You are on page 1of 32

รัฐและปัจจัยแห่ งอํานาจรัฐ

(รัฐในความคิดทางการเมืองระหว่างประเทศ)
u รัฐและปั จจัยแห่งอํานาจรัฐ
u (รัฐในความคิดทางการเมืองระหว่างประเทศ)
u รัฐ –State หรือ “รัฐชาติ” (Nation State) เป็ นรากฐานสําคัญ
ของการจัดระเบียบทางการเมืองโลก สามารถก่อให้เกิดความรูส้ กึ รุนแรงทาง
อารมณ์เพราะมีรากฐานอยูท่ Rี “ชาตินิยม” ทีRก่อตัวขึนS ในช่วงสมัยใหม่ทาง
ประวัตศิ าสตร์ คนจํานวนมากเสียชีวิตลงในนามของรัฐ
u ปั จจุบนั
u รัฐในความหมายของการจัดระเบียบทางการเมืองมีลกั ษณะสําคัญอยูท่ @ีความเป็ นเอกเทศทางดินแดน
u การมีรฐั บาลที@มีอาํ นาจครอบคลุมเหนือดินแดนและพลเมืองของรัฐถูกท้าทายอย่างมาก
u การท้าทายมิได้มาจากการคุกคามทางทหาร แต่เป็ นการคุกคามต่อความคิดและโลกทรรศน์ท@ีเป็ นความเข้าใจพืนO ฐานว่าด้วยความเป็ นรัฐ
ได้แก่ กระแสการเปลี@ยนแปลงที@เกิดขึนO ในโลก นับจากกระแสข้ามชาติตา่ งๆ ไปจนถึงกระแสที@มาจากภายในรัฐเอง ทังO หมดนีมO ีผลในแง่ของ
การบั@นทอนสถานะ บทบาท และอํานาจรัฐอย่างรุนแรงที@สดุ
u ต้องกําหนดวิธีคดิ และความเข้าใจพืนO ฐานที@เรามีตอ่ รัฐเสียใหม่
u คนทั@วไปยังมีความเข้าใจต่อรัฐแบบเดิมๆ คือศักดิสV ทิ ธิVและมีความสําคัญในการเป็ นสถาบันในความหมายของการจัดระเบียบ
u นักวิเคราะห์และนักปฏิบตั ิซง@ึ เป็ นผูก้ าํ หนดและดําเนินกุศโลบายของรัฐยังเน้นความเป็ นเอกเทศของรัฐ สะท้อนให้เห็นทัศนคติและท่าทีของ
อิทธิพลของชาตินิยม และคตินิยมเกี@ยวกับรัฐที@ยงั หลงเหลืออยูม่ าก
u บางทีโลกทรรศน์ของคนก็มิได้สะท้อนความเป็ นจริง บ่อยครังO จะฝังรากอยูก่ บั คตินิยมและประเพณีทางความคิดที@ไม่สอดคล้องกับยุคสมัย
u รัฐชาติสมัยใหม่
u โดยทั@วไปเข้าใจกันว่าสังคมโลก (World society) ประกอบด้วยรัฐใหญ่นอ้ ยที@ดาํ เนินบทบาทและพฤติกรรมที@มงุ่ ส่งเสริมและตอบสนอง
ผลประโยชน์ของชาติ (National interest) ภาพลักษณ์ (Image) ที@เรามีตอ่ สังคมเปรียบได้กบั การกระทําของลูกบิลเลียด
(Billiard – ball model) เคลื@อนไปตามพลวัต (Dynamic) แห่งปฏิสมั พันธ์ แต่ละรัฐก็ดาํ เนินบทบาทและกิจการของตนอย่าง
เอกเทศ
u การก่อตัวของรัฐ สิ@งดังกล่าวดําเนินเรือ@ ยมาจนถึงศตวรรษที@ \] การก่อตัวของรัฐชาติสะท้อนความเป็ นสมัยใหม่ (Modernism) อย่างน้อย
^ ลักษณะ
u ชาตินิยมในความหมายของการแสวงหาความเป็ นชาติท@ีมีอิสระ ปลอดจากการครอบงําของทังO จักรวรรดิและศาสนจักร มีเอกลักษณ์ความเป็ น
ชาตินิยมของตนเอง ต้องการรวมชาติท@ียงั แตกแยกกระจายให้เป็ นปึ กแผ่นภายใต้ศนู ย์รวมอํานาจทางการเมืองที@เข้มแข็งของกษัตริย ์
u ั ญา “Peace of Westphalia ใน ค.ศ.
การก่อตัวของรัฐชาติถือกําเนิดมาจากสงครามและความยุง่ เหยิงในยุโรปที@ยตุ ลิ งโดยสนธิสญ
\`ab ตามสัญญานีผO คู้ รองรัฐและกษัตริยย์ ินยอมที@จะมอบอธิปไตยของกันและกันเหนือดินแดนที@กาํ หนดขึนO ระหว่างกันเสียใหม่
u ระบบที&กาํ หนดขึน/ จึงกลายมาเป็ นโครงสร้างและแบบแผนทัง/ ทางจารีตและกฎหมายที&รูจ้ กั กันมาจนถึงปั จจุบนั ว่า “ระบบเวสต์
ฟาเลีย” (Westphalia System)
u ปั จจุบนั กระแสชาตินิยมได้กลับมาใหม่พร้อมๆ กับกระแสโลกาภิวตั น์ (Globalisation) นําไปสูก่ ารสลายตัวของรัฐ
บางรัฐได้แก่ สหภาพโซเวียต ยูโกสลาเวีย การเกิดขึน/ มาของรัฐใหม่ท&ีดาํ รงความเป็ นชาติเอกเทศตลอดมา โดยเฉพาะอย่างยิ&ง
ที&เคยอยู่ในสหภาพโซเวียต ความเคลื&อนไหวดังกล่าวมิได้นาํ ไปสูก่ ารพัฒนาครัง/ ใหม่ของรัฐชาติอย่างราบรื&น มีความไม่ลงตัว
ระหว่าง “รัฐ” กับ “ชาติ” ให้เห็นในกรณีของบอสเนีย อันน่าจะส่งผลต่อการพัฒนาสังคมต่อไปในอนาคต
u เหตุผลนิยม (Rationalism) การก่อตัวของรัฐชาติ เป็ นการจัดระเบียบทางการเมืองใหม่ท&ีสอดคล้องกับพัฒนาการด้าน
ความรู แ้ ละความคิดที&มีรากฐานอยู่ท&ีหลักของเหตุผล (Rationality) อันเป็ นคุณลักษณะสําคัญของความเป็ นสมัยใหม่
ที&เกิดมาพร้อมกับความรุง่ เรืองทางปั ญญาในยุโรป
u ด้วยเหตุนีร+ ฐั ชาติจึงเป็ นหน่วยหรือการจัดระเบียบทางสังคมทีAเหมาะทีAสดุ คือจัดระเบียบทีAมีความเป็ นปึ กแผ่นทัง+ ทางการเมือง สังคมและ
วัฒนธรรม
u เป็ นรากฐานสําหรับ บุคคลจะดํารงชี พและรักษาเอกลักษณ์ความเป็ น ชาติดว้ ยความมัAน คงปลอดภัยตลอดจนแสวงหาความสุขและ
เป้าหมายอืAนๆ ในชีวิต รวมทัง+ การพัฒนาเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม Hegel กล่าวว่ารัฐสมัยใหม่เป็ นการบรรลุภาวะสูงสุดหรือ
จุดหมายปลายทางแห่งประวัติศาสตร์ เป็ นรู ปแบบการจัดระเบียบทีAเหนือกว่ารู ปแบบทางสังคมทีAเคยปรากฏมาก่อนหน้านีท+ งั+ หมด ไม่
เพียงแต่รฐั จะมีบทบาทสําคัญในการหล่อหลอมบุคคลเท่านัน+ แต่รูปแบบของรัฐสมัยใหม่นีเ+ ท่านัน+ ทีAชีวิตทางจริยธรรมให้เสรีภาพแก่ทกุ
คนเป็ นไปได้
u Secularism เป็ นพัฒนาการของรัฐทีAตอ้ งการจะแยกอํานาจรัฐออกจากอํานาจของศาสนจักร อํานาจทัง+ สองนีต+ อ่ สูก้ น ั มาตัง+ แต่สมัย
กลาง การรวมอํา นาจรัฐ ทีA เ ข้ม แข็ ง อัน หนึA ง เดี ย วกัน ภายใต้ก ษั ต ริย ์คื อ ความสํา เร็จ สํา คัญ ทีA จ ะแยกอํา นาจทั+ง สองออกจากกัน ใน
ประวัติศาสตร์ นักปรัชญาการเมืองเช่น Immanuel Kant เป็ นผูด้ บู ทบาทของบุคคลมากกว่าความเป็ นเอกเทศของรัฐ
“cosmopolitanism” เขามองสั ง คมโลกเป็ นสากลมากกว่ า จะเป็ นสั ง คมของรั ฐ ซึA ง เป็ นแนวคิ ด ตรงกั น ข้ า มกั บ
“communitarianism” ก็ยอมรับสถานะและบทบาทของรัฐเช่นกัน
u สรุปได้วา่ เมื.อกล่าวถึงสังคมโลกจะหมายถึงสังคมของรัฐที.เป็ นเอกเทศมีอธิปไตยของตัวเอง แต่เดิมคิดว่ากันว่าอธิปไตยเกี.ยวข้องกับสถานะของเจ้าผูค้ รองยุโรป ทําให้
เจ้าผูค้ รองแตกต่างจากผูอ้ ยู่ใต้ปกครองที.ไม่มีสถานะทางกฎหมาย สถานะของความเป็ นอธิ ปไตยของเจ้าผูค้ รองนครได้รบั สืบทอดมาที.รฐั ชาติ ในระยะต่อมา
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐหรือรัฐชาติภายใต้การยอมรับสถานะดังกล่าวของกันและกันคือที.มาของรัฐสมัยใหม่ (modern state system)

u ปั จจัยทีก' ่อให้เกิดรัฐชาติ
u ความเป็ นเอกเทศทางดินแดนอันเป็ นการแสดงตัวตนที.เป็ นรูปธรรมแท้จริงของรัฐ และเป็ นเกราะกําบัง หรือเปลือกแข็ง (hard shell) ที.จะปกป้องคุม้ ครอง
พลเมืองในชาติในการดําเนินกิจกรรมในชีวิตและสร้างความก้าวหน้าให้แก่ชาติในด้านต่างๆ ด้วย ไม่ยอมให้อาํ นาจภายนอกเข้าไปก้าวก่ายในรัฐ

u รัฐในฐานะทีเ' ป็ นตัวแสดงบนเวทีโลก
u สภาวะ “อนาธิปไตย” ในสังคมโลกทําให้รฐั ต่างๆ ต้องพึ.งพาตนเองในด้านการรักษาความมั.นคงปลอดภัยภายในชาติทาํ ให้ปัญหานีกX ลายมาเป็ นประเด็นหลักใน
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ
u การยอมรับว่ารัฐต่างๆ เท่าเทียมกันทางกฎหมายทําให้รฐั มีความนัยสําคัญหลายประการ เช่น รัฐเท่านัน+ ทีAจะเป็ นสมาชิกองค์การ
ระหว่างประเทศได้ เป็ นผูอ้ อกกฎหมาย และกําหนดนโยบายทีAจะมีผลต่อกรณีต่างๆ ภายในรัฐ รวมทัง+ ทําความตกลงสนธิสญ ั ญา
และการปฏิบตั ิตามพันธกรณีทางกฎหมายทีAกระทําไว้
u ในทางการเมืองความเท่าเทียมทางกฎหมายแสดงถึงความเท่าเทียมกันด้านศักดิ[ศรีและเกียรติภมู ิ สําหรับชาติเล็กๆ มีความหมาย
มากเพราะเป็ นการชดเชยความไม่เท่าเทียมระหว่างรัฐทีAมีอยูใ่ นความเป็ นจริง
u การดํารงความศักดิส[ ท
ิ ธิ[ของอธิปไตยทางดินแดนและทางกฎหมายคือหลักการไม่แทรกแซงในกิจการภายในของกันและกัน
u ความเป็ นเอกเทศของรัฐมีผลทัง+ ในทางกฎหมายและประเด็นทางจริยธรรมด้วย เช่นการปกป้องสิทธิมนุษยชนจะมีขอบเขตเพียงใด
จะยอมให้มีการเข้าไปแทรกแซง โดยเฉพาะกรณีทAีมีการเข่นฆ่าล้างเผ่าพันธุเ์ กิดขึน+ ได้หรือไม่
u การยึดมัAนดังกล่าวจึงทําให้ผทู้ Aียดึ ถือประโยชน์ของชาติหรือ “เหตุผลของรัฐ” (raison detat) อยูเ่ หนือสิAงอืAนใด ซึงA มีอิทธิพล
ต่อวิธีคดิ ในทางวิชาการ เช่น แนวคิด “political realism” ทีAสะท้อนอยูใ่ นทฤษฎีของ Hans J.Morgenthau
นักวิชาการผูเ้ คยทรงอิทธิพลถูกเพ่งเล็งและวิพากษ์วิจารณ์ว่าเป็ นเรืAองของความเห็นแก่ตวั และการแข่งขันกันโดยไม่คาํ นึงถึงหลักการ
ทางศีลธรรมและจริยธรรมใดๆ ทัง+ สิน+
u รัฐจึงกลายเป็ นตัวตนในด้านความเชื&อความเข้าใจมากกว่าการจับต้องโดยอาศัยสัญลักษณ์หลากหลายที&เกี&ยวกับรัฐ ตัง/ แต่ธง
ชาติ เพลงชาติ ตํานาน คติความเชื&อเกี&ยวกับความเป็ นมาของชาติรวมถึงการมี “สายการบินแห่งชาติ” และการโฆษณิดชูรฐั
ในแง่ของความยิ&งใหญ่ในอดีต รัฐจึงกลายเป็ นความศักดิส_ ทิ ธิ_ในคติทางการเมือง
u รัฐเป็ น “ผูแ้ สดง” บนเวทีโลกมี “สถานะ” ต่างๆ เช่น มหาอํานาจ อภิมหาอํานาจ ชาติร&าํ รวย/ยากจน และมี “บทบาท”
“พฤติกรรม” เช่น เดียวกับพฤติกรรมของบุคคล ซึง& ตัวแบบทางความคิดนีเ/ รียกว่า “rational actor model”
u หลังสงครามโลกครัง/ ที& II รัฐเกิดใหม่มีมากกว่า bcc รัฐ ส่วนใหญ่เคยอยูใ่ ต้ระบอบการปกครองอาณานิคมมาก่อน บางรัฐ
แทบไม่มีลกั ษณะ “รัฐชาติ” อยูเ่ พราะรวมเอาพลเมืองหลายเชือ/ ชาติเผ่าพันธุภ์ าษาเข้าด้วยกัน บางชาติไม่อยูใ่ นฐานะพึง& พา
ตัวเองได้ ความคิดและสัญลักษณ์หลากหลายของความเป็ นรัฐ ตัง/ แต่การมีกองทัพไปจนถึงการมีสายการบินของตนเองจะ
ยิ&งมีความสําคัญเป็ นพิเศษ
u สถานะของรัฐ
u รัฐยังคงเป็ น “ผูแ้ สดง” หรือ “ผูก้ ระทํา” ทีAสาํ คัญในการกําหนดความเป็ นไปในเวทีการเมืองโลก
u ส่วนองค์การระหว่างประเทศก็มีลกั ษณะเป็ นเครืAองมือทางการทูต ในบางครัง+ องค์การระหว่างประเทศก็เป็ นผูก้ ระทําหรือผูแ้ สดงโดย
เอกเทศบนเวทีการเมืองโลก
u บรรษัทข้ามชาติ(Transnational componies – TNC’S) ได้เข้ามามีบทบาททีAเป็ นเอกเทศมากขึน+
u การเมืองโลกยังเน้นพฤติกรรมของรัฐแต่ละรัฐ หรือพฤติกรรมอันเกีAยวเนืAองกับปฏิสมั พันธ์ระหว่างรัฐ
u รัฐทีAมีอยูใ่ นโลกมีความหลากหลาย มีประชากรต่างกัน จีน อินเดีย (พ้นล้านคน) นครวาติกนั เป็ นรัฐขนาดเล็ก (micro – state)
รัฐทีAมีอาํ นาจทางทหารและเศรษฐกิจเช่น US และรัฐเล็กทีAไม่มีกาํ ลังป้องกันตนเอง เช่น รัฐวาติกนั ใช้ทหารสวิสรักษาความสงบเรียบร้อย
u รัฐมิได้มีความยัAงยืน การล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี bccb เป็ นตัวอย่างของการก่อให้เกิดรัฐต่างๆ อีกหลายรัฐ มีสหพันธ์รสั เซียทีA
เป็ นแกนหลักของสหภาพโซเวียตทีAเป็ นเพียง “มหาอํานาจ” ชาติหนึงA เท่านัน+ ในปั จจุบนั
u ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ เป็ นความสัมพันธ์ทAีเหลืAอมลํา+ ไม่เท่าเทียม เคลืAอนไหว ไม่แน่นอน ละเอียดอ่อน
u รัฐ ทีA มี ค วามเข้ม แข็ ง ทางเศรษฐกิ จ อย่ า งญีA ปุ่ นยัง ไม่ มี ค วามสามารถทางทหารเท่ า กับ จี นและรัส เซี ย ดัง นั+น ต้อ งแยกแยะระหว่า ง
“มหาอํานาจทางทหาร” และ “มหาอํานาจทางเศรษฐกิจ” หรือไม่ก็ตอ้ งพิจารณาคําว่ามหาอํานาจว่ามีความกว้างขวางเพียงใด
u การประชุม “Congress of Vienna” (bdbe-bdbg) ภายหลังสงครามนโปเลียนนําไปสูร่ ะเบียบระหว่างชาติในยุโรปทีAเรียก
กันว่า “Cencert of Europe” ออสเตรีย รัสเซีย ปรัสเซีย อังกฤษ และฝรัAงเศส เป็ นมหาอํานาจทีAมีบทบาทสําคัญในการ
ประชุมครัง+ นัน+
u หลังสงครามโลกครัง+ ทีA b มหาอํานาจในการประชุมทีAแวร์ซายทีAเรียกกันว่า Big Four ในเวลานัน+ ได้แก่ อังกฤษ ฝรัAงเศส อิตาลีและ
US ส่วนสถานะของอิตาลีและญีAปนุ่ ได้รบั การยอมรับทัAวไปประมาณช่วงทศวรรษ bcij แล้วนีAเอง
u สถานะของมหาอํานาจเปลีAยนไปโดยสงครามและความเปลีAยนแปลงภายใน
u ก่อนสงครามโลกครัง+ ทีA II ประเทศทีAได้รบั การยอมรับว่าเป็ นมหาอํานาจได้แก่เยอรมนี รัสเซีย อังกฤษ ฝรัAงเศส อิตาลี ญีAปนุ่ และสหรัฐแต่
สงครามได้นาํ ความเปลีAยนแปลงมาสูส่ ถานะและบทบาทของมหาอํานาจ
u ค.ศ. bceg ชาติทAียืนหยัดเป็ นมหาอํานาจชัน+ หนึงA จริงๆ ได้แก่ Big Three สหรัฐ สหภาพโซเวียต และอังกฤษ ทัง+ สามชาติมีบทบาท
ในการวางรากฐานแห่งระเบียบความสัมพันธ์ภายหลังสงคราม จากนัน+ อังกฤษก็หมดสถานะดังกล่าว
u หลังสงครามโลกครัง+ ทีA II มีแค่สองขัว+ อํานาจ “bibolar system”
u สิน+ สงครามโลกครัง+ ทีA II นอกจาก Big Three ก็มีการผนวกฝรัAงเศสและจีนเข้าไว้ในกลุม่ มหาอํานาจทีAจะกลายมาเป็ นสมาชิกถาวร
“Permanent Five” โดยคณะมนตรีความมัAนคง (Security Council) หน้าทีAหลักได้แก่การรักษา “สันติภาพและ
ความมัAนคงระหว่างชาติ” เหตุผลก็อาจจะมาจากผลประโยชน์เกีAยวข้องทีAกว้างขวางหรือด้วยเหตุผลใดอีกก็ตาม สถานะและบทบาท
ดังกล่าวนับเป็ นข้อพิจารณาอีกประการหนึAงได้สาํ หรับการทีAจะระบุวา่ ชาติใดได้รบั การยอมรับเป็ นมหาอํานาจ Perm Five มี
อํานาจในการใช้สทิ ธิยบั ยัง+ (Veto Power) ในการลงมติในเรือA งทีAเป็ นสาระ คือไม่ใช่เรือA งวิธีพิจารณาในคณะมนตรีความมัAนคง
u ความไม่ม( นั คงในสถานะของความเป็ นมหาอํานาจเห็นได้จากพัฒนาการทางการเมืองหลังสงครามโลกครังA ที( II ชาติแพ้สงครามเช่นญี(ปนและเยอรมนี
ุ่
สามารถฟื A นตัวอย่างรวดเร็ว พอถึงทศวรรษ OPQR ก็กลายมาเป็ นคูแ่ ข่งทางเศรษฐกิจที(สาํ คัญของ US
u อํานาจทางเศรษฐกิจเข้ามาแทนที(อาํ นาจทางทหารเกียรติภมู ิของทังA สองชาติเพิ(มมากขึนA มีผเู้ สนอให้เยอรมนีและญี(ปนเข้
ุ่ าไปมีสถานะพิเศษในคณะมนตรี
ความมั(นคงด้วย แม้วา่ จะเป็ นความเคลื(อนไหวอยู่ แต่ก็แสดงให้เห็นฐานะและบทบาทของชาติใหญ่ๆ ในโลกที(มีอยูต่ ลอดเวลา
u กําลังทางทหารยังคงเป็ นตัวแปรสําคัญที(ชีถA งึ ฐานะความเป็ นมหาอํานาจ คุณลักษณะร่วมกันของ Perm five คือการเป็ นมหาอํานาจนิวเคลียร์ การ
ใช้อาํ นาจนิวเคลียร์มีนอ้ ย แต่บทบาทด้าน “การป้องปราบ” (Deterrence) ยังมีความจําเป็ นอยู่ การมีอาวุธชนิดนีจA ึงเป็ นเรื(องของเกี ยรติภูมิ
มากกว่าสิ(งอื(นใด
u ฝรั(ง เศสและจี นพยายามอย่า งยิ( ง ที( จะมี ความสามารถทางนิ ง เคลีย ร์ท(ี เ ป็ นอิส ระ นั(นคื อสถานการณ์ท(ี มีบ ทบาทในการป้องปราบได้โดยไม่ตอ้ งอาศัย
อภิมหาอํานาจผูน้ าํ กลุม่ เช่นสหภาพโซเวียตและ US
u ในเวลาเดียวกันฝรั(งเศสก็ตอ้ งการจะมี “Force de Troppe” ของตนเองจีนก็ตอ้ งการพัฒนาสมรรถนะในลักษณะเดียวกันขึนA มา แม้วา่ ในเวลา
นันA ยังมีศกั ยภาพห่างไกลจากอภิมหาอํานาจมากก็ตาม ทังA หมดนีนA ่าจะเป็ นเรื(องของความพยายามที(จะสร้างเกียรติภมู ิและแสดงออกถึงความเป็ นเอกเทศ
ทางการเมืองระหว่างประเทศในเวลานันA มากกว่าจะเป็ นการท้าทายอภิมหาอํานาจโดยตรง
u ปั จจุบนั ศักยภาพทางทหารแม้จะสําคัญ แต่ความโดดเด่นได้ลดลงไป เศรษฐกิจและความก้าวหน้าทางอุตสาหกรรมได้เข้ามาโดดเด่นแทน
u เมื@อสหภาพโซเวียตสลายตัวลงก็ไม่อาจเป็ นมหาอํานาจชันO หนึ@งได้อีกแม้จะยังมีศกั ยภาพนิวเคลียร์อยู่อย่างมากก็ตาม สาเหตุหนึ@งมาจากความอ่อนแอทาง
เศรษฐกิจ
u จีนเองนันO แม้ช@ือเสียงเกียรติภมู ิทางทหารยังไม่อาจทัดเทียมได้กบั มหาอํานาจชันO หนึ@งอย่าง US แต่จีนก็มีโอกาสจะมาเป็ นมหาอํานาจทางเศรษฐกิจได้ใน
อนาคตอันไม่ไกล จึงถูกจับตามองอยากมากในเวลานี O
u คาดกันว่าศตวรรษที@ c\ บทบาทและสถานะของมหาอํานาจจะเปลี@ยนไป แต่ความสําคัญที@เราให้แก่ชาติ มหาอํานาจก็ยงั คงมีอยู่ต่อไปเพราะประเพณี
ความคิดของเราเกี@ยวกับการเมืองระหว่างประเทศยังมุง่ ไปที@มหาอํานาจเป็ นสําคัญ เรากําหนดรูปแบบของระบบระหว่างประเทศ “International
system” โดยใช้จาํ นวนมหาอํานาจที@มีอยู่เป็ นตัวบ่งชี O ถ้ามีมหาอํานาจที@มีอาํ นาจใกล้เคียงกัน d-` ชาติเราก็เปรียบสภาวะนันO ว่า “ระบบดุลแห่งอํานาจ”
(Balance of power system) ถ้ามีมหาอํานาจหลักอยูเ่ พียง c ชาติก็เรียกว่าเป็ น Bipolar system
u การเมืองระหว่างประเทศที@ได้รบั ความสนใจจากนักวิเคราะห์จงึ เป็ น “การเมืองระหว่างมหาอํานาจ” เป็ นสําคัญ หากไม่ใช่มหาอํานาจชันO หนึ@งอย่าง US ก็
เป็ นมหาอํานาจระดับรองลงมา เช่นมหาอํานาจระดับกลาง (medium size powers) เช่นแคนาดา อิตาลี บราซิล สเปน โปแลนด์ อินเดีย
ออสเตรเลีย เม็กซิโก อิสราเอล และแอฟริกาใต้ เป็ นต้น ส่วนมหาอํานาจระดับภูมิภาค (regional powers) เช่นอิหร่าน อียิปต์ อินโดฯ
u บทบาทของมหาอํานาจระดับต่างๆ เหล่านีขO นึ O อยูก่ บั สถานะและบทบาทที@เข้าไปเกี@ยวข้องกับระเบียบหรือดุลแห่งอํานาจในภูมิภาคหรือในโลกโดยส่วนรวม
u เช่นบทบาทของแคนาดาในการรักษาสันติภาพ (peace keeping) ในนามสหประชาชาติของอียิปต์ในการรักษาดุลอํานาจในตะวันออกกลาง
ชาติขนาดเล็กหรือขนาดกลาง เช่น ปารากวัยและโปรตุเกสที@ไม่มีบทบาทเช่นนันO ไม่ได้รบั ความสนใจหรือไม่มีใครรูจ้ กั ยกเว้นแต่จะมีทรัพยากรสําคัญ เช่น ชาติ
แถบอ่าวเปอร์เซีย หรือเป็ นชาติท@ีสร้างปั ญหาในสายตาของตะวันตก ซึง@ เรียกว่า rogue states ในสายตาของนักการเมืองและสื@อมวลชนตะวันตก
เช่นลิเบีย อิหร่าน ฯลฯ และประเทศที@เป็ นแหล่งยาเสพติดและมีปัญหาละเมิดสิทธิมนุษยชน เช่น พม่า ฯลฯ
u ความไม่เท่าเทียมระหว่างรัฐยังคงอยู่ต่อไป ที@รา้ ยแรงกว่าความไม่เท่าเทียมในสถานะและบทบาททางอํานาจคือความไม่เท่าเทียมในแง่การพัฒนาและ
ความก้าวหน้าด้านสังคม เศรษฐกิจ รัฐเล็กๆ และมั@งคั@งอยูใ่ นบรูไน ยิ@งใหญ่กว่าซาเอียร์ท@ีมีดนิ แดนและประชากรมากกว่า
u ชาติสว่ นใหญ่ยงั ยากจนและล้าหลัง ขาดความมั@งคงทางการเมืองและเศรษฐกิจ ต้องขอความช่วยเหลือจากภายนอก ประเทศเหล่านีไO ด้รบั ความสนใจก็ตอ่ เมื@อ
เกิดโศกนาฏกรรมร้ายแรงขึนO เช่นการฆ่าล้างเผ่าพันธุห์ รือความอดอยากหิวโหยชนิดร้ายแรง หรือภัยธรรมชาติ ความสนใจจะเกิดขึนO ชั@วครู ่ช@ วั ยาม หลัง
เหตุการณ์ผ่านไปแล้วโลกก็เปลี@ยนความสนใจไปเรื@องใหม่ๆ ต่อไป ทังO นีกO ็เพราะไม่มีการตะหนักถึงการมีชะตากรรมร่วมกันของมนุษยชาติ ความผันผวนทาง
เศรษฐกิจส่งผลกระทบถึงกันหมด หากโลกจะประสบวิกฤตสิ@งแวดล้อมมหาอํานาจใดก็ไม่อาจหนีพน้ ชะตาร่วมกัน รัฐจะอยู่รอดต่อไปไม่ได้หากรัฐยึดมั@น
ผูกพันกับความเป็ นเอกเทศหรือยึดถือความเป็ นตัวใครตัวมันของแต่ละรัฐนั@นเอง
รายชื&อนักศึกษา

วิชา PO 271
เลขทะเบียน
เลขที5 ชือ5
นักศึกษา
1 6303610122 นายภูมิพฒ
ั น์ ศิรสิ มพงษ์
2 6303684051 นางสาวธัญรดา คงอินทร์
3 6303862103 นางสาวกัญญาพัชร จินดาศรี
4 6403452011 นางสาวภารุจา โต้เศรษฐี
5 6403452029 นางสาวเรืองริน รัตนธนาฤกษ์
6 6403490011 นางสาวนัทธมน ธรรมวงค์
7 6403492017 นางสาววรรธน์วรี ไชยมงคล
8 6403494013 นายพัทธดนย์ จันทร์ฝาง
9 6403522011 นางสาวแพรวา เชืRอพันธุ์
10 6403522029 นางสาวภาวิณี บริบรู ณ์
11 6403522037 นางสาวดาริกา แก้วเมืองทอง
12 6403530014 นายศิวกร ลาภใหญ่
13 6403532010 นางสาวทิพย์มณี ตําตาด
14 6403534016 นางสาวอริสา ยมรัตน์
15 6403542019 นางสาววีรยา หลวงพล
16 6403542027 นางสาวเกษแก้ว กล่อมสุข
17 6403544015 นางสาวชลดา แย้มมี
18 6403610014 นางสาวกมลชนก ศรีเกษม
19 6403610022 นางสาวกมลนัทธ์ บุนนาค
20 6403610030 นางสาวกรัณฑรