวลาและการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากล


ชื่อ..................................................................ชั้น......................เลขที่.......................
1) 5 6) 2 11) 5
2) 1 7) 1 12) 3
3) 3 8) 2 13) 2
4) 2 9) 3 14) 2
5) 5 10) 3 15) 1
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

กระดาษคำตอบ ก่อนเรียน เรื่อง เวลาและการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากล


ชื่อ.............................................................ชั้น......................เลขที่.........................
1) 5 6) 2 11) 5
2) 1 7) 1 12) 3
3) 3 8) 2 13) 2
4) 2 9) 3 14) 2
5) 5 10) 3 15) 1
8

ใบงานที่ 4 : อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
ให้นักเรียนอ่านข้อความ แล้วทำเครื่องหมาย ✓ หน้าข้อที่ถูก ทำเครื่องหมาย ✗หน้าข้อที่ผิดและแก้ไขข้อความ
ให้ถูกต้อง

___✓__1. อารยธรรมเมโสโปเตเมียเกิดขนในบริเวณทราบลุ่มระหว่างแม่น้ำสำคัญ 2 สาย ได้แก่ แม่น้ำไทกริสและ


แม่น้ำยูเฟรทีส ปัจจุบันพื้นที่ส่วนใหญ่ของอารยธรรมนี้อยู่ในอิรัก
.......................................................................................................................................................................
_✓__2. อาณาจักรซูเมเรียเป็นอาณาจักรแรกในประวัติศาสตร์ของอารยธรรมเมโสโปเตเมีย ซึ่งมีความเก่าแก่ กว่า
อาณาจักอียิปต์
.......................................................................................................................................................................
__✗__3. ซูเมเรียเป็นอาณาจักรขนาดใหญ่ มีเมืองหลวงชื่อ “ซูเมอร์”ซึ่งเป็นศูนย์กลางการปกครองที่มีอำนาจ สูงสุด
...............เป็นนครรัฐ 12 รัฐ แต่ละรัฐปกครองตนเองและเป็นอิสระต่อกัน.....................
_✓___4. อักษรคูนิฟอร์ม หรืออักษรลิ่ม เกิดจากการใช้ไม้แหลมกดลงบนแผ่นดินเหนียว จากนั้นจึงนําไป ตากแดด
หรือนําไปอบด้วยความร้อน
.......................................................................................................................................................................
_✗__5. ชาวซูเมเรียได้ประดิษฐ์คิดค้นระบบ “ล้อและเพลา” และรู้จักการใช้ม้าเทียมรถลาก ซงทำให้ได้เปรียบ ใน
ระหว่างการทำศึกสงคราม
.........ม้าเทียมเป็นของฮิตไตต์.................................................................................................................
__✓__6. ประมวลกฎหมายฮัมมูราบีของชาวบาบิโลนจะยึดหลักการที่ว่า “ตาต่อตา ฟันต่อฟัน”และเน้นการลงโทษ
อย่างรุนแรง
.......................................................................................................................................................................
__✗__7. ประมวลกฎหมายฮัมมูราบีไม่ให้ความสำคัญกับสิทธิสตรี เช่น ผู้ชายมีสิทธิเฆี่ยนตีผู้หญิงได้ ซึ่งประมวล
กฎหมายนี้ได้กลายเป็นต้นแบบของกฎหมายอินเดียในเวลาต่อมา
......ผู้หญิงสามารถฟ้องหย่าสามีได้..................................................................................................
_✓__8. อาณาจักรบาบิโลนเก่าล่มสลายและถูกทำลายลงโดยกองทัพของชาวฮิตไตต์ เพราะชาวฮิตไตต์
เป็นชนกลุ่มแรก ๆ ของโลกที่สามารถหลอมเหล็กขึ้นมาใช้งาน และสร้างเป็นอาวุธต่าง ๆ ได้
.......................................................................................................................................................................
__✗__9. อาณาจักรอัสซีเรียเป็นอาณาจักรที่เชิดชูกษัตริย์ของตนซึ่งเป็นนักบวช ภายหลังถูกทำลายโดยกองทัพฮิต
ไตต์เช่นเดียวกับอาณาจักรซูเมเรีย
......ถูกคาลเดียหรือบาบิโลนใหม่ทำลาย.....................................................................................................
_✓__10. อาณาจักรบาบิโลนใหม่ หรืออาณาจักรคาลเดีย มีผลงานการก่อสร้างที่สำคัญ คือ “สวนลอยบาบิโลน
.......................................................................................................................................................................
9

ใบงานที่ 5 : อารยธรรมอียิปต์
ตอนที่ 1 : ให้นักเรียนเติมข้อความให้ถูกต้อง ครบถ้วน
1. เฮโรโดตุส นักปราชญ์ชาวกรีก กล่าวยกย่องว่า อียิปต์ คือ “อียิปต์เป็นของขวัญจากแม่น้ำไนล์ เพราะ ดินแดนส่วน
ใหญ่ของอียิปต์เป็นทะเลทราย แม่น้ำไนล์ช่วงที่อยู่ในประเทศอียิปต์ มีความยาวกว่าหนึ่งพันสองร้อยกิโลเมตรใต้
จรดเหนือหากไม่มีแม่น้ำไนส์สายนี้หล่อเลี้ยงชุบชีวิตอารยธรรมอันยิ่งใหญ่ของอียิปต์ย่อมไม่ถือกำเนิดขึ้นมาได้
2. ทำเลที่ตั้งเป็นปราการธรรมชาติช่วยป้องกันการรุกรานของศัตรูได้ คือ
ถูกล้อมรอบด้วยทะเลทรายทำให้มีปราการทางธรรมชาติเหมือนโอเอซิสกลางทะเลทราย
ทิศเหนือ ติดกับ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและคาบสมุทรไซนาย
ทิศตะวันตก ติดกับ ทะเลทรายลิเบียและทะเลทรายซาฮารา
ทิศตะวันออกและทิศใต้ ติดกับทะเลทรายนูเบียและทะเลแดง
3. ผลของแม่น้ำไนล์ที่มีต่ออารยธรรมอียิปต์ คือ 2 ฝั่งแม่น้ำไนล์ที่มักมีน้ำท่วมขังเป็นประจำในช่วงฤดูฝน น้ำฝนและ
หิมะทีล่ ะลายจากยอดเขาจะไหลจากต้นแม่น้ำไนล์ และท่วมล้นสองฝั่งแม่น้ำตั้งแต่เดือนกันยายนของทุกปีตะกอน
และโคลนที่น้ำพัด พามาได้กลายเป็นปุ๋ยที่ดีสำหรับการเพาะปลูกบริเวณที่ลุ่มริมฝั่งแม่น้ำ ส่งผลดีต่อการดำรงชีวิต
การประกอบอาชีพ และการสร้างสรรค์อารยธรรมอียิปต์
4. ฟาโรห์ คือ พระมหากษัตริย์แห่งอียิปต์
5. พีระมิด สร้างขึ้นเพื่อเก็บรักษาพระศพของฟาโรห์
6. มัมมี่ คือ การเก็บรักษาศพของคนตายไว้เพื่อรอวันฟื้นคืนชีพอีกครั้ง
7. ศาสนา
- โอซิริส คือ เทพแห่งแม่น้ำไนล์ และเทพแห่งความตาย.
- คัมภีร์มรณะ (Book of the Dead) คือ คัมภีร์ที่อธิบายผลงานและคุณความดีในอดีตของดวงวิญญาณที่
รอรับการตัดสินของเทพโอริซิส
8. ตัวอักษรที่ใช้ในอียิปต์คือ อักษรภาพที่เรียกว่า “อักษรเฮียโรกลิฟิก”(Hieroglyphic)
9. กระดาษปาปิรุส (papyrus) ทำมาจาก ต้นอ้อ
10. วิทยาศาสตร์
- ผลงานด้านดาราศาสตร์ของอียิปต์คือปฏิทิน 1 ปี 12 เดือน 3 ฤดู คือฤดูน้ำท่วม ไถหว่านและเก็บเกี่ยว
- ปฏิทินอียิปต์เป็นอย่างไร 1 ปี 12 เดือน 3 ฤดู คือฤดูน้ำท่วม ไถหว่านและเก็บเกี่ยว
11. ผลงานด้านคณิตศาสตร์ เรขาคณิตของอียิปต์คือ + - X ÷ เรขาคณิต ∆ ¶
12. ผลงานด้านการแพทย์ของอียิปต์คือ การทำมัมมี่ ผ่าตัดกระดูก รู้จักใช้น้ำเกลือล้างแผล ใช้น้ำด่างรักษาแผล
ใช้ฟันปลอมทำด้วยทอง การอุดฟัน การค้นพบว่าหัวใจเป็นศูนย์กลางของระบบหมุนเวียน
13. พีระมิดขนาดใหญ่ที่สุดคือ พีระมิดคูฟูหรือ พีระมิดคีออปส์ นิยมเรียกกันโดยทั่วไปว่า มหาพีระมิดแห่งกิเซห์
14. ประติมากรรมที่มีชื่อเสียงคือ สฟิงค์ (Spinx)
15. การชลประทานในอียิปต์มีลักษณะ ทำคลองส่งน้ำจากแม่น้ำไนล์ เข้าไปยังพื้นที่ที่ห่างจากฝั่ง
10

ตอนที่ 2 : ให้นักเรียนศึกษาเรื่องราวของพีระมิดอียิปต์แล้วตอบคำถามต่อไปนี้
1. นำข้อความต่อไปนี้ ไปเติมใต้รูปที่กำหนดให้ให้ถูกต้อง
หุบเขากษัตริย์ อาบูซิมเบล มาสตาบา
พีระมิดยอดเบี่ยง พีระมิดขั้นบันได หมู่พีระมิดแห่งเมืองกิเซห์

มาสตาบา พีระมิดขั้นบันได พีระมิดยอดเบี่ยง

หมู่พีระมิดแห่งเมืองกิเซห์ หุบเขากษัตริย์ อาบูซิมเบล

ตอนที่ 3 : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
1. เพราะเหตุใดพีระมิดยอดเบี่ยงจึงไม่สามารถทำมุมที่เท่ากันตั้งแต่ส่วนฐานไปจนถึงยอดได้เช่นเดียวกับหมู่พีระมิดแห่ง
เมืองกิเซห์
เพราะพีระมิดยอดเบี่ยงมีองศาที่ลาดชันเกินไป โครงสร้างจึงยุบตัวและเริ่มพังทลายลง จึงสร้างส่วนยอด
ทำมุมต่างจากฐาน จึงทำยอดได้ไม่เหมือนกับพีระมิดเมืองกีเซห์ได้
2. เพราะเหตุใดในยุคหลังชาวอียิปต์จึงไม่นิยมสร้างพีระมิด
เพราะการสร้างพีระมิดใช้เวลานาน สิ้นเปลืองแรงงานทาสและทรัพยากร ไม่สามารถป้องกันโจรปล้น
สุสานได้ ยุคหลังจึงนิยมเจาะหน้าผาทำเป้นสุสานแทน เช่น หุบเขากษัตริย์
3. เพราะเหตุใดชาวอียิปต์จึงให้ความสำคัญกับการสร้างสุสานมาก

ชาวอียิปต์โบราณมีความเชื่ออย่างเคร่งครัดเรื่องโลกหลังความตายและการฟื้นคืนชีพ
11
ให้เพิ่มตัวเลข A-J → เพิ่มตามรางด้านล่าง→ นำ A-J ไปใส่ในตาราง
ตอนที่ 4 : วิเคราะห์ข้อความจากนั้นนําตัวอักษร A - J มาเติมลงในช่องว่างใช้สัมพันธ์ กับยุคสมัยที่กำหนด

__A__เกิดสงครามระหว่างอาณาจักรอียิปต์บนและ อาณาจักรอียิปต์ล่าง __D__มีการก่อสร้างรูปสลักหินขนาด


กระทั่งเมเนสประมุขแห่ง อียิปต์ลา่ งสามารถรวบรวมแผ่นดินใช้เป็น ใหญ่ที่มีศีรษะเป็นคน และลำตัวเป็นสิงโต
ปึกแผ่นทรงสถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นฟาโรห์พระองค์แรก แห่งราชวงศ์ที่ ในท่าหมอบ เรียกว่า“สฟิงส์” ไว้เฝ้า
หนึ่งของอียิปต์โบราณ พิทักษ์คุ้มครองสุสานฟาโรห์ที่เมืองกิเซห์

__B____เหล่าฟาโรห์นยิ มสร้างวิหารสุสานรวมกันหรืออยู่ บริเวณใกล้ๆ


กัน แถบหมู่หุบเขาทางทิศตะวันตก ของแม่น้ำไนล์เป็นเหตุใช้เรียกบริเวณ
__C_สถาปัตยกรรม พื้นที่แถบ นี้ว่า“หุบเขากษัตริย์” โดยมีวิหารสุสานที่ยิ่งใหญ่อลังการหลาย
“สุสานหน้าผา” แห่ง เช่นวิหารสุสานราชินีฮตั เซบสุต และวิหารสุสานฟาโรห์รามเสสที่ 2
ไว้สำหรับเก็บพระศพ
ฟาโรห์เป็นการเจาะ
หน้าผาเข้าไปเป็นอุโมงค์โดยมีการวางผัง __E _กรีกกรีธาทัพเข้าปกครองอียิปต์
เช่นเดียวกับภายในพีระมิดทุกประการแต่ _F_ยุคแห่งความ และสถาปนาเมืองหลวงใหม่ชื่อว่า
ประหยัดเวลา กำลังคน และทรัพยากร สับสนวุ่นวายตลอด “อะเล็กซานเดรีย” พร้อมทั้งสถาปนา
มากกว่าการสร้างพีระมิดมาก ระยะเวลารวม 700 ปี ราชวงศ์อียิปต์ภายใต้การปกครองกรีก
ที่แทบหาความสงบสุข เรียกว่า
_G__เกิดวิทยาการใหม่ที่อียิปต์ไม่เคยรูม้ า ไม่ได้ เนื่องจากขุนนางและเจ้าเมืองแข็งข้อ “ราชวงศ์ปโตเลมี”
เกิดการรบและเกิดการกบฏขึ้นหลายครั้ง สมัยราชวงศ์ต้น
ก่อน เช่นการใช้ม้าศึก การสร้างรถศึก และ
ทั้งยังมีศึกระหว่างพวกอารยันกับบาบิโลน
อาวุธที่ทำจากโลหะ ทำให้อียิปต์พลิกฟื้น
และถูกชนเผ่าฮิกซอสรุกรานอีกด้วย
กลับมาสู่ความรุ่งเรืองทั้งทางศิลปวิทยาการ
และการทหารอีกครั้ง
และถูกชนเผ่าฮิกซอส
_H__อียิปต์ตก __I__เกิดการพัฒนาระบบตัวอักษรภาพ
รุกรานอีกด้วย __J__เกิดการสร้าง
อยู่ภายใต้ ที่เรียกว่า“ไฮโรกลิฟิก”
พีระมิดขึ้นเป็นครั้งแรก
การปกครองของ หรือ “สัญลักษณ์ศักดิ์สิทธิ์”
และมีพรี ะมิดเกิดขึ้น
จักรวรรดิโรมัน ซึ่งมีลักษณะเป็นอักษรภาพ
มากกว่า 20 แห่ง
อย่างยาวนาน จารึกในแผ่นศิลา
รวมทั้งหมู่พีระมิดแห่งกิเซห์ที่มีชื่อเสียง
จนกระทั่งจักรวรรดิโรมันล่มสลาย กองทัพ หรือฝาผนังหิน
โดยยุคนี้ถือเป็นยุคของการสร้างพีระมิด
มุสลิมเข้ายึดครองอียิปต์ทั้งหมดถือเป็นการดับ ขนาดใหญ่
อย่างแท้จริง
สูญของอาณาจักรอียิปต์โบราณนับแต่นั้นมา

1. ราชวงศ์ต้น 2. อาณาจักรเก่า 3. อาณาจักรกลาง 3. อาณาจักรใหม่ 3. อาณาจักรสุดท้าย


A, I D, J C, F B, G E, H
12

ใบงานที่ 6 : อารยธรรมกรีก
ให้นักเรียนเติมคำลงในช่องว่างให้ถูกต้อง ครบถ้วน
1. พระราชวัง …คนอสซุส….. เป็นพระราชวังสำคัญในสมัยอารยธรรมมิโนนบนเกาะครีต เป็นสถานที่
สำหรับบริหารราชการและประกอบพระราชพิธีสำคัญต่าง ๆ

2 ลักษณะบ้านเมืองในอารยธรรมไมซินี มีลักษณะที่แตกต่างไปจากอารยธรรมมิโนนบนเกาะครีต เนื่องจาก


มีการสร้าง …ป้อมปราการ.. ไว้เพื่อป้องกันการรุกรานของข้าศึก

3 มหากาพย์เรื่อง …อิเลียด….. เป็นเรื่องราวของวีรชนในสงครามโทรจัน ซึ่งเป็นสงครามใหญ่ที่


กองทัพของบรรดาชาวกรีกมากมายหลายหัวเมืองรวบรวมกองทัพ เพื่อบุกไปตีกรุงทรอยจนได้รับชัยชนะ

4 อารยธรรม …เฮเลน…….. เป็นอารยธรรมกรีกโบราณในยุคคลาสสิก ซึ่งยุคนี้ได้มีนครรัฐกรีกที่สำคัญ


เกิดขึ้นอย่างมากมาย เช่น เอเธนส์ สปาร์ตา แต่ก็ยังคงอยู่ในวัฒนธรรมกรีกเหมือนกัน

5 ยุค …เฮเลเนิสติก….. เป็นยุคที่บรรดาหัวเมืองกรีกตกอยู่ใต้อำนาจของอาณาจักรมาซิโดเนียของพระเจ้า


อะเล็กซานเดอร์มหาราช ซึ่งทรงนำทัพขยายอำนาจไปจนถึงอียิปต์ เมโสโปเตเมีย เปอร์เซีย และอินเดีย

6 สตรีชาวครีตันได้รับการยกย่องให้ทัดเทียมเท่ากับบุรุษ ซึ่งจะเห็นได้จากการเคารพบูชาเทพีที่สำคัญ คือ


……เทพมารดา…….. ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นต้นแบบของการสร้างเทพีอะธีนา ดีมิเตอร์ และอะโฟรไดต์

7 อารยธรรมไมซินีสามารถพบได้ทั่วไปในคาบสมุทร …เพโลพอนนีซัส….. ซึ่งเป็นคาบสมุทรสำคัญทางตอนใต้


ของแผ่นดินใหญ่กรีซ มีเมืองสำคัญตั้งอยู่มากมาย เช่น เมืองสปาร์ตา

8 มหากาพย์เรื่อง ……โอดิสซีย์….. เป็นภาคต่อจากเหตุการณ์ของวีรชนในสงครามโทรจัน เป็นเรื่อง


ราวหลังจากที่ชาวกรีกบุกไปตีกรุงทรอยจนได้รับชัยชนะ และต้องผจญภัยต่าง ๆ จนกว่าที่จะกลับถึง
แผ่นดินกรีซได้

9 ในช่วงอารยธรรมกรีกยุคคลาสสิกนั้น นครรัฐเอเธนส์มีการสร้าง ……อะโครโพลิส….. ขึ้นบนเนินสูง


ของเมือง ซึ่งเป็นเสมือนป้อมปราการในการดูแลเมืองยามเกิดสงคราม

10 เมื่อพระเจ้าอะเล็กซานเดอร์มหาราชทรงนำทัพขยายดินแดนไปถึงอียิปต์โบราณ มีการสร้างเมือง
…อะเล็กซานเดรีย….. ขึ้นที่ปากแม่นํ้าไนล์ เพื่อเชิดชูพระองค์ และเป็นศูนย์กลางการค้าและวัฒนธรรม
อีกด้วย
13

ใบงานที่ 7 : อารยธรรมโรมัน
ตอนที่ 1 : ศึกษาประวัติศาสตร์อารยธรรมโรมัน สรุปประเด็นสำคัญ พร้อมบันทึกข้อมูล คะแนนเต็ม
สมัยสาธารณรัฐ สมัยสาธารณรัฐ
ศาสนา ศาสนา
บูชาเทพเจ้า(อิทธิพลจากกรีก) บูชาเทพเจ้าและศาสนาคริสต์

รูปแบบการปกครอง รูปแบบการปกครอง
ระยะแรก ปกครองโดยระบอบจักรวรรดิ
ปกครองระบอบกษัตริย์ (อิมพิเรียม) (สมบูรณาญาสิทธิราชย์) มีจักรพรรดิเป็นประมุข
มีสภาซีเนตหรือสภาขุนนางเป็นที่ปรึกษา เหตุการณ์สำคัญ
ระยะหลัง 1. .การสร้างถนนเพื่อลำเลียงสินค้าและทหาร
ปกครองแบบสาธารณรัฐ แบ่งอำนาจปกครองเป็น 2. พลเมืองใต้การปกครองของจักรวรรดิโรมันพูด
3ฝ่าย = วุฒิสภา สภาสามัญ และคณะกงสุล ภาษาเดียวกันหมดคือ ภาษาละติน
3. ประสบปัญหาเศรษฐกิจ สังคมและความขัดแย้ง
เหตุการณ์สำคัญ ภายใน เกิดเป็นสงครามทั่วอาณาจักร
1. ความขัดแย่งระหว่างราษฏร(เพลเบียน)กับชน 4. การแบ่งจักรวรรดิโรมันออกเป็น
ชั้นปกครอง(พาทรีเซียน) โรมันตะวันออกกับโรมันตะวันตก
2. การเรียกร้องสิทธิทางการเมืองของเพลเบียน 5. การเผยแผ่ศาสนาคริสต์
3. การออกกฎหมาย 12 โต๊ะ 6. การสถาปนาเมืองหลวงแห่งใหม่ทไี่ บแซนไทน์
4. การทำสงครามพิวนิค (กรุงคอนสแตนติโนเปิล)
5. การรบชนะคาร์เทจ ขยายอำนาจ ครอบครอง 7. การรุกรานของพวกอนารยชน
และผูกขาดการค้าในแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน 8. การล่มสลายของจักรวรรดิโรมันตะวันตก
...................................
14
ตอนที่ 2 : ให้นำเรียนเติมคำให้ถูกต้อง ครบถ้วน

แก้ลูกศร!!!
เฮร่า(HERA)
ชื่อโรมัน จูโน เป็นน้องสาว
และภรรยา ของซุส
ซีมีล(ี SEMELE) มีทีส(METIS) ลีโต(LETO)
ซุส(ZEUS)
ชื่อโรมันลาโตนา(Latona)
ชื่อโรมัน จูปิเตอร์
เทพแห่ง สายฟ้า

แอโฟรไดที (Aphrodite) อะธีนา(Athena)


ไดโอเนซัส (Dionysus) ชื่อโรมันมิเนอร์วา(Minerva)
ชื่อโรมัน วีนสั (Venus) แก้เป็น!เฮอร์เมส (Hermes)
ชื่อโรมันแบคคัส (Bacchus) เป็นเทพีแห่งปัญญา
เป็นเทพแห่ง ไวน์หรือ ฮิฟีสตัส (Hephaestus) ชื่อโรมันเมอร์คิวรี่ (Mercury)
เอรีส (Ares) การสงคราม ความฉลาด
เทพแห่งเมรัย ชื่อโรมัน วัลแคน Vulcan เป็นเทพเจ้าแห่ง การค้า
ชื่อโรมัน มาส์ (Mars) เป็นเทพแห่ง ช่างตีเหล็ก
เป็นเทพแห่ง สงคราม

เอียรอส (Eros) อะพอลโล (Apollo) แก้เป็น! อาร์ทิมสิ (Artemis)


ชื่อโรมัน คิวปิด (Cupid) ชื่อโรมันอะพอลโล (Apollo) ชื่อโรมันไดแอนา ( Diana)
เป็นเทพแห่งความปรารถนา เป็นเทพีแห่งดวงอาทิตย์ เป็นเทพีแห่ง การล่าและพระจันทร์
ศิลปวิทยาการและการธนู
15

ตอนที่ 3 : พิจารณาข้อความที่กำหนดให้แล้วเติมอักษรลงในตารางให้ถูกต้อง ครบถ้วน


เพิ่มช่องตาราง
1. มหากาพย์ชิ้นเอกของเวอร์จิล (Virgil) ว่า
ด้วยความเป็นมาของกรุงโรมและแทรกคำสอน อิ เ ลี ย ด
เกี่ยวกับหน้าที่ของพลเมืองต่อจักรวรรดิ
2. นักพูด นักเขียนและนักการเมืองคนสำคัญ
ของโรมันที่สนับสนุนหลักการสาธารณรัฐ เ พ ล โ ต

3. สนามกีฬาและการต่อสู้โดยดัดแปลงมาจาก
โรงละครกลางแจ้งของกรีก โ ค ล อ ส เ ซี ย ม

4. ซีซาร์(จักรพรรดิ)องค์แรกของจักรวรรดิ
โรมัน อ อ กุ ส ตุ ส

5. วิหารที่งดงามและถือเป็นสถาปัตยกรรมชิ้น
เอกของโรมันมีลักษณะเด่นคือหลังทรงโดม แ พ ท ธิ อ อ น
ขนาดใหญ่
6. จักรพรรดิผู้ทรงยอมรับคริสต์ศาสนาเป็น
ศาสนาประจำจักรวรรดิและทรงให้สร้างกรุง ค อ น ส แ ต น ติ น
คอนสแตนติโนเปิลเป็นเมืองหลวงอีกแห่งหนึ่ง
7. คณะผู้แทนของพวกเพลเบียน ที่คอยดูแล
รักษาผลประโยชน์ของพวกเพลเบียนจากการ ท รี บู น
เอารัดเอาเปรียบจากพวกพาทริเซียน
8. ผลงานโดดเด่นด้านวิศวกรรม สร้างขึ้นเพื่อ แก้ไขเส้น
ส่งน้ำจำนวนมากให้แก่ชาวเมือง ท่ อ ส่ ง น้ำ โ ร มั น

9. ชื่อสงคราม ซึ่งเป็นการเผชิญหน้ากัน
ระหว่างอาณาจักรคาร์เทจของพวกฟินีเชียกับ ส ง ค ร รา ม พิ ว นิ ค
โรมัน
10. ชื่อกฎหมายลายลักษณ์อักษรของโรงมัน
จารึกลงในแผ่นสำริดจำนวน 12 แผ่น ก ฎ ห ม หา ย สิ บ ส อ ง โ ต๊ อะ
16

ใบงานที่ 8 : อารยธรรมจีน
ให้นักเรียนเติมคำในช่องว่างแล้วนำหมายเลข 1-10 เรียงตามลำดับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์จีน
ลำดับที่ เหตุการณ์สำคัญ

....3....เมื่อราชวงศ์โจวได้ขึ้นครองอำนาจ เกิดความเชื่อเรื่อง อาณัติแห่งสวรรค์ โดยเชื่อว่าจักรพรรดิต้อง


ปกครองบ้านเมืองให้สงบสุข หากปกครองไม่ดีสวรรค์จะเพิกถอนอาณัติ และให้ผู้ที่มีคุณธรรมและมี
ความสามารถมากกว่ามาตั้งราชวงศ์ใหม่ขึ้นปกครองแทน
…...6….เส้นทางสายไหม เป็นเส้นทางที่เชื่อมการติดต่อค้าขายและการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมระหว่างจีนกับ
โลกตะวันตก ถูกบุกเบิกโดย ……จางเชียง….. ขุนนางจีนคนสำคัญในสมัยราชวงศ์ฮั่น
... 1...... …วัฒนธรรมหยางเชา.. เป็นวัฒนธรรมที่มีความเจริญมากในยุคแรกของจีน และมีการขุดพบหลักฐาน
กาสร้างเครื่องปั้นดินเผาลายเขียนสีขึ้นด้วย
... 4.... ปลายสมัยราชวงศ์โจว จีนแตกแยกออกเป็นหลายแคว้น และเกิดลัทธิความเชื่อขึ้นหลายลัทธิ เช่น
…ลัทธิขงจื๊อ.. เน้นสอนเรื่องคุณธรรม จริยธรรม การปฏิบัติตนตามสถานภาพให้เหมาะสม
…ลัทธิเต๋า…… เน้นการปฏิบัติตนตามวิถีธรรมชาติ ใช้ชีวิตอย่างสันโดษ สำรวม และสมถะ
.. 9..... …กุบไลข่าน….. ผู้นำกองทัพชาวมองโกลที่สามารถบุกเข้ายึดครองแผ่นดินจีน และได้มีการ
ก่อตัง้ ราชวงศ์หยวนขึ้นมาใหม่
. 10... ช่วงปลายสมัย …ราชวงศ์ชิง(แมนจู)… อารยธรรมจากตะวันตกทางด้านการเมืองการปกครอง
และระบอบประชาธิปไตย มีอิทธิพลทำให้เกิดการปฏิวัติล้มล้างระบอบจักรพรรดิลงไปในที่สุด
.... 2.... วัฒนธรรมหลงซาน.. เป็นวัฒนธรรมในยุคโลหะสำริด มีการอยู่รวมกันเป็นชุมชนใหญ่ โดยจะมี
กำแพงล้อมรอบไว้ทุกด้าน
... 7..... ปลายสมัยราชวงศ์ฮั่น จีนเกิดการแตกแยกภายในอาณาจักรอย่างรุนแรง กลายเป็น สมัยสามก๊ก
และในช่วงแตกแยกนี้เอง พระพุทธศาสนานิกายมหายานที่มาจากอินเดียก็เจริญรุ่งเรืองมากขึ้นในจีน
.. 8... สมัยราชวงศ์ถัง อารยธรรมจีนได้เจริญรุ่งเรืองขึ้นเป็นอย่างมากจนถือเป็นยุคทอง โดย
นครหลวงฉางอาน(ซีอาน) เป็นนครหลวงสมัยราชวงศ์ถัง ได้ชื่อว่าเป็นศูนย์กลางของโลกยุคนั้น
. 5. สมัยราชวงศ์ฉิน ภายใต้อำนาจเบ็ดเสร็จของ ฉินสื่อหวงตี้(จิ๋นซีฮ่องเต้) เป็นยุคที่มีการสร้างกำแพง
เมืองจีนอันยิ่งใหญ่ขึ้น เพื่อเป็นเส้นแบ่งระหว่างคนจีนกับชนกลุ่มน้อยที่อยู่นอกกำแพง
17

ใบงานที่ 9 : อารยธรรมอินเดีย
ให้นกั เรียนเรียงลำดับเหตุการณ์ก่อน-หลัง แล้วเติมหมายเลข 1-10 มาเติมลงในช่องว่างให้สัมพันธ์กัน แล้ว
เรียงลำดับเหตุการณ์ตามประวัติศาสตร์อินเดีย
... 10....เมื่อรัฐบาลอังกฤษเข้าปกครองอินเดีย ได้มีการยกเลิกประเพณีที่ล้าหลัง รวมถึงมีการสร้างทาง
รถไฟขึ้นอีกหลายสาย

.. 1... อารยธรรมยุคโลหะ ถูกสร้างขึ้นโดยชนเผ่าดราวิเดียน(Dravidian)หรือทมิฬ ซึ่งอยู่มาก่อนชนผิวขาว

... 7.. พระเจ้าอักบาร์มหาราช หรือ “จักรพรรดิอักบาร์”เป็นผู้ที่ทรงมีขันติธรรมและให้ความเท่าเทียมกัน


ในการนับถือศาสนา

... 6.... พระเจ้าจันทรคุปต์ได้ก่อตั้งราชวงศ์แรกของอินเดียขึ้น จักรพรรดิองค์สำคัญคือพระเจ้าอโศก


มหาราช ในระยะแรกได้ขยายดินแดนให้กว้างใหญ่ ต่อมาได้ทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรือง

.. 4... พระเวทเป็นคัมภีร์ของชาวอารยัน ประกอบด้วยฤคเวท ยชุรเวท สามเวท และอาถรรพเวท


เทพเจ้าสำคัญของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู เช่นพระพรหมพระวิษณุ พระศิวะ

.... 3....ชาวอารยันที่บุกรุกเข้ามาในอินเดียมีลักษณะผิวขาว จมูกโด่ง รูปร่างสูงใหญ่ เมื่อชาวอารยันได้เข้ายึด


ครองอินเดียได้แล้วก็กดชนพื้นเมืองลงเป็นทาส และทำให้เกิด “ระบบวรรณะ” ขึ้น

... 2 .....ชนพื้นเมืองในลุ่มแม่นํ้าสินธุ ผิวดำเข้มสันทัด เชื่อกันว่าพวกเขาสร้างเมือง โบราณโมเฮนโจ - ดาโร


และฮารัปปาขึ้น แต่ก็ไม่ได้มีบันทึกไว้อย่างชัดเจน

.. 5..... มหากาพย์เรื่อง“มหาภารตะ”กล่าวถึงมหาสงครามที่ทุ่งกุรุเกษตรของ2ราชวงศ์ที่มีความขัดแย้งกัน
ส่วนเรื่อง “รามายณะ”กล่าวถึงการทำสงครามระหว่างฝ่ายลิงกับฝ่ายยักษ์

. 8...... ราชวงศ์ โมกุลเป็นราชวงศ์อิสลามที่ได้ปกครองอินเดีย ผลงานสถาปัตยกรรมที่มีความงดงามมากและ


เกิดขึ้นในสมัยราชวงศ์นี้ คือ ทัชมาฮัล

.. 9..... ภายหลังที่ราชวงศ์ โมกุลหมดอำนาจลง รัฐบาลอังกฤษได้แต่งตั้งข้าหลวงใหญ่ หรืออุปราชจาก


อังกฤษเข้ามาปกครองอินเดีย
18

แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
หน่วยที่ 3 เรื่อง พัฒนาการสมัยกลาง
คำชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว
1. ข้อใดคือสาเหตุสำคัญที่ทำให้ขุนนางในยุโรปสมัย 5. การค้าในยุโรปฟื้นตัว ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
กลางมีอำนาจเหนือกษัตริย์ ต่อระบอบการปกครองแบบฟิวดัลตามข้อใด
1. สงครามครูเสด 1. อัศวินถูกให้ความสำคัญมากขึ้นและถือเป็นอาชีพ
2. สันตะปาปามีอิทธิพลมาก ที่มีเกียรติ
3. คริสตจักรมีอิทธิพลมาก 2. วัสซัลให้เงินตอบแทนแก่ลอร์ดแทนการเข้ารับ
4. การเฟื่องฟูของระบอบศักดินาสวามิภักดิ์ ใช้ ในกองทัพของลอร์ด
5. การยกเลิกตำแหน่งจักรพรรดิโรมันตะวันตก 3. บุตรหลานของลอร์ดทุกคนที่เป็นชายต้องเข้ารับ
2. หลังสงครามครูเสดสิ้นสุดลง ได้ก่อให้เกิดผลกระทบ การฝึกเป็นอัศวิน
ต่อดุลอำนาจทางการเมืองการปกครองของยุโรป 4. วัสซัลจะต้องจัดตั้งเขตแมเนอร์ของตนเองเมื่อ
อย่างไร ได้รับที่ดินจากลอร์ดไปถือครอง
1. กษัตริย์มีอำนาจมากขึ้น 5. สังคมฟิวดัลถูกแบ่งออกเป็น 3 ฐานันดร โดยมี
2. ขุนนางมีอำนาจมากขึ้น พระราชวงศ์และนักบวชเป็นฐานันดรที่ 1
3. เกิดรัฐอิสระในยุโรปจำนวนมาก 6. เพราะเหตุใดคริสตจักรจึงมีบทบาทต่อการดำรงชีวิต
4. พระสันตะปาปาได้เป็นประมุขคริสตจักร ของชาวยุโรปในสมัยกลางอย่างมาก
5. อำนาจสมบูรณาญาสิทธิราชย์เสื่อมความนิยมลง 1. มีพิธีกรรมทางศาสนามากในยุคนั้น
3. เหตุใดกรุงคอนสแตนติโนเปิลถูกกองทัพเติร์กตีแตก 2. ป้องกันการแทรกแซงของศาสนาอื่น
จึงส่งผลให้การฟื้นฟูศิลปวิทยาการในตะวันตกขยายตัว 3. เป็นสื่อกลางระหว่างมนุษย์กับพระเจ้า
1. เพราะตะวันตกมีการแข่งขันด้านการค้าที่สูงมาก 4. เข้าควบคุมพฤติกรรมของคนในสังคม
2. เพราะนักปราชญ์ชาวกรีกได้อพยพเข้ามายัง 7. ชนเผ่าใดที่มีอำนาจที่สุดในสมัยกลางระยะต้น
คาบสมุทรอิตาลี 1. ชนเผ่าแฟรงก์ 2. ชนเผ่าลอมบาร์ด
3. เพราะกองทัพชาวมุสลิมได้เข้ามาฟื้นฟูศิลปวิทยา 3. ชนเผ่าเบอร์กันเดียน 4.ชนเผ่าแองโกลแซกซัน
การในตะวันตก 8. เจ้านายชั้นสูงสุดของระบบฟิวดัลคือใคร
4. เพราะสันตะปาปาย้ายสำนักไปที่เมือง 1. ทหาร 2. ขุนนาง 3. นักบวช 4. กษัตริย์
อาวิญงในฝรั่งเศส 9. จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์เสื่อมลงเพราะอะไร
5. เพราะตะวันตกยังอยู่ภายใต้อำนาจของศาสนจัก 1. การเกิดรัฐชาติ
4. เหตุการณ์ ใดในสมัยกลางที่เกิดขึ้นเป็นลำดับแรก 2. เศรษฐกิจตกต่ำ
1. โยฮันน์ กูเตนเบิร์ก จัดพิมพ์คัมภีร์ไบเบิล 3. ระบบฟิวดัลหมดไป
2. การจัดตั้งมหาวิทยาลัยโบโลญญาในอิตาลี 4. จักรพรรดิเยอรมันกับสันตะปาปาแย่งอำนาจกัน
3. มาร์โค โปโล เดินทางไปค้าขายและพำนักในจีนล 10. ข้อใดไม่ใช่ผลกระทบของสงครามครูเสด
4. มาคีอาเวลลี เขียนหนังสือเรื่อง The Prince 1. การค้าขยายตัว
5. พวกเติร์กเข้ายึดครองนครเยรูซาเล็มที่เป็นนคร 2. ขุนนางมีอิทธิพลมากขึ้น
ศักดิ์สิทธิ์ของชาวคริสต์ 3. เมืองต่าง ๆ กลายเป็นศูนย์กลางการค้า
4. ชนชั้นผู้นำฟื้นฟูอารยธรรมกรีก–โรมัน
19

11. สงครามร้อยปีเป็นสงครามระหว่างชาติใด 14. สถาปัตยกรรมศิลปะกอทิกมีลักษณะอย่างไร


1. อิตาลีกับตุรกี 2. ฝรั่งเศสกับสเปน 1. ทึบตัน 2. กะทัดรัด
3. เยอรมันกับอิตาลี 4. อังกฤษกับฝรั่งเศส 3. โปร่งบาง 4. แข็งแกร่ง
12. วีรกรรมของโจนออฟอาร์คในสงครามร้อยปี 15. มหากาพย์มีเนื้อหาเกี่ยวกับอะไร
ก่อให้เกิดแนวความคิดอะไรในฝรั่งเศส 1. ความรักแบบเทิดทูน
1. เสรีนิยม 2. ชาตินิยม 2. สภาพสังคมสมัยกลาง
3. มนุษยนิยม 4. ปัจเจกชนนิยม 3. วีรกรรมของวีรบุรุษในอดีต
13. เมื่อสมัยกลางสิ้นสุดลงสภาพสังคมยุโรป 4. ความจงรักภักดีของอัศวินต่อเจ้าและขุนนาง
เปลี่ยนแปลงไปอย่างไร
1. ชนชั้นกลางเพิ่มมากขึ้น
2. ชาวนาและช่างฝีมือมีน้อยลง
3. พ่อค้ามีอำนาจทัดเทียมกับขุนนาง
4. ถูกทุกข้อ
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

กระดาษคำตอบ หลังเรียน เรื่อง เวลาและการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากล


ชื่อ..................................................................ชั้น......................เลขที่.......................
1) 4 6) 3 11) 4
2) 1 7) 1 12) 2
3) 2 8) 4 13) 1
4) 5 9) 4 14) 3
5) 2 10) 2 15) 3

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-----

กระดาษคำตอบ ก่อนเรียน เรื่อง เวลาและการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากล


ชื่อ.............................................................ชั้น......................เลขที่.........................
1) 4 6) 3 11) 4
2) 1 7) 1 12) 2
3) 2 8) 4 13) 1
4) 5 9) 4 14) 3
5) 2 10) 2 15) 3
20

ใบงานที่ 10 : พัฒนาการสมัยกลาง
ให้นักเรียนเขียนอธิบายเหตุการณ์สำคัญต่อไปนี้

ยุคมืด (Dark Ages) อัศวิน(Knight)

เป็นยุคที่สังคมและวัฒนธรรมยุโรปเสื่อม ชนชั้นที่เชี่ยวชาญด้านการ ซึ่งเป็นลูกของ


โทรมลงหลั ง การล่ ม สลายของจั ก รวรรดิ โ รมั น ขุนนางในสังคมศักดินาสวามิภักดิ์ของยุโรปในสมัย
อยู่ใ นช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 16 :ซึ่งปกครองแบบ กลาง
ฟิลดัล โดยอำนาจการปกครองอยู่ในมือขุนนางและ
อัศวิน

ระบบแมนเนอร์(Manorial System)

ระบบการแบ่งเขตการปกครองของขุนนาง ครูเสด (Crusades)


ประกอบด้วย
ปราสาทของขุนนางเจ้าของที่ดิน สงครามระหว่างชาวคริสต์กับมุสลิม
ที่ตั้งของหมู่บ้าน เป็นที่พักอาศัยของ ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 11-13 มีสาเหตุมาจาก
ชาวไร่ชาวนาและทาสติดที่ดิน ต้องให้ความเคารพ ชาวคริสต์ต้องการดินแดนที่มุสลิมยึดครองไป
เชื่อฟังลอร์ด เพื่อตอบแทนสิทธิที่ได้ใช้พื้นดินใน กลับคืนมา
การทำเกษตรกรรมและลอร์ดต้องให้ความคุ้มครอง
แก่วัสซัล

ระบบฟิวดัล(Feudalism) เยรูซาเล็ม (Jerusalem)


เป็นระบบการปกครองแบบกระจายอำนาจ โดยมี นครศักดิ์สิทธิ์ของ 3 ศาสนาได้แก่ คริสต์
ลอร์ด(load)ให้ที่ดินแก่วัสซัล(Vasal) ซึ่งวัสซัล อิลามและยูดาย ทำให้ผู้นับคือแต่ละฝ่ายต่างแย่ง
ชิงดินแดนนี้ไปครอบครอง กิดเป็นสงครามครูเสด
21

ใบงานที่ 11 : ระบอบฟิวดัล
ให้นักเรียนดูภาพจำลองภายในแมเนอร์ในระบอบฟิวดัล แล้วตอบคำถามที่กำหนดให้ถูกต้อง

ภาพจำลองภายในแมเนอร์ ในระบอบฟิวดัล

1. ให้นักเรียนระบุตำแหน่งตามหมายเลขต่อไปนี้
หมายเลข 1 คือ ปราสาทของขุนนางเจ้าของที่ดิน
หมายเลข 2 คือ หมู่บ้านของชาวนาและทาสติดที่ดิน
หมายเลข 3 คือ ทุ่งนา
หมายเลข 4 คือ โบสถ์
หมายเลข 5 คือ ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์

2. ภายในแมเนอร์ หมายเลข 1 และ 2 มีความสัมพันธ์กันอย่างไร


ในระบอบฟิวดัล ขุนนางเจ้าของแมเนอร์และชาวนาและทาสติดที่ดินจะมีภาระผูกพันกันและกัน
กล่าวคือ ขุนนางจะให้ความคุ้มครองและให้ที่อยู่อาศัยแก่ชาวนาและทาสติดที่ดินในแมเนอร์ของตน
ส่วนชาวนาและทาสติดที่ดินจะตอบแทนขุนนางโดยเป็นผู้ทำไร่ ไถนาบนที่ดินของขุนนาง และทำงาน
บริการอื่นๆ เช่น สร้างถนน บ่อน้ำ สะพาน โรงสี เป็นต้น
22

3. หมายเลข 4 มีความสำคัญต่อสังคมฟิวดัลอย่างไร
โบสถ์เป็นศูนย์กลางของชุมชน มีอยู่ทุกแมเนอร์ โดยจะมีบาทหลวงท าหน้าที่สั่งสอนอบรม
จิตใจผู้คนที่อาศัยอยู่ในแมเนอร์ รวมทั้งใช้เป็นสถานที่ในการประกอบพิธีกรรมทางศาสนา
และสวดมนต์ภาวนา

4. ระบอบฟิวดัลส่งผลต่อ การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจและสังคมในสมัยกลางอย่างไร

ด้านการเมืองการปกครอง
ระบบฟิวดัลเป็นรากฐานการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น ซึ่งเป็นรูปแบบของการปกครอง
ท้องถิ่นของดินแดนต่างๆ ในยุโรป นอกจากนี้เมื่อระบบฟิวดัลล่มสลาย กษัตริย์สามารถสถาปนา
อำนาจทางการเมืองได้อย่างมั่นคง ทำให้เกิดการสร้างรัฐชาติและพัฒนาเป็นประเทศในเวลาต่อมา

ด้านเศรษฐกิจและสังคม
ในช่วงปลายระบบฟิวดัล เศรษฐกิจมีการขยายตัวสูงขึ้นมาก ทำให้เกิดชนชั้นกลางซึ่งเป็นกลุ่ม
พ่อค้าและพวกช่าง เรียกว่า ชนชั้นกระฏุมพี หมายถึง ชนชั้นที่เป็นอิสระไม่อยู่ในระบบแมนเนอร์แล้ว
ได้รวมตัวกันจัดตั้งสมาคมช่างฝีมือหรือสมาคมอาชีพเพื่อพัฒนาแรงงานและคุณภาพสินค้า ซึ่งมี
บทบาทสำคัญในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ นอกจากนี้ที่ดินของขุนนางได้เปลี่ยนมาเป็นที่ดินของนายทุน
ส่งผลให้การเกษตรกรรมเปลี่ยนแปลงการผลิตใหม่มาเป็นการส่งออกตลาดแทน มรดกทางวัฒนธรรม
ของระบบฟิวดัลที่มีต่อยุโรปคือตำแหน่งขุนนาง เช่น ดุ๊ก เคานส์ บารอน เอิร์ล

5. ในปัจจุบันอิทธิพลของระบอบฟิวดัลยังคงเหลือให้เห็นอยู่หรือไม่ อย่างไร

ยังคงหลงเหลือให้เห็นอยู่ในปัจจุบัน โดยจะเป็นอิทธิพลทางวัฒนธรรม ดังจะเห็นได้จากตำแหน่ง


ของขุนนางต่างๆ เช่น ดยุค (Duke) ดัชเชส (Duchess) มาควิส (Marquess) เอิร์ล (Earl) ไวส์เคานต์
(Viscount) บารอน (Baron) เซอร์ (Sir) เป็นต้น รวมทั้งข้อปฏิบัติของอัศวินที่ต้องให้เกียรติและปกป้อง
คุ้มครองสตรี
23

ใบงานที่ 12 : สงครามในสมัยกลาง
ให้นักเรียนวิเคราะห์ประเด็นคำถามเกี่ยวกับสงครามครูเสดให้ถูกต้องและได้ใจความ
สาเหตุทางการเมือง สาเหตุทางศาสนา
ความขัดแย้งเรื่องดินแดนปาเลสไตน์ อิทธิพลของศาสนจักร
ความขัดแย้งเรื่องความเชื่อทางศาสนา

สงครามครูเสด

เหตุการณ์สำคัญในสงคราม ผลของสงครามครูเสด
1.ระบบฟิวดัลเสื่อมลง
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1096-1291 2. การค้าขยายตัวไปทั่วทั้งดินแดนภาคตะวันตกและ
ชาวคริสต์ก็ได้บุกเข้าโจมตีฝั่งอิสลามโดยกล่าวอ้างว่าเพื่อ ดินแดนภาคตะวันออก
ต้องการทวงพื้นที่ดินแดนศักดิ์สิทธิ์ของพวกเขาคืนกินเวลา 3. เมืองต่างๆ กลายเป็นศูนย์กลางทางการค้า
อยู่เกือบ 200 ปี และด้วยความยาวนานยืดเยื้อของ 4. ใช้ระบบเงินตราแทนการแลกเปลี่ยนสินค้า
สงครามที่เกิดขึ้นนัน้ ก็ทำให้เกิดบทกระทบกับยุโรปทั้งใน 5. การนำอารยธรรมกรีก-โรมัน จากจักรวรรดิไบแซนไทน์
ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม และจักรวรรดิมุสลิมกลับเข้ามาเผยแพร่ในยุโรปอีกครั้ง
6. เกิดการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมและศิลปวิทยาการท
ระหว่างตะวันตกกับตะวันออก
สาเหตุ
1.ความขัดแย้งเรื่องดินแดนระหว่างอังกฤษ
สถานการณ์สงคราม
กับฝรั่งเศส
K.อังกฤษอ้างสิทธิ์เหนือบัลลังก์ฝรั่งเศส
2. สิทธิในราชบัลลังก์ฝรั่งเศส
สงครามยุคเอ็ดเวิร์ด (1337-1360)
3.อังกฤษอยากผนวกสกอตแลนด์แต่
สกอตแลนด์ไม่ยอม(ฝรั่งเศสสปอย)อังกฤษ สงครามยุคแครอไลน์(1369-1389)
จึงไม่พอใจ
สงครามร้อยปี สงครามยุคแลงคาสเตอร์ (1415-1429)
4.ฝรั่งเศสขัดขวางการค้าระหว่างอังกฤษกับ ชาวนอร์มังดีบุกชิงบังลังก์ที่เกาะอังกฤษ
แคว้นฟลานเดอร์ อังกฤษสบุกยึดดินแดนของฝรั่งเศสได้จน
5.กษัตริย์ทั้งสองประเทศเรียกความสนใจ เกือบจะสิน้ ชาติ
จากประชาชน

ผลกระทบของสงคราม
ผลกระทบของสงครามต่อประเทศอังกฤษ ผลกระทบของสงครามต่อประเทศฝรั่งเศส
1.กษัตริยอ์ ังกฤษหันมาสนสนใจกิจการในประเทศมากขึ้น 1.เสริมอำนาจเด็ดขาดแก่กษัตริย์ในการปรับปรุงกองทัพ
2.อำนาจรัฐสภาอังกฤษมีมากขึ้นเพื่อต่อรองกับกษัตริย์ เพื่อปราบปรามขุนนางและทำสงครามกับต่างชาติ
3.ขุนนางเสียชีวิตและยากจนลง ทำให้กษัตริย์อังกฤษ 2.รัฐสภาได้ยอมรับอำนาจของสถาบันกษัตริย์ฝรั่งเศส
สามารถรวมอำนาจไว้ที่ส่วนกลางได้ ทำให้กษัตริย์สามารถรวมอำนาจเข้าสู่พระองค์ จนต่อมา
ได้พัฒนาเป็นระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชในเวลาต่อมา
3.กระตุ้นความคิดชาตินิยมในหมูช่ าวฝรั่งเศส
24

ใบงานที่ 13 : ศิลปวัฒนธรรมสมัยกลาง
ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้
1. ศิลปวัฒนธรรมสมัยกลางอยู่ภายใต้อิทธิพลของ ศาสนาคริสต์ และ ระบบฟิวดัล
ส่งผลให้ศิลปวัฒนธรรมสมัยกลางมีลักษณะ สะท้อนให้เห็นถึงอิทธิพลของศาสนาคริสต์และขุนนาง
2. สถาปัตยกรรมของสมัยกลางมี 2 แบบ คือ โรมาเนสต์ (Romanesque) และ กอทิก (Gothic)
2.1 สถาปัตยกรรมแบบโรมาเนสต์ (Romanesque) เจริญรุ่งเรืองในช่วง ก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 11
สืบทอดมาจากศิลปะยุค โรมัน มีลักษณะ ประตู หน้าต่าง (วัด อาคาร) โค้งกลมคล้ายแบบโรมัน
กำแพงหนา กระเบื้องพื้นขนาดใหญ่ บานหน้าต่างเล็กและเรียวยาว ภายในทึม มืดครึ้ม มองข้างนอกคล้าย
ป้อมปราการ มีภาพโมเสกประดับ
สถาปัตยกรรมสำคัญได้แก่ มหาวิหารและหอคอยปิซา, มหาวิหารซังเซอร์แนง
2.2 สถาปัตยกรรมแบบ กอทิก (Gothic) เจริญรุ่งเรืองในช่วง ค.ศ.1150-1300
พัฒนามาจากสถาปัตยกรรมแบบ โรมาเนสต์ มีลักษณะ โปร่ง บางและอ่อนช้อย
จุดเด่นของสถาปัตยกรรมนี้คือ การใช้อิฐ ปูนคำยันจากภายนอก ใช้เสาหินรับน้ำหนักหลังคาแทน
การสร้างกำแพงหนา ประตู หน้าต่างเปลี่ยนจากโค้งมนเป็นโค้งแหลม แสงลอดผ่านได้ ประดับกระจกสี
สถาปัตยกรรมสำคัญได้แก่ มหาวิหารนอเตรอดาม มหาวิหารแซงต์ชาแปลล์ มหาวิหารเมืองมิลาน
3. วรรณกรรม
3.1 วรรณกรรมทางศาสนาได้รับอิทธิพลจาก ศาสนาคริสต์
ผลงานชิ้นสำคัญได้แก่ เทวนคร(The City of God), มหาเทววิทยา (Summa Theologica)
3.2 วรรณกรรมทางโลก แบ่งเป็น 4 ประเภทได้แก่
1) มหากาพย์ (Epic) คือ เรื่องราวการสร้างวีรกรรมของวีรบุรุษในอดีต
มหากาพย์ที่สำคัญได้แก่ ชองซองเดอเจสต์(Chanson de Geste)
2) นิยายวีรคติหรือนิยายโรมานซ์ (Romance) คือ เรื่องราวความจงรักภักดีของอัศวินต่อเจ้า
และขุนนาง และความรักแบบเทิดทูนที่อัศวินมีต่อสตรี
ต่างจากมหากาพย์ คือ มหากาพย์มีความยาวมากกว่าและไม่มีเรื่องของความรักเข้ามาเกี่ยวข้อง
นิยายที่รู้จักกันทั่วไปคือนิยายเรื่อง กษัตริย์อาเธอร์กับอัศวินโต๊ะกลม
3) คีตกานท์ (Lyric) คือ บทร้อยกรองที่กล่าวถึงความในใจ
4) นิทาน
นิทานฟาบลิโอ (Fabliau)คือเรื่องสัน้ ร้อยกรอง เสียดสีสังคมสมัยนั้น มักเป็เรื่องนักบวชหรือสตรี
นิทานเรื่องสำคัญได้แก่ แคนเทอร์เบอรีเทลส์ ของ เจฟฟรีย์ ชอเซอร์ กวีเอกชาวอังกฤษ
นิทานอุทาหรณ์ (Fable) คือ นิทานร้อยแก้วหรือร้อยกรองในลักษณะของนิทานอีสป
นิทานเรื่องสำคัญได้แก่ นิทานชุดโรมานซ์ออฟรีนาร์ด(The Romance of Renard)
4. เกิดการฟื้นตัวของเมืองแห่งการค้าบริเวณ เมืองเก่าที่เคยรุ่งเรืองในสมัยจักรวรรดิโรมัน
5. มหาวิทยาลัยในสมัยกลางมีลักษณะอย่างไร เป็นสมาคมอาชีพของอาจารย์และนักศึกษา (University)
มหาวิทยาลัยสำคัญได้แก่ มหาวิทยาลัยปารีส โบโลญญา ปาดัว ออกซ์ฟอร์ด และเคมบริดจ์
25

แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
หน่วยที่ 4 เรื่อง พัฒนาการสมัยใหม่
คำชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว
1. เหตุการณ์ ในข้อใดมีความสัมพันธ์กับประวัติศาสตร์ 5. ผลงานสำคัญของมาร์ติน ลูเทอร์ ส่งผลให้เกิด
สากลสมัยใหม่ เหตุการณ์สำคัญตามข้อใด
1. การปฏิวัติฝรั่งเศส 1. ปฏิรูปศาสนา 2. การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
2. การทำลายกำแพงเบอร์ลิน 3. สำรวจโลกทางทะเล 4. ทฤษฎีวิวัฒนาการ
3. การสถาปนาจักรวรรดิไบแซนไทน์ 5. การค้นพบว่าโลกไม่ได้เป็นศูนย์กลางสุริยจักรวาล
4. การเรืองอำนาจของศาสนจักรคาทอลิก 6. นักปราชญ์การเมืองคนใดมีผลงานเขียนต่อต้านการ
5. การเริ่มต้นฟื้นฟูศิลปวิทยาการของกรีกและโรมัน ปกครองแบบเผด็จการ
2. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะที่ปรากฏอยู่ ในประวัติศาสตร์ 1. วอลแตร์ 2. จอห์น ล็อก
สมัยใหม่ของยุโรป 3. ทอมัส ฮอบส์ 4. ชอง–ชาก รูโซ
1. ประชาชนเริ่มเกิดแนวคิดชาตินิยม 7. การปฏิวัติฝรั่งเศสมีผลกระทบต่อชาวยุโรปอย่างไร
2. ประชาชนทำเกษตรกรรมเพื่อรับใช้ขุนนา 1. ประชาชนต่อต้านวรรณกรรมการเมือง
3. ประชาชนเรียกร้องสิทธิเสรีภาพทางการเมือง 2. ประชาชนใช้ปรัชญากรีกร่างกฎหมาย
4. ประชาชนเข้าไปทำงานเป็นกรรมกรในโรงงาน 3. ประชาชนเรียกร้องเสรีภาพเพื่อปกครองตนเอง
5. ประชาชนเห็นต่างจากศาสนจักรคาทอลิกมากขึ้น 4. ประชาชนฟื้นฟูระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
3. การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ส่งผลต่อศาสนาคริสต์ ใน 8. สมัยแห่งภูมิปัญญาเกี่ยวข้องกับศิลปวัฒนธรรมใด
ยุโรปอย่างไร 1. ลัทธิสัจนิยม 2. ลัทธิจินตนิยม
1. ศาสนาคริสต์ได้รับการเผยแผ่ไปอย่างรวดเร็ว 3. ลัทธิประทับใจ 4. ลัทธิคลาสสิกใหม่
2. บาทหลวงจำนวนมากเสนอทฤษฎีใหม่ ๆ 9. ข้อใดไม่ใช่เนื้อหาวรรณกรรมที่นักเขียนสัจนิยมสนใจ
3. วิธีการทางวิทยาศาสตร์ถูกนำมาใช้ในการสอน 1. ความยากจน 2. ความเห็นแก่ตัว
ศาสนาคริสต์ 3. ความรู้สึกอ่อนไหว 4. แข่งขันเอารัดเอาเปรียบ
4. เกิดคำถามในอำนาจเหนือธรรมชาติของพระเจ้า 10. ข้อใดไม่ใช่สินค้าจากตะวันออกที่นิยมในตะวันตก
5. ศาสนาคริสต์ยอมรับและสนับสนุนการทดลองทาง 1. กาแฟ 2. น้ำตาล 3. ผ้าไหม 4. เครื่องเทศ
วิทยาศาสตร์ 11. ใครคือบิดาแห่งมนุษยนิยม
4. ข้อใดไม่สัมพันธ์กัน 1. ราฟาเอล 2. ฟรันเซสโก เปซาก
1. ฟื้นฟูศิลปวิทยาการ=มิเกลันเจโล รูปสลักปิเอตา 3. เลโอนาร์โด ดา วินซี 4. มีเกลันเจโล บูโอนาร์โรตี
2. การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ = กาลิเลโอ กาลิเลอิ 12. ผลของการปฏิรูปศาสนาคืออะไร
3. การปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ = ประชาธิปไตยในอังกฤษ 1. นิกายลูเทอร์ได้รับความนิยมในโรม
4. การปฏิวัติอุตสาหกรรม = ถ่านหินและไอนํ้า 2. คัมภีร์ไบเบิลถูกแปลเป็นภาษาเยอรมัน
5. แนวคิดมนุษยนิยม = อริสโตเติล 3. คริสตจักรตะวันตกแบ่งออกเป็น 2 นิกาย
4. นักบวชนิกายโรมันคาทอลิกมีครอบครัวได้
26

13. สิ่งประดิษฐ์ที่แสดงการพัฒนาทางคมนาคมในยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมคืออะไร
1. เรือกลไฟและรถราง 2. รถยนต์และเรือสำเภา
3. เรือกลไฟและรถไฟไอน้ำ 4. รถไฟไอน้ำและเครื่องบิน
14. นักปราชญ์การเมืองคนใดมีผลงานเขียนต่อต้านการปกครองแบบเผด็จการ
1. วอลแตร์ 2 จอห์น ล็อก
3. ทอมัส ฮอบส์ 3. ชอง–ชาก รูโซ
15. การปฏิวัติฝรั่งเศสมีผลกระทบต่อชาวยุโรปอย่างไร
1 ประชาชนต่อต้านวรรณกรรมการเมือง
2 ประชาชนฟื้นฟูระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
3 ประชาชนเรียกร้องเสรีภาพเพื่อปกครองตนเอง
4 ประชาชนใช้ปรัชญากรีกเป็นแนวทางร่างกฎหมาย
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

กระดาษคำตอบ หลังเรียน เรื่อง เวลาและการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากล


ชื่อ..................................................................ชั้น......................เลขที่.......................
1) 1 6) 4 11) 2
2) 2 7) 3 12) 3
3) 4 8) 4 13) 3
4) 5 9) 3 14) 3
5) 1 10) 1 15) 3

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

กระดาษคำตอบ ก่อนเรียน เรื่อง เวลาและการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากล


ชื่อ.............................................................ชั้น......................เลขที่.........................
1) 1 6) 4 11) 2
2) 2 7) 3 12) 3
3) 4 8) 4 13) 3
4) 5 9) 3 14) 3
5) 1 10) 1 15) 3
27

ใบงานที่ 14 : การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
ตอนที่ 1 : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้
1. การฟื้นฟูศิลปวิทยาการหมายถึง การเกิดใหม่ (rebirth) ของการศึกษา การฟื้นฟูอุดมคติ ศิลปะ และ
วรรณกรรมของกรีกและโรมัน เป็นยุคเริ่มต้นของการแสวงหาสิทธิเสรีภาพและความคิ ดอันไร้ขอบเขตของ
มนุษย์ที่เคยถูกจำกัดโดยกฎเกณฑ์และข้อบังคับของคริสต์ศาสนา สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาเริ่มต้นในราว
คริสต์ศตวรรษที่ 14 และสิ้นสุดลงในกึ่งกลางคริสต์ศตวรรษที่ 17 โดยถือว่าเป็นจุดเชื่อมต่อ (transitional
period) ของประวัติศาสตร์สมัยกลางและสมัยใหม่

2. การฟื้นฟูศิลปวิทยาการมีสาเหตุมาจาก
1. การค้าเฟื่องฟู เกิด "พ่อค้า" ซึ่งร่ำรวยเป็นจำนวนมาก
2. ชาวยุโรปเริ่มเสื่อมศรัทธาต่อศาสนาคริสต์
3. คนยุโรปสนใจวิทยาการต่างๆ ทั้งจากการติดต่อกับตะวันออกในสงครามครูเสด และการเดินทาง
กลับยุโรปเมื่อเตอร์กเข้ายึดครองคอนสแตนติโนเปิล
4. จอห์น กูเตนเบิร์ก ชาวเยอรมัน ประดิษฐ์แท่นพิมพ์ ทำให้สามารถพิมพ์หนังสือได้มาก
3. บุคคลในภาพข้างล่างนี้คือ ฟรานเซสโก เปตรากา หรือ เปตราก (Francesco Petrarch)

4. บุคคลในภาพมีแนวคิดอย่างไร
โดยแท้จริงมนุษย์นั้นสามารถพัฒนาชีวิตตนเองให้ดีและมีคุณค่าได้ โดยการศึกษาและเรียนรู้จาก
งานเขียนและวรรณกรรมของกรีกและโรมันโบราณที่สอดแทรกปรัชญาและแนวทางในการดำเนินชีวิตให้มี
ความสุขในโลกปัจจุบันนี้ได้
5.แนวคิดดังกล่าวส่งผลต่อยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการอย่างไร
เกิดการอ่านงานเขียนของนักปราชญ์กรีกและโรมันอย่างกว้างขวาง
28

ตอนที่ 2 : ให้นักเรียนดูรูปแล้วเติมข้อมูลให้ถูกต้อง ครบถ้วน


ภาพด้านซ้ายคือ แท่นพิมพ์ กูเตนเบิร์ก
เป็นผลงานของ โยฮันเนส กูเตนเบิร์ก (Johannes Gutenberg)
ส่งผลต่อยุคฟื้นฟูศิลปะวิทยาการอย่างไร
ทำให้การพิมพ์อย่างรวดเร็วเป็นไปได้ และทำให้ข้อมูลข่าวสาร
แพร่กระจายออกไปอย่างรวดเร็วในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของยุโรป

ภาพด้านซ้ายคือ โมนาลิซา(En)/ลาโจกอนดา(Itl)/ลาโชกงด์(Fr)
เป็นผลงานของ เลโอนาร์โด ดา วินชี (Leonardo da Vinci)
บุคคลดังกล่าวมีอิทธิพลต่อยุคฟื้นฟูศิลปะวิทยาการอย่างไร
เลโอนาร์โดมีความสามารถหลายด้านทั้งสถาปนิก นักดนตรี นักกายวิภาค
นักประดิษฐ์ วิศวกรและอีกมากมาย รวมถึงเป็นผู้วางรากฐานการบินและ
วิศวกรรมโยธาอีกด้วย ส่งผลให้นักวิชาการหลายคนยกย่องเขาว่าเป็น
“ชายยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา” (Renaissance Man)
ภาพด้านซ้ายคือ ปีเอตะ (Pietà)
เป็นผลงานของไมเคิลแองเจโลหรือมีเกลันเจโล
บุคคลดังกล่าวมีอิทธิพลต่อยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการอย่างไร
เป็นทั้งประติมากร จิตรกร และสถาปนิกคนสำคัญแห่งยุคเรอเนสซองส์
เขาหินอ่อนให้กลายเป็นร่างกายมนุษย์ที่มีกล้ามเนื้อราวกับคนจริงๆ
แสดงให้เห็นว่า เขามีความรู้ด้านกายวิภาคอย่างลึกซึ้ง
ภาพด้านซ้ายคือ พระแม่มารีและพระบุตรและนักบุญจอห์นแบ็พทิสต์
เป็นผลงานของ ราฟาเอล (รัฟฟาเอลโล ซานซีโอ ดา อูรบ์ ีโน:Raffaello Sanzio da
Urbino)
บุคคลดังกล่าวมีอิทธิพลต่อยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการอย่างไรได้รับการแต่งตั้งเป็น
สถาปนิก ก่อสร้างมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์ใน พ.ศ. 2057 และมีส่วนในการวางผัง
เมืองกรุงโรม งานจิตรกรรมของราฟาเอลสามารถรวมเอาความสงบนิ่งไว้กับความ
สมดุลได้อย่างกลมกลืน ระยะหลังมีความเรียบง่ายและมีความใหญ่โตมากขึ้น แต่
ยังคงรักษาความมีชีวิตชีวาของงานยุคต้นของตนเองไว้ได้ งานของราฟาเอลที่แสดง
ถึงความงามของผู้หญิงนับได้ว่าเป็นผลงานที่มีอิทธิพลต่อศิลปินกลุ่มสถาปัตยกรรม
ฟื้นฟูกรีกโรมัน เป็นอย่างมาก
ภาพด้านซ้ายคือ ละครโศกนาฏกรรม“โรเมโอและจูเลียต (Romeo and Juliet)”
เป็นผลงานของ วิลเลียม เชกสเปียร์ (William Shakespeare)
บุคคลดังกล่าวมีอิทธิพลต่อยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการอย่างไร
ผลงานของเชกสเปียร์นั้นจะแสดงออกถึงความเข้าใจในธรรมชาติของมนุษย์ เป็น
แนวความคิด และอารมณ์ การดิ้นรนต่อสู้ของมนุษย์ทกุ ประเภท ตั้งแต่กษัตริย์
นักรบ โจร คนโง่ นักฆ่า และเรื่องของความรัก
29

ใบงานที่ 15 : การสำรวจทางทะเล

ตอนที่ 1 ให้นักเรียนนำตัวอักษร A-F จากภาพด้านบนมาเรียงลำดับผู้บุกเบิกเส้นทางการสำรวจทางทะเล


ลงในตารางให้ถูกต้อง ครบถ้วน

ช่วงคริสต์ศักราช ตัวอักษร นักบุกเบิกเส้นทางสำรวจเส้นทางทะเล สัญชาตินักสำรวจ


1487-1488 D บาร์โทโลมิว ไดแอส (Bartholomew Diaz) โปรตุเกส
1492-1493 C คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส (Christopher Columbus) สเปน
1497-1498 E วัสโก ดา กามา (Vasco da Gama) โปรตุเกส
1519-1521 A เฟอดินานด์ มาเจลลัน (Ferdinand Magellan) สเปน
1521-1522 B ฮวน เซนบาสเตียน เอลคาโน (Juan Sebastián Elcano) สเปน
1606 F วิลเลม เจนซ์ (Willem Jansz) ดัตช์(ฮอลันดา)
30

ตอนที่ 2 ให้นักเรียนตอบคำถามและเติมคำในช่องว่างให้ถูกต้องครบถ้วน
1. การสำรวจทางทะเลมีสาเหตุมาจาก

1. การมีวิทยาการที่ก้าวหน้า ทำให้ชาวยุโรปหันมาสนใจต่อความลี้ลับของท้องทะเล
2. แรงผลักดันทางด้านการค้า เพื่อหาเส้นทางติดต่อกับ ดินแดนต่างๆ ทางตะวันออก
3. แรงผลักดันทางด้านศาสนา
4. แนวคิดในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ ทำให้ชาวยุโรปอยากสร้างชื่อเสียงเกียรติยศและต้องการ
เสี่ยงโชคเพื่อชีวิตที่ดีกว่า

2. การค้นพบเส้นทางเดินเรือทางทะเลสู่ดินแดนตะวันออกของแต่ละชาติเป็นไปดังนี้
โปรตุเกส
เจ้าชายเฮนรี(Henry the Navigater) จัดตั้ง โรงเรียนราชนาวี
เพื่อส่งเสริมความเจริญก้าวหน้า การเรียนรู้วิทยาการใหม่ๆ ในการเดินเรือ
ปี ค.ศ.1448 บาร์โธโลมิว ไดแอส เดินเรือผ่านแหลมกู๊ดโฮป (Cape of Good Hope)
ของทวีปแอฟริกาได้สำเร็จ
ค.ศ. 1498 วัสโก ดา กามา เดินเรือตามเส้นทางของ บาร์โธโลมิว ไดแอส
ไปขึ้นฝั่งที่เมืองกาลิกัดของประเทศ อินเดีย และซื้อเครื่องเทศกลับมาขายทำกำไรที่ยุโรปมหาศาล
ปี ค.ศ.1494 สเปน และ โปรตุเกส ทำสนธิสัญญา ทอร์เดซียัส (Treaty of Tordesillas)
เพื่อรักษาสัมพันธไมตรีต่อกันเนื่องจากเป็นคู่แข่งขันทางด้านเศรษฐกิจการค้าและอำนาจทางทะเล
กำหนดให้มีเส้นเมริเดียนสมมติแบ่งโลกเป็นสองส่วน เพื่อแบ่งเขตอิทธิพลและผลประโยชน์ ของ
โปรตุเกสและสเปน ทำให้มีผลดังนี้
1.โปรตุเกส จึงได้สร้างจักรวรรดิทางทะเลในเอเชีย ยึดเมืองกัวของอินเดียจากมุสลิมตั้งเป็น
เมืองหลวงของโปรตุเกสในตะวันออก และขยายอาณาเขตไปยังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ยึดคลองเมือง
มะละกา และมีอิทธิพลเหนือดินแดนหมู่เกาะอินเดียตะวันออก(อินโดนีเซีย)
2. สเปน ได้ครอบครองดินแดนอเมริกาใต้เกือบทั้งหมด
สเปน
ปี ค.ศ. 1492 คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส ชาวอิตาลี อาสารับใช้กษัตริย์
สเปนได้สำรวจเส้นทางเดินเรือทางทะเลด้วยความเชื่อว่าโลกกลม ทำให้ได้พบโลกใหม่หรือทวีป
อเมริกา ส่งผลให้
1.ลบล้างความเชื่อที่มีมาแต่เดิมว่าโลกแบน
2.อารยธรรมตะวันตกหลั่งไหลเข้าสู่ทวีปอเมริกา เพราะในเวลาต่อมามีชาวยุโรปอพยพเข้ามา
ตั้งถิ่นฐานจำนวนมาก
31

3.เริ่มต้นการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์และการแย่งชิงดินแดนที่อุดมสมบูรณ์ด้วยแร่เงินและทองคำจาก
ชาวพื้นเมืองอินเดียน
ค.ศ.1519 เฟอร์ดินันด์ แมกเจลลัน ชาว โปรตุเกส (รับจ้างสเปน) ได้นำเรือสำรวจทาง
ทะเลในนามกษัตริย์สเปน โดยแล่นเรือออกจากท่าเรือสเปนไปทางทิศตะวันตกของมหาสมุทร
แอตแลนติกและมุ่งไปทางมหาสมุทรแปซิฟิก นับเป็นครั้งแรกที่มีการเดินเรือข้ามมหาสมุทรแปซิฟิก
มายังทวีปเอเชีย และพิสูจน์ได้ว่าอเมริกากับเอเชียตั้งอยู่คนละทวีป
เฟอดินานด์ มาเจลลัน ไม่สามารถนำเรือกลับสเปนได้ เพราะถูกชาว
พื้นเมืองในประเทศ ฟิลิปปินส์ ฆ่าตายาขณะเผยแพร่คริสต์ศาสนา แต่
ฮวน เซนบาสเตียน เอลคาโน ลูกเรือได้นำเรือแล่นกลับสเปนได้สำเร็จเมื่อปี ค.ศ.1522 จึงเป็นเรือ
ลำแรกที่แล่นรอบโลกและพิสูจน์ทฤษฎีโลกกลมว่าเป็นความจริง
การค้นพบเส้นทางเดินเรือทางทะเลมายังดินแดนตะวันออก(เอเชีย) เกิดผล 2 ประการ คือ
1. เปิดน่านน้ำให้เรือจากทวีปยุโรปสามารถแล่นมายังทวีปเอเชียได้ โดยผ่านทาง
มหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก
2.อารยธรรมตะวันตกหลั่งไหลเข้ามายังเอเชีย ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทาง
การเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมในเวลาต่อมา

ฮอลันดา
ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 พ่อค้าชาวดัตช์เป็นพ่อค้าคนกลางในการซื้อขาย เครื่องเทศ
กับดินแดนต่างๆ ในยุโรป ต่อมาถูกสเปนกีดกันไม่ให้ใช้เมืองท่า ฮอลันดาจึงต้องหาเส้นทางติดต่อซื้อ
เครื่องเทศโดยตรงกับหมู่เกาะอินเดียตะวันออกของโปรตุเกส
ในปี ค.ศ.1598 กองทัพเรือฮอลันดาได้ยึดอำนาจการค้าเครื่องเทศจากโปรตุเกสและจัดตั้ง
สถานีการค้าขึ้นในเกาะ ชวา ต่อมาได้ตั้งบริษัท อินเดียตะวันออก ของฮอลันดาขึ้น เพื่อควบคุม
การค้าในหมู่เกาะ ชวา หรือหมู่เกาะ เครื่องเทศ ดังกล่าว
ในปี ค.ศ.1606 วิลเลม เจนซ์ ตัวแทนบริษัท อินเดียตะวันออก
ของฮอลันดา ได้แล่นเรือไปทางตะวันออกของเกาะชวาและค้นพบ ทวีปออสเตรเลีย
ฮอลันดาจึงเป็นชาติแรกที่ค้นพบ ทวีปออสเตรเลีย เป็นทวีปสุดท้ายที่ชาวตะวันตกค้นพบ
32

ใบงานที่ 16 : การขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรป
ของประเทศในยุโรป
ให้นักเรียนวิเคราะห์ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปไปยังทวีปต่างๆทั่วโลก

ทวีปอเมริกา
ทวีปเอเชีย
ด้านการเมืองการปกครอง การเมืองการปกครอง : ชาวตะวันตก
รัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐอเมริกาแนวคิดมาจากมองเตสกิเออ มีบทบาททางการเมืองแทนคนพื้นเมือง
ด้านเศรษฐกิจ เศรษฐกิจ :เอเชียเป็นแหล่งป้อนวัตถุดิบสำหรับอุตสาหกรรม
การคิดค้นประดิษฐ์สิ่งใหม่ๆของชาวอเมริกัน ได้แก่ ของโลกตะวันตก และเป็นตลาดระบายสินค้าอุตสาหกรรม
สังคม : ทำให้เกิดรัฐแบบใหม่ ระบบราชการ และการผลิตใน
• เรือกลไฟ โทรศัพท์ หลอดไฟ เครื่องกำเนิดไฟฟ้า เป็นต้น
ระบบทุนนิยม นำไปสู่การขยายตัวของสังคมเมือง
ด้านสังคม วัฒนธรรม : ภาษาอังกฤษเข้ามาใช้เป็นภาษาราชการ
การอพยพเข้าเมืองใหญ่จำนวนมาก→เกิดปัญหาทีอ่ าศัย ศิลปกรรม : ชนชั้นปกครองและกลุ่มชนชั้นกลางของเอเชีย
ด้านการศึกษา ได้รับการศึกษาตามแบบตะวันตก รับศิลปกรรมตะวันตกใน
ก่อตั้งโรงเรียน/มหาวิทยาลัยทุกรัฐ เช่น Harvard, Yale รูปแบบผสมผสาน
ด้านศิลปกรรม
1.จิตรกรรม : ได้รับอิทธิพลจากศิลปะยุโรป
2.สถาปัตยกรรม : ส่วนใหญ่ทำจากเหล็ก

ทวีปแอฟริกา
ทวีปออสเตรเลีย

การเมืองการปกครอง : ชาวตะวันตกมใช้วิธีปกครองแบบ การเมืองการปกครอง : เริ่มแรกรับอิทธิพลจากอังกฤษ


อาณานิคม เป็นรากฐานของสังคมแอฟริกาปัจจุบัน เพราะเป็นดินแดนทีอ่ ังกฤษเนรเทศนักโทษการเมืองมาที่
ด้านเศรษฐกิจ: ยุโรปนำเข้าสินค้ามาจำหน่ายในแอฟริกา ทวีปออสเตรเลีย
กลายเป็นอุปสรรคไม่ให้คนพื้นเมืองผลิตขึ้นเอง ด้านเศรษฐกิจ: ได้รับอิทธิพลโดยตรงจากชาวยุโรปที่อพยพ
ด้านสังคม: ชาวตะวันตกก็ได้ปลูกฝังความคิดที่ทันสมัยให้แก่ เข้ามา
ชาวแอฟริกา แอฟริกายังได้รับการถ่ายทอดภาษาจาก ด้านสังคม: ชาวพื้นเมืองถูกกลืนด้วยวัฒนธรรมของ
เจ้าของอาณานิคม เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ชาวตะวันตก
ด้านศิลปะและวัฒนธรรม: เกิดการผสมผสานระหว่าง ด้านศิลปะและวัฒนธรรม: ชาวตะวันตกได้นำ
ศิลปะของตะวันตกและศิลปะของแอฟริกา เช่น วัฒนธรรม ศิลปวัฒนธรรมจากตะวันตกมาสร้างสรรค์ในดินแดน
ดนตรี ทำนองบลูส์ (Blues)และแจ๊ส (Jazz) ออสเตรเลีย
33

ใบงานที่ 17 : การปฏิรูปศาสนา
ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้
1. การปฏิรูปศาสนามีสาเหตุมาจาก
1.ประชาชนไม่พอใจสันตะปาปา พระและบาทหลวงที่มีความเป็นอยู่อย่าง ฟุ่มเฟือย
2.เจ้าผู้ครองแคว้นต่างๆ ในยุโรปต้องการเป็นอิสระจากคริสตจักรที่มีสันตะปาปาเป็น ผู้ปกครอง
3.ชาวยุโรปเห็นว่ามนุษย์สามารถทำความเข้าใจคัมภีร์ไบเบิลได้ด้วยตนเอง
4.การขาย “ใบไถ่บาป”

2. ให้นักเรียนเขียน เส้นเวลา (Timeline) ขอบการปฏิรูปศาสนาให้ครบถ้วนถูกต้อง

3. การปฏิรูปศาสนาส่งผลต่อยุโรปได้แก่...............................................................................................................
1) คริสตจักรแตกแยกออกเป็น2นิกาย คือ นิกายโรมันคาทอลิก และ นิกายโปรเตสแตนต์
2) นิกายต่างๆ แข่งขันกันปรับปรุงข้อบกพร่องเพื่อเรียกศรัทธา
3) นิกายโปรแตสแตนต์สนับสนุนให้คนยุโรปทำการค้าและอุตสาหกรรมทำให้ระบบทุนนิยมในยุโรปเจริญเติบโต
4) เกิดกระแสชาตินิยม เช่น มีการแปลคัมภีร์เป็นภาษาท้องถิ่น
5) ส่งเสริมอำนาจผู้ปกครองในการปกครองประเทศ
6) เกิดสงครามศาสนาขึ้นในยุโรปหลายครั้ง เช่น
- สงครามศาสนาในเยอรมนี (ค.ศ. 1546-1555)
- สงครามศาสนาในประเทศฝรั่งเศส (ค.ศ. 1562-1589)
- สงครามสามสิบปีในดินแดนของเยอรมัน (ค.ศ. 1618-1648)
34

ใบงานที่ 18 : การปฏิวัติวิทยาศาสตร์
ให้นักเรียนบอกชื่อบุคคลสำคัญที่ส่งผลต่อประวัติศาสตร์ยุคสมัยใหม่พร้อมทั้งอธิบายรายละเอียดความสำคัญของ
บุคคลนั้นมาพอสังเขป
บุคคลในรูปชื่อ นิโคลัส โคเปอร์นิคัส (Nicolaus Copernicus)
ผลงานสำคัญที่ส่งผลต่อมนุษยชาติ
ทฤษฎีดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาล

บุคคลในรูปชื่อ กาลิเลโอ กาลิเลอี (Galileo Galilei)


ผลงานสำคัญที่ส่งผลต่อมนุษยชาติ
การพัฒนาเทคนิคของกล้องโทรทรรศน์และผลสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ที่สำคัญ
จากกล้องโทรทรรศน์ที่พัฒนามากขึ้น งานของเขาช่วยสนับสนุนแนวคิดของโคเปอร์
นิคัสอย่างชัดเจนที่สุด กาลิเลโอได้รับขนานนามว่าเป็น"บิดาแห่งดาราศาสตร์
สมัยใหม่" "บิดาแห่งฟิสิกส์สมัยใหม่" "บิดาแห่งวิทยาศาสตร์" และ "บิดาแห่ง
วิทยาศาสตร์ยุคใหม่"
บุคคลในรูปชื่อ โยฮันเนส เคปเลอร์ (Johannes Kepler)
ผลงานสำคัญที่ส่งผลต่อมนุษยชาติ ได้รับการยกย่องว่าเป็น "นักฟิสิกส์ดาราศาสตร์
ทฤษฎีคนแรก
กฎของเคปเลอร์
กฎแห่งวงรี
กฎแห่งการกวาดพื้นที่
กฎแห่งคาบ
บุคคลในรูปชื่อ ไอแซก นิวตัน (Isaac Newton)
ผลงานสำคัญที่ส่งผลต่อมนุษยชาติ
ผู้นำโลกเข้าสู่ยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม โดยการเสนอกฏแห่งความโน้มถ่วงและ การ
เคลื่อนที่ของวัตถุ ที่สามารถอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆบนโลก จนไปถึงการโคจร
ของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ได้
บุคคลในรูปชื่อ ชาลส์ โรเบิร์ต ดาวินส์ (Charles Robert Darwin)
ผลงานสำคัญที่ส่งผลต่อมนุษยชาติ
เป็นผู้เสนอ ทฤษฎีวิวัฒนาการจากการคัดสรรโดยธรรมชาติ (Theory of
Evolution by Natural Selection) ปฏิวัติความเชื่อที่ว่าพระเจ้าเป็นผู้สร้างโลก
และเป็นผู้สร้างมนุษย์ขึ้น
35

ใบงานที่ 19 : การปฏิวัติอุตสาหกรรม
ตอนที่ 1 ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้
1. การปฏิวัติอุตสาหกรรม หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงใน วิธีการผลิตและระบบการผลิต จากเดิมระบบการ
ผลิตมักทำกันภายในครัวเรือน ใช้แรงงานคน แรงงานสัตว์ พลังงานจากธรรมชาติ เครื่องมือแบบง่ายๆ มาเป็นการ
ใช้เครื่องจักรกลแทน เริ่มจากแบบง่ายๆ จนถึงแบบซับซ้อนที่มีกำลังผลิตสูง จนเกิดเป็นการผลิตในระบบโรงงาน
(FACTORY SYSTEM)
2. การปฏิวัติอุตสาหกรรมมีสาเหตุมาจาก
1. เป็นผลสืบเนื่องมาจากยุคของการสำรวจทางทะเล เกิดการจัดตั่งอาณานิคมเพื่อหาวัตถุดิบและเป็นตลาดใน
การระบายสินค้าเพื่อการค้าจะได้ขยายตัวออกไปให้กว้าง
2. การขยายตัวทางการค้าก่อให้เกิดการขยายตัวทางการผลิต ทำให้มีการผลิตสินค้าออกมาเป็นจำนวนมาก
3. เมื่อมีสินค้าออกมาเป็นจำนวนมาก ผนวกกับการต้องการสินค้าที่มากขึ้น จึงทำให้เกิดการสนับสนุนในการ
คิดค้นเครื่องมือและเครื่องจักร เพื่อเสริมการผลิตสินค้าให้มีปริมาณและคุณภาพมากยิ่งขึ้น
4. ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ใน ศตวรรษที่ 16-17 เป็นปัจจัยสนับสนุนให้เกิดการปฏิวัติ
อุตสาหกรรม เช่น เครื่องมือทางการเกษตร เครื่องปั่นด้าย เครื่องจักรไอน้ำ การคมนาคม

3. การปฏิวัติอุตสาหกรรมแบบเป็น 2 ระยะ คือ


การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะแรกใน ระหว่าง ค.ศ 1760-1840
เป็นระยะที่มีการประดิษฐ์เครื่องจักรช่วยในการผลิตและการปรับปรุง โรงงานอุตสาหกรรมให้มีประสิทธิภาพ
การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะที่ 2 ระหว่าง ค.ศ. 1861- 1865 เป็นการปรับปรุงการคมนาคมสื่อสาร ซึ่งเป็น
ผลมาจากความสำเร็จของอุตสาหกรรมเหล็ก และเครื่องจักรไอน้ำ

4. การปฏิวัติอุตสาหกรรมส่งผลต่อพัฒนาการโลกสมัยใหม่อย่างไร
1. ประชากรทั่วโลกเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เพราะความ ก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และทางด้านการแพทย์
2. การก่อสร้างอาคารบ้านเรือนและสถาปัตยกรรม พัฒนาก้าวหน้ามากขึ้น
3. เกิดปัญหาสังคมต่างๆ มากมาย เช่น ชุมชนแออัด การแพร่กระจายของเชื้อโรค ปัญหาอาชญากรรม การใช้
แรงงานเด็ก การเอารัดเอาเปรียบกัน ทำให้เกิดแนวคิดของ ลัทธิสังคมนิยม (SOCIALISM)
4. เกิดลัทธิเสรีนิยม (LIBERALISM) ซึ่งเป็นพื้นฐานการปกครองระบอบประชาธิปไตย
5.เกิดการเปลี่ยนแปลงการเมือง เศรษฐกิจและสังคม ทำให้ประเทศต่างๆ มี “วัฒนธรรมร่วม”ตามตะวันตกด้วย
36

ตอนที่ 2 : ให้นักเรียนศึกษาข้อมูลของภาพด้านซ้ายแล้วเติมข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง ครบถ้วน


ประดิษฐกรรมนี้ชื่อ หัวรถจักรไอน้ำ
ประดิษฐ์คิดค้นโดย จอร์จ สตีเฟ่นสัน (George Stephenson)
ความเกี่ยวข้องกับการปฏิวัติอุตสาหกรรมในระยะที่ 1
มีความสำคัญอย่างไร พลังไอน้ำและเครื่องจักรไอน้ำมาใช้ใน
อุตสาหกรรมทอผ้า มีการประดิษฐ์เครื่องปั่นด้ายมาใช้ในโรงงาน
อุตสาหกรรม ทำให้สามารถผลิตผ้าได้เป็นจำนวนมากและเกิดการ
พัฒนาแฟชั่นการแต่งกายขึ้น
ประดิษฐกรรมนี้ชื่อ Ford Model T รถยนต์ในยุคบุกเบิก
ประดิษฐ์คิดค้นโดย เฮนรี ฟอร์ด (Henry Ford)
ความเกี่ยวข้องกับการปฏิวัติอุตสาหกรรมในระยะที่ 2
มีความสำคัญอย่างไร มีการประดิษฐ์เครื่องยนต์ที่ใช้น้ำมันเบนซินทำ
ให้อุตสาหกรรมรถยนต์เจริญก้าวหน้าขึ้นในยุคนี้

ประดิษฐกรรมนี้ชื่อ แท่นขุดเจาะน้ำมัน(Oil pumping station )


ประดิษฐ์คิดค้นโดย เอ็ดวิน เดรก (Edwin Drake)
ความเกี่ยวข้องกับการปฏิวัติอุตสาหกรรมในระยะที่ 2
มีความสำคัญอย่างไร พลังงานเชื้อเพลิงจากก๊าซธรรมชาติ น้ำมัน
ปิโตรเลียม มีความต้องการมากขึ้น จึงต้องเพิ่มกำลังการผลิตน้ำมัน
ปิโตรเลียมและแก๊สธรรมชาติ
ประดิษฐกรรมนี้ชื่อเครื่องปั่นด้าย สปินนิง เจนนี (Spinning Jenny )
ประดิษฐ์คิดค้นโดย เจมส์ ฮากรีฟส์ (James Hargreaves)
ความเกีย่ วข้องกับการปฏิวัติอุตสาหกรรมในระยะที่ 1
มีความสำคัญอย่างไร
การประดิษฐ์เพื่อตอบสนองอุตสาหกรรมการทอผ้า ช่วยให้ช่างทอผ้า
สามารถผลิตผ้าได้มากกว่าเดิม พัฒนาเป็นเครื่องจักรกลที่ใช้พลังน้ำหมุน
แทนพลังคน ทำให้เกิดโรงงาน ทอผ้าตามริมฝั่งแม่น้ำทั่วประเทศ มีการ
ขยายตัวทำไร่ฝ้ายในอเมริกา
ประดิษฐกรรมนี้ชื่อ หลอดไฟฟ้า
ประดิษฐ์คิดค้นโดย โทมัส อัลวา เอดิสัน (Thomas Alva Edison)
ความเกี่ยวข้องกับการปฏิวัติอุตสาหกรรมในระยะที่ 2
มีความสำคัญอย่างไร เป็นนักประดิษฐ์และนักธุรกิจชาวอเมริกัน ผู้ซึ่ง
ประดิษฐ์อุปกรณ์ที่สำคัญต่าง ๆ มากมาย ได้ฉายา "พ่อมดแห่งเมนโล
พาร์ก" เป็นหนึ่งในผู้ริเริ่มนำหลักการของ การผลิตจำนวนมาก และ
กระบวนการประดิษฐ์ มาประยุกต์รวมกัน เป็นประโยชน์ต่ออุตสหกร
รมในระยะที่ 2 เป็นอย่างมาก
37

ใบงานที่ 20 : ยุคภูมิธรรม
ให้นักเรียนศึกษาข้อมูลของภาพด้านซ้ายแล้วเติมข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง ครบถ้วน

ภาพด้านซ้ายเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์
การปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ (Glorious Revolution)
เหตุการณ์ดงั กล่าวมีสาเหตุจาก
เกิดจากกษัตริย์ขัดแย้งกับสภา สภาจึงร่วมมือกับประชาชนลดอำนาจ
ของกษัตริย์ลงสถาบันพระมหากษัตริย์ยังคงอยู่แต่ไม่มีอำนาจ รัฐสภา
เป็นผู้มีอำนาจแทน
ให้นักเรียนเขียนเส้นเวลา (เพื่อสรุปเหตุการณ์ดังกล่าว)

ผลของเหตุการณ์การปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ (Glorious Revolution) เป็นอย่างไร


กษัตริย์วิลเลี่ยมที่ 3 ต้องลงนามรับรอง“ คำประกาศว่าด้วยสิทธิ”พระราชบัญญัติว่าด้วยสิทธิ ค.ศ. 1689 (Bill of
Rights ,1689) ผู้ปกครองต้องเคารพกฎหมายและสิทธิเสรีภาพของประชาชน การออกกฎหมาย การยกเลิก
กฎหมายและการกำหนดการเก็บภาษีต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาจึงจะทำได้
38

ภาพด้านบนเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ใด สงครามปฏิวัติอเมริกา (American Revolutionary War; 1775–1783)


เหตุการณ์ดังกล่าวมีสาเหตุจาก
- อังกฤษบังคับให้อเมริกาจ่ายภาษีใบชา และให้ความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจ
- ห้ามไม่ให้อเมริกาขยายที่ทำกินเข้าไปในดินแดนที่อังกฤษยึดมาจา่กฝรั่งเศส
- ชาวอาณานิคมปฏิเสธการเสียภาษีบำรุงกองทัพ
- ไม่เสียภาษีถ้าไม่มีผู้แทน คือไม่จ่ายภาษีหากไม่มีตัวแทนของชาวอาณาินิคมในสภา
ให้นักเรียนเขียนเส้นเวลา (เพื่อสรุปเหตุการณ์ดังกล่าว)
ปี 1754 การประชุมอัลบานีคองเกรส มีการเรียกร้องให้มีประธานาธิบดีที่กษัตริย์แต่งตั้ง แต่ข้อเรียกร้องไม่สำเร็จ
ปี 1756-1763 สงครามอังกฤษและฝรั่งเศส 1763 อังกฤษฝรั่งเศส จึงมีการทำสนธิสัญญายกดินแดนที่เคยเป็น
อาณานิคมของฝรั่งเศสในพื้นที่ต่างๆให้แก่อังกฤษ อังกฤษจึงได้ปกครองอาณานิคมของฝรั่งเศสในแคนาดาด้วย
ปี 1763 อังกฤษกำหนดให้การขยายการตั้งถิ่นฐานสามารถขยายได้ไปถึงแนวสันเขาแอปปาเลเชียน
ปี 1767 อังกฤษประกาศใช้กฎหมายเทาน์เซนด์ กำหนดให้เก็บภาษีจากใบชา กระดาษ แก้ว และสีวาดภาพ ทำให้
พ่อค้าและราษฎรจำนวนมากตัดสินใจที่จะยกเลิกสั่งซื้อสินค้าเหล่านี้จากอังกฤษ
ปี 1772-73 มีการก่อตั้งคณะกรรมการระดับอาณานิคม เพื่อทำการต่อต้านอังกฤษ และเตรียมการปฎิวัติ
ปี 1773 Boston Tea Party
ปี 1775 ฝ่ายปฎิวัติมีการจัดตั้ง “กองทัพแห่งสภาคอนติเนนตัลคองเกรส” โดยมี นายพล จอร์ช วอชิงตัน เป็นผู้
บัญชาการกองทัพ
ปี 1776 ทอมัส เจฟเฟอร์สัน ร่างคำประกาศอิสรภาพเสร็จ และสภาในการรับรอง ดังนั้นในวันที่ 4 กรกฎาคม
ปี 1777 มีการรบกันระหว่างกองทัพของวอชิงตันกับนายพลเบอร์กอยน์ที่เมืองซาราโตกา อังกฤษแพ้ในสงคราม
ปี 1783 มีการทำสนธิสัญญาสันติภาพระหว่างรัฐบาลอังกฤษกับสมาพันธรัฐอเมริกา ตามสนธิสัญญา

เหตุการณ์การปฏิวัติ สงครามปฏิวัติอเมริกา เป็นอย่างไร


ในที่สุดชาวอาณานิคมได้รับชัยชนะได้ตั้งเป็นประเทศใหม่ คือ สหรัฐอเมริกา มีประธานาธิบดีเป็นประมุข
เนื่องจากชาวอเมริกันเป็นชาวยุโรป มีการศึกษาดีและมีจิตใจยึดมั่นในเรื่องของสิทธิเสรีภาพและอิสรภาพ
ดังนั้นชาวอเมริกันจึงมีความคิดและจิตใจที่ยึดมั่นในระบอบประชาธิปไตย
ประธานาธิบดีอเมริกันผู้มีชื่อเสียงในการส่งเสริมระบอบประชาธิปไตยและความเสมอภาคในหมู่ประชาชนคือ
ประธานาธิบดีเอบราแฮม ลิงคอล์น ได้ประกาศยกเลิกระบบทาสและให้ความเสมอภาคแก่ชาวผิวดำ....
39

ภาพด้านบนเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ใด การปฏิวัติฝรั่งเศส(Révolution française)


เหตุการณ์ดังกล่าวมีสาเหตุจาก
1 ปัญหาทางเศรษฐกิจ
2. ความเหลื่อมทางสังคม
3. ความเสื่อมโทรมของระบอบการปกครองแบบเก่า
ให้นักเรียนเขียนเส้นเวลา (เพื่อสรุปเหตุการณ์ดังกล่าว)

1788 วันที่ 12 -13 กรกฎาคมมีการจัดตั้งคอมมูนปารีส (Paris Commune)


1789วันที่ 14 กรกฎาคม เริ่มการโจมตีคุกบาสติลย์ (Bastille)
1789 วันที่ 26 สิงหาคม. สภาผ่านคำประกาศสิทธิมนุษย์และภายใต้คำขวัญ "เสรีภาพ, เสมอภาค, ภราดรภาพ"
1792 วันที่ 22 สิงหาคม ประกาศสถาปนาสาธารณรัฐครั้งที่หนึ่งยกเลิกระบอบกษัตริย์
1793 วันที่ 21 มกราคม พระเจ้าหลุยส์ถูกปลงพะชนม์ด้วยเครื่องกิโยตีน เพราะทรงถูกกล่าวหาว่า ทรยศต่อชาติ
1793 วันที่ 16 ตุลาคม ปลงพระชนม์พระนาง มารี อังตัวเนตต์ ด้วยกิโยตีนและมีการสังหารพวกจิรองดิสต์
1799 นาย พลนโปเลียน โบนาปาร์ต ยึดอำนาจจากคณะมนตรี และได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกงสุลคนแรกของ
สาธารณรัฐฝรั่งเศส ซึ่งเป็นผู้ปกครองที่มีอำนาจสูงสุด นโปเลียนดำรงตำแหน่งกงสุลในปี ค.ศ. 1799 - ค.ศ. 1803
ก่อนที่นโปเลียนจะสถาปนาตนเองขึ้นเป็นจักรพรรดิในเวลาต่อมา
นาย พลชาร์ล เดอ โกลใช้ระบบประธานาธิบดีที่เลือกตั้งจากประชาชนโดยตรง แทนระบบรัฐสภาแบบเดิม
ผลของเหตุการณ์การปฏิวัติ การปฏิวัติฝรั่งเศส .เป็นอย่างไร
1. เปลี่ยนจากการปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (คนเดียว) มาสู่ระบอบสาธารณรัฐ (หลายตน)
2. มีการล้มล้างกลุ่มอภิสิทธิชน พระและขุนนางหมดอำนาจ, กลุ่มสามัญชน กรรมกร ชาวนา และโดยเฉพาะกลุ่ม
ชนชั้นกลาง เข้ามามีอำนาจแทนที่
3. ศาสนาจักรถูกรวมเข้ากับรัฐ ทำให้อำนาจของสันตะปาปาถูกควบคุมโดยรัฐ
4. เกิดความวุ่นวายทั่วประเทศเพราะประชนชนบางส่วนยังติดอยู่กับการปรครองแบบเก่า
5. มีการทำสงครามกับต่างชาติ
6. มีการขยายอิทธิพลแนวความคิดและเป็นต้นแบบของการปฏิวัติเไปยังประเทศอื่น ๆ ในยุโรป
40

ใบงานที่ 21 : แนวคิดประชาธิปไตย
ให้นักเรียนบอกชื่อบุคคลสำคัญที่ส่งผลต่อประวัติศาสตร์ยุคสมัยใหม่และอธิบายแนวคิดของบุคคลนั้น
ชื่อ อดัม สมิธ (Adam Smith)
แนวคิดที่ส่งผลต่อประวัติศาสตร์ยุคสมัยใหม่
เป็นเจ้าของทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ลัทธิเสรีนิยม
ได้รับการยกย่องเป็น "บิดาแห่งเศรษฐศาสตร์"

ชื่อ คาร์ล มาร์กซ์ (Karl Marx)


แนวคิดที่ส่งผลต่อประวัติศาสตร์ยุคสมัยใหม่
เป็นนักปรัชญา นักเศรษฐศาสตร์การเมือง นักประวัติศาสตร์ นักสังคมนิยม นัก
คอมมิวนิสต์ และนักปฏิวัติชาวเยอรมัน เป็นเจ้าของแนวคิดที่มีบทบาทสำคัญยิ่งต่อ
การพัฒนาคอมมิวนิสต์สมัยใหม่ บิดาแห่งลัทธิสังคมนิยม (มาร์กซิส)
ชื่อ มาเคียเวลลี่ (Nicolo Machiavelli)
แนวคิดที่ส่งผลต่อประวัติศาสตร์ยุคสมัยใหม่
เขามีชื่อเสียงจากงานเขียนเรื่องสั้นการเมืองเรื่อง เจ้าผู้ปกครอง (The Prince)
เสนอทฤษฎีการเมืองแบบใช้อำนาจ และเป็นผู้เพิกเฉยจริยธรรมทั้งหมดนั่นเอง

ชื่อ ฌอง ฌาค รุสโซ (Jean Jacques Rousseau)


แนวคิดที่ส่งผลต่อประวัติศาสตร์ยุคสมัยใหม่
เจ้าของแนวคิด สัญญาประชาคม รุสโซ เสนอให้ประชาชนทำสัญญาประชาคม
ร่วมกัน เรียกว่า สัญญาประชาคม (Social Contract) เพื่อสร้างประชาคม
การเมืองขึ้น
ชื่อ มงเต็สกีเยอ (Montesquieu)
แนวคิดที่ส่งผลต่อประวัติศาสตร์ยุคสมัยใหม่
ผู้ให้กำเนิดแนวคิดในการแบ่งแยกอำนาจปกครองสูง สุดหรืออำนาจอธิปไตย
ออกเป็น 3 ฝ่าย อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหารและอำนาจตุลาการ

ชื่อ โทมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes)


แนวคิดที่ส่งผลต่อประวัติศาสตร์ยุคสมัยใหม่
เป็นนักปรัชญาการเมือง ชาวอังกฤษ โด่งดังจากผลงานหนังสือชื่อ Leviathan
และแนวคิดสัญญาประชาคม
41

ให้นักเรียนบอกชื่อบุคคลสำคัญที่ส่งผลต่อประวัติศาสตร์ยุคสมัยใหม่และอธิบายแนวคิดของบุคคลนั้น
ชื่อ จอห์น ล็อก (John Locke)
แนวคิดที่ส่งผลต่อประวัติศาสตร์ยุคสมัยใหม่
เจ้าของแนวคิดอิสรภาพตามธรรมชาติ แบ่งออกเป็น 3 ด้านได้แก่
อิสรภาพทางร่างกายของตนเอง
อิสรภาพทางความคิดและความรู้สึกของตนเอง
และอิสรภาพที่จะจัดการต่อทรัพย์สินที่ตนได้มาโดยชอบทางกฎหมาย
ชื่อ วอลแตร์ (Voltaire)
แนวคิดที่ส่งผลต่อประวัติศาสตร์ยุคสมัยใหม่
“ความคิดวิพากษ์วิจารณ์”แก่ชาวฝรั่งเศสโดยรวม ทำให้ชาวฝรั่งเศสตั้งคำถามต่อ
ทุกเรื่องทุกเหตุการณ์ที่ปรากฏในสังคมของตน ไม่ว่าจะเป็นทางด้านสถาบัน
การเมืองการปกครอง โดยเขาได้โจมตีระบอบการปกครองแบบ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์ สถาบันกษัตริย์ การใช้อำนาจตามอำเภอใจของกษัตริย์
สถาบันศาสนา โจมตีคำสอนความเชื่อที่งมงาย เป็น“เจ้าของปากกาที่คมกว่าอาวุธ”
ชื่อ เกออร์ก เฮเกล (Georg Wilhelm Friedrich Hegel)
แนวคิดที่ส่งผลต่อประวัติศาสตร์ยุคสมัยใหม่
มนุษย์เป็นสัตว์สังคมจึงมีความรู้สึกผูกพันธ์กับการอยู่รวมกัน และการรวมตัวของรัฐ
ก็มีรูปแบบมาจากครอบครัวหรือหน่วยสังคมเล็กๆ โดยเป้าหมายของการมารวมกัน
ก็เพื่อสนองต่อความต้องการที่ไม่จำกัดของคน เป็นผู้ให้กำเนิดอุดมการณ์สังคมนิยม
คอมมิวนิสต์ แนวคิดของเขาส่งผลต่อแนวคิดของคาร์ล มาร์กซ์
ชื่อ ฟรีดริช เองเกลส์ (Friedrich ... Engels)
แนวคิดที่ส่งผลต่อประวัติศาสตร์ยุคสมัยใหม่ เป็นนักคิดนักเขียนชาวเยอรมัน และนัก
ทฤษฎีสังคมนิยมวิทยาศาสตร์ เป็นเพื่อนร่วมงานและคู่คิดที่ใกล้ชิดของคาร์ล มากซ์
โดยร่วมกันวางรากฐานของอุดมการณ์คอมมิวนิสต์และลัทธิมากซ์ และมีบทบาท
สำคัญในการปรับปรุงหลักการของลัทธิมากซ์ว่าด้วยวัตถุนิยมทางประวัติศาสตร์
และวัตถุนิยมวิภาษวิธีให้ก้าวหน้าจนเป็นที่ยอมรับทั่วไปในขบวนการสังคมนิยม
ชื่อ นโปลียง โบนาปาร์ต (Napoléon Bonaparte)
แนวคิดที่ส่งผลต่อประวัติศาสตร์ยุคสมัยใหม่
เขาได้ยึดอำนาจและทำให้ฝรั่งเศส ได้กลายมาเป็นระบอบจักรวรรดินิยมอีกครั้งโดย
การสถาปนาตัวเองเป็นกษัยตริย์
42

ใบงานที่ 22 : ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
ตอนที่ 1 : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้
1. ในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 เกิดศิลปะแบบ บารอก (Baroque)
ซึ่งสืบต่อจากศิลปะแบบ ฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ (Renaissance)
2. ศิลปะแบบบารอก (Baroque) มีลักษณะ แสดงออกถึงอิสรภาพของมนุษย์ ตามแนวความคิดมนุษยนิยม
แสดงออกถึงลักษณะแน่นอนตายตัวของศิลปิน แสดงการเคลื่อนไหวหรือสร้างให้มีรูปทรงบิดผันจนเกินงามหรือ
ประณีตบรรจงเกินไป และเน้นบรรยากาศโอ่อ่าหรูหรา ศิลปะแนวนี้รุ่งเรืองมากในอิตาลีและกลุ่มประเทศคาทอลิก
2.1 จิตรกรรม ของศิลปะแบบบารอก (Baroque) มีลักษณะ มีการลวงตาด้วยเส้น สี แสงเงาและหลักทัศนียวิสัย
ทำให้ภาพกินตา เป็นภาพสามมิติ
จิตกรคนสำคัญในยุคนี้คือ มีเกลันเจโล ดา การาวัจโจ (Michelangelo da Caravaggio)
มีผลงานเด่นคือ การตัดหัวของนักบุญจอห์น แบ็พติสต์ (ยุคบาโรก)
2.2 สถาปัตยกรรม ของศิลปะแบบบารอก (Baroque) มีลักษณะ แสดงออกถึงความใหญ่โตหรูหรา และการ
ประดับประดาที่ฟุ่มเฟือย เกิน ความจำเป็น
ตัวอย่างสถาปัตยกรรมในยุคนี้เช่น พระราชวังแวร์ซายส์ ( Versailles )ของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส
2.3 ดนตรี ของศิลปะแบบบารอก (Baroque) มีลักษณะ มีทั้งเพลงศาสนาและไม่ใช่เพลงศาสนา ขนาดของวง
ดนตรีขยายใหญ่เป็นแบบ Orchestra ใช้ผู้เล่นและเครื่องดนตรีจำนวนมาก มีการแต่งเพลงและใช้โน้ตเพลง และ
เปิดการแสดงดนตรีในห้องโถงใหญ่ๆ
นักดนตรีคนสำคัญในยุคนี้คือ โยฮันน์ เซบาสเตียน บาค ( Johann Sebastian Bach ) ชาวเยอรมัน
มีผลงานเด่นคือ Passion (เพลงที่ใช้ร้องตามโบสถ์คริสต์)
2.3 วรรณกรรม ของศิลปะแบบบารอก (Baroque) มีลักษณะ ชอบเขียนเรื่องที่เกินจริง ซึ่งในสมัยคริสต์ศตวรรษ
ที่ 17 ได้ชื่อว่าเป็น ยุคทองแห่งวรรณกรรมยุโรปกวีคนสำคัญในยุคนี้
กวีคนสำคัญในยุคนี้คือ Calderon
มีผลงานเด่นคือ"Life is a dream"
3. ศิลปะแบบบารอกเสื่อมความนิยมเมื่อประมาณกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18
4. ศิลปะสมัยใหม่เกิดขึ้นในช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 18 ถึง คริสต์ศตวรรษที่ 20
5. ลักษณะสำคัญของ “ศิลปะสมัยใหม่” (Modern Art) คือ ทัศนคติใหม่ๆที่มีต่ออดีตและอนาคต ซึ่งเป็นไปแบบสุด
ขั้วโดยเริ่มต้นมาตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 ที่ถือกันว่าเป็นยุคปฏิวัติของยุโรปศิลปินเริ่มที่จะให้การยอมรับ
การเขียนภาพ “เหตุการณ์ปัจจุบัน-ร่วมสมัย”
6. ศิลปะสมัยใหม่ได้แก่ ศิลปะแบบ ศิลปะแบบนีโอคลาสสิก (Neo-Classic) ศิลปะแบบโรแมนติก
(Romanticism) ศิลปะแบบเรียลิสม์ (Realism) ศิลปะแบบอิมเพรสชันนิสม์ (Impressionism) ศิลปะแบบ
โพสต์ – อิมเพรสชันมิสม์ (Post-Impressionism) ศิลปะสมัยใหม่ในศตวรรษที่ 20
43

7. ศิลปะแบบคลาสสิคใหม่ (Neo-Classicism)ได้รับความนิยมในช่วง คริสต์ศตวรรษที1่ 8-กลางคริสต์ศตวรรษที่ 19


มีลักษะเด่นคือ มีความเคลื่อนไหว ของศิลปะ ซึ่งมีสุนทรียภาพตามแบบศิลปะกรีกและโรมัน
7.1 จิตรกรรม ของศิลปะแบบคลาสสิคใหม่ (Neo-Classicism) มีลักษณะ เน้นในเรื่องเส้นมากกว่าการให้สี
แสดงออกให้เห็นถึงความสง่างาม และยิ่งใหญ่ในความเรียบง่าย คล้ายกับผลงานของกรีกโบราณ มีการใช้สีถกู ต้องตามแสงเงา
ไล่เฉดสีอ่อนแก่เพื่อให้เกิดความกลมกลืน มีสัดส่วนและ ความเด่นชัด บางครั้งแสดงออกถึงแนวคิดใหม่ๆ
จิตกรคนสำคัญในยุคนี้คือชาก ลุย ดาวิด Jacques Louis Davidมีผลงานเด่นคือ La Mort de Marat
7.2 ประติมากรรม ของศิลปะแบบคลาสสิคใหม่ (Neo-Classicism) มีลักษณะ ลอกเลียนแบบประติมากรรม
ของกรีก-โรมัน ประติมากรรมคนมักใช้ใบหน้าจากแบบจริงผสมผสานกับรูปร่างแบบสมัยคลาสสิก
ประติมากรคนสำคัญในยุคนี้คือ อันโตนีโอ คาโนวา ( Antonio Canova )
มีผลงานเด่นคือ Psyche Revived by Cupid’s Kiss จากวรรณกรรมกรีกเรื่อง The Golden Ass
7.3 สถาปัตยกรรม ของศิลปะแบบคลาสสิคใหม่ (Neo-Classicism) มีลักษณะ คล้ายกรีกและโรมัน สะท้อน
เรื่องราวของอารยธรรมโบราณ นิยมลวดลายนูนตื้นๆ ไม่หรูหรามากนัก ลายทรงเรขาคณิต แสดงความสง่า
ของทรวดทรง เน้นในความสมดุลได้สัดส่วน ตัวอย่างสถาปัตยกรรมในยุคนี้เช่น ประตูชัย ฝรั่งเศส
7.4 นาฏยกรรม ของศิลปะแบบคลาสสิคใหม่ (Neo-Classicism) มีลักษณะ ได้รับอิทธิพลจากการละครกรีก
ซึ่งต้องการแสดงความสมเหตุสมผลของเรื่อง และมุ่งมั่นที่จะสั่งสอนนอกเหนือจากการให้ความเพลิดเพลิน
ตัวอย่าง นาฏยกรรมในยุคนี้ เช่น The Poetics
7.5 ดนตรี ในของศิลปะแบบคลาสสิคใหม่ (Neo-Classicism) มีลักษณะ แสดงออกด้านความคิดเห็น ความ
เสมอภาค ความคิดที่เชื่อมั่นในเหตุผล สติปัญญาและความสามารถของมนุษย์มีบทบาทที่ทำให้การแต่งเพลงมี
อิสระมากขึ้น นักดนตรีคนสำคัญในยุคนี้คือ วอล์ฟกัง อะมาเดอุส โมสาร์ต(Wolfgang Amadeus Mozart
มีผลงานเด่นคือ เพลงซิมโฟนี 41 บท ผลงานติดหูคือ Rondo Alla Turca
8. ศิลปะแบบจินตนิยม (Romanticism) เกิดขึ้นในช่วง ปลายคริสต์ศตวรรษ18-กลางคริสต์ศตวรรษ19
มีลักษะเด่นคือเน้นอารมณ์และความรู้สึกภายใน เนื่องจากผู้คนเริ่มเบื่อหน่ายการใช้เหตุผลและกลับไปชืน่ ชมความงามของ
ธรรมชาติ พอใจในเรื่องราวแปลกใหม่ โดยไม่คำนึงถึงประเพณีนิยม
8.1 สถาปัตยกรรม ของศิลปะแบบจินตนิยม (Romanticism) มีลักษณะดัดแปลงตามจินตนาการ เพื่อให้
เกิดผลทางด้านอารมณ์ ส่วนใหญ่จะได้รับอิทธิพลจากสถาปัตกรรมแบบกอทิก
ตัวอย่างสถาปัตยกรรมในยุคนี้เช่น The Basilica of Saint-Sernin
8.2 ประติมากรรม ของศิลปะแบบจินตนิยม (Romanticism) มีลักษณะ เน้นการแสดงอารมณ์ ความรู้สึก
ประติมากรคนสำคัญในยุคนี้คือ ฟรองซัว รูเด( Francois Rude)
มีผลงานเด่นคือ ประติมากรรมนูนสูงมาร์ซายแยส( Marseillaise )ประดับฐานอนุสาวรีย์ประตูชัย
8.3 จิตรกรรม ของศิลปะแบบจินตนิยม (Romanticism) มีลักษณะ มีการจัดองค์ประกอบด้วยสี เส้น แสงเงา
และปริมาตรค่อนข้างรุนแรง มุ่งให้เกิดความสะเทือนอารมณ์ คล้อยตามไปกับจินตนาการที่เต็มไปด้วยความ
เพ้อฝัน แปลกประหลาดตื่นเต้นเร้าใจ ความรุนแรง และความน่าหวาดเสียวสยดสยอง
จิตกรคนสำคัญในยุคนี้คือ ออชอน เดอลา-กรัวซ์ ( Eugene Delacroix )
มีผลงานเด่นคือ ผู้เขียนภาพอิสรภาพนำประชาชน ( Liberty leading the people )
8.4 ดนตรี ของศิลปะแบบจินตนิยม (Romanticism) มีลักษณะ มีจุดมุ่งหมายที่จะเร้าความรู้สึกทางจิตใจ
นักดนตรีคนสำคัญในยุคนี้คือ บีโทเฟน(Ludwig Van Beethoven)
มีผลงานเด่นคือ Symphony No. 1 - 9, Moonlight Sonata, Fur Elise, Fidelio, and Missa
Solemnis
44

8.5 การละคร ของศิลปะแบบจินตนิยม (Romanticism) มีลักษณะ นิยมแสดงเรื่องที่ตัวเอกประสบปัญหา


อุปสรรค หรือมีข้อขัดแย้งในชีวิต
บทละครที่ยิ่งใหญ๋ในยุคนี้คือ เฟาสต์ (Faust)
เป็นผลงานเด่นของ โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอ (Johann Wolfgang von Goethe)
8.6 วรรณกรรม ของศิลปะแบบจินตนิยม (Romanticism) มีลักษณะ เน้นจินตนาการและอารมณ์ โดยถือ
ความต้องการของผู้ประพันธ์เป็นสำคัญ
กวีคนสำคัญในยุคนี้ได้แก่ วิกเตอร์-มารี อูโก (Victor-Marie Hugo)
นวนิยายที่มีชื่อเสียงมากในยุคนี้คือ เหยื่ออธรรม (Les Miserables)
9. ศิลปะแบบสัจนิยม (Realism) เกิดขึ้นใน คริสต์ทศวรรษ 1850
มีลักษะเด่นคือแสดงให้เห็นถึงสภาพที่เป็นจริงของสังคม ความชั่วร้ายของนายทุน ความไม่ยุติธรรมในสังคม
9.1 สถาปัตยกรรม ของศิลปะแบบสัจนิยม (Realism) มีลักษณะ การสร้างโรงงานขนาดใหญ่ อาคารสา
นักงานที่สูงหลายๆชั้นกันมาก การก่อสร้างอาคารจะนาวัสดุที่เกิดจากเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้
ตัวอย่างสถาปัตยกรรมในยุคนี้เช่น หอไอเฟล
9.2 ประติมากรรม ของศิลปะแบบสัจนิยม (Realism) มีลักษณะ นิยมปั้นและหล่อรูปคนมีรูปร่างสัดส่วน
เหมือนคนจริง ผิวรูปปั้นหยาบ ไม่เรียบ เมื่อมีแสงส่องกระทบจะเห็นกล้ามเนื้อชัดเจน
ประติมากรคนสำคัญในยุคนี้คือ โอกูสต์ โรแดง (Auguste Rodin)
มีผลงานเด่นคือ นักคิด (The Thinker) หล่อด้วยสำริด
9.3 จิตรกรรม ของศิลปะแบบสัจนิยม (Realism) มีลักษณะ มักสะท้อนสภาพชีวิตจริงของมนุษย์
จิตกรคนสำคัญในยุคนี้คือ กูสตาฟ กูร์เบ (Gustave Courbet)
มีผลงานเด่นคือ Self-portrait (The Desperate Man)
9.4 ดนตรี ของศิลปะแบบสัจนิยม (Realism) มีลักษณะ มีการแต่งเพลงในรูปแบบใหม่ ไม่ยึดถือแบบเก่าที่
เคยมีมา ตามแนวคิดที่ว่า ดนตรีจะต้องประกอบด้วยทั้งสีสันและจังหวะ
นักแต่งเพลงคนสำคัญในยุคนี้คือ โคลด เดอบูชี ( Claude Debussy)
มีผลงานเด่นคือ ลาแมร์ (La mer)
9.5 การละคร ของศิลปะแบบสัจนิยม (Realism) มีลักษณะ พวกสัจนิยมมักสะท้อนภาพสังคมหรือภาพชีวิต
ในแง่มุมต่างๆ การแสดงสมจริงเป็นธรรมชาติ
นักแต่งบทละครสำคัญในยุคนี้ได้แก่ เฮนริก อิบเซน (Henrik Ibsen)
ผลงานเด่นด้านการละครในยุคนี้ได้แก่ บ้านตุ๊กตา ( A Doll’s House ).
9.6 วรรณกรรม ของศิลปะแบบสัจนิยม (Realism) มีลักษณะ พยายามสะท้อนภาพการต่อสู้ดิ้นรนของมนุษย์
ในสังคม ความเห็นแก่ตัว การแข่งขันเอารัดเอาเปรียบ ความยากจนและชีวิตที่ไร้ความหวัง
กวีคนสำคัญในยุคนี้ได้แก่ ชาร์ลส์ ดิกแกนส์ (Charles Dickens )
นวนิยายที่สำคัญในยุคนี้ได้แก่ "โอลิเวอร์ ทวิสต์" (Oliver Twist )
45

ตอนที่ 2 ให้นักเรียน ศึกษารูปภาพที่ให้แล้วตอบคำถามต่อไปนี้


ผลงานนี้ชื่อสงครามและสันติภาพ(Guerra e Pace in pillole)
โดยศิลปิน เลโอ ตอลสตอย (Leo Tolstoy)
เป็นผลงานด้าน วรรณกรรม
เป็นศิลปะยุค สัจนิยม
ลักษณะเด่นของผลงานด้าน วรรณกรรม ในยุคนี้
สนใจข้อเท็จจริงมากกว่าอารมณ์และความรู้สึก โดยพยายาม
สะท้อนภาพการต่อสู้ดิ้นรนของมนุษย์ในสังคม ความเห็นแก่ตัว
การแข่งขันเอารัดเอาเปรียบ ความยากจน และชีวิตที่ไร้
ความหวัง
ผลงานนี้ชื่อ ห้องกระจก พระราชวังแวร์ซาย
โดยศิลปิน Louis Le Vau (หลุยส์ เลอ โว)
เป็นผลงานด้าน สถาปัตยกรรม จิตรกรรม
เป็นศิลปะยุค บารอกและรอกโกโก
ลักษณะเด่นของผลงานด้าน สถาปัตยกรรม จิตรกรรมในยุคนี้
นิยมเล่นเส้นโค้งตัวซีและตัวเอส (S และ C curves) แบบ
เปลือกหอย หรือการม้วนต้วของใบไม้ เป็นหลัก และจะเน้นการ
ตกแต่งประดิดประดอย จนทำให้นักวิจารณ์ศิลปะค่อนว่าเป็น
ศิลปะของความฟุ้งเฟ้อและเป็นเพียงศิลปะสมัยนิยมเท่านั้น
ศิลปินท่านนี้ วอล์ฟกัง อะมาเดอุส โมสาร์ต
เป็นผู้สร้างผลงานด้าน ดนตรี
เป็นศิลปะยุค คลาสสิคใหม่ (Neo-Classicism)
ลักษณะเด่นของผลงานดนตรี ในยุคนี้
แสดงออกด้านความคิดเห็น ความเสมอภาค ความคิดที่เชื่อมั่น
ในเหตุผล สติปัญญาและความสามารถของมนุษย์มีบทบาทที่ทำ
ให้การแต่งเพลงมีอิสระมากขึ้น
ผลงานนี้ชื่อ The Stone Breakers (1849)
โดยศิลปิน กูสตาฟ กูร์เบ (Gustave Courbet)
เป็นผลงานด้าน จิตรกรรม
เป็นศิลปะยุค สัจนิยม (Realism)
ลักษณะเด่นของผลงานด้าน จิตรกรรม ในยุคนี้
มักสะท้อนสภาพชีวิตจริงของมนุษย์ในด้านลบ
46

ตอนที่ 2 ให้นักเรียน ศึกษารูปภาพที่ให้แล้วตอบคำถามต่อไปนี้


ผลงานนี้ชื่อ"โอลิเวอร์ ทวิสต์" (Oliver Twist )
โดยศิลปิน ชาร์ลส์ ดิกแกนส์ (Charles Dickens )
เป็นผลงานด้าน วรรณกรรม
เป็นศิลปะยุค สัจนิยม (Realism)
ลักษณะเด่นของผลงานด้านวรรณกรรม ในยุคนี้
พยายามสะท้อนภาพการต่อสู้ดิ้นรนของมนุษย์ในสังคม
ความเห็นแก่ตัว การแข่งขันเอารัดเอาเปรียบ ความยากจนและ
ชีวิตที่ไร้ความหวัง

ผลงานนี้ชื่อ นักคิด (The Thinker) หล่อด้วยสำริด


โดยศิลปิน โอกูสต์ โรแดง (Auguste Rodin)
เป็นผลงานด้าน ประติมากรรม
เป็นศิลปะยุค สัจนิยม (Realism)
ลักษณะเด่นของผลงานด้าน ประติมากรรม ในยุคนี้
นิยมปั้นและหล่อรูปคนมีรูปร่างสัดส่วนเหมือนคนจริง ผิวรูป
ปั้นหยาบ ไม่เรียบ เมื่อมีแสงส่องกระทบจะเห็นกล้ามเนื้อชัดเจน
ผลงานนี้ชื่อ “The Gleaners” หรือ “ผู้เก็บเกี่ยวข้าวหล่น”
โดยศิลปิน ฌ็อง-ฟร็องซัว มีแล (Jean-François Millet)
เป็นผลงานด้าน จิตรกรรม
เป็นศิลปะยุค สัจนิยม (Realism)
ลักษณะเด่นของผลงานด้าน จิตรกรรม ในยุคนี้
เขียนภาพจากสิ่งที่พบเห็น เช่น ภาพชีวิตของคนยากจนในเมือง
ใหญ่ การใช้ชีวิตหรูหราของชนชาติกลาง ต่อมาภาพวาดมี
ลักษณะให้ความสำคัญกับแสง สี และเงามากกว่าเส้น นิยมวาด
ทิวทัศน์ตามธรรมชาติ เรียกว่า “ศิลปะแบบอิมเพรสชันนิสม์”
ผลงานนี้ชื่อ ประตูชัยหรืออาร์กเดอทรียงฟ์เดอเลตวล
(Arc de triomphe de l'Étoile)
โดยศิลปิน ฌ็อง ชาลแกร็ง
เป็นผลงานด้าน สถาปัตยกรรม
เป็นศิลปะยุค นีโอคลาสสิก
ลักษณะเด่นของผลงานด้าน สถาปัตยกรรม ในยุคนี้
คล้ายกรีกและโรมัน สะท้อนเรื่องราวของอารยธรรมโบราณ
นิยมลวดลายนูนตื้นๆ ไม่หรูหรามากนัก ลายทรงเรขาคณิต
แสดงความสง่าของทรวดทรง เน้นในความสมดุลได้สัดส่วน

You might also like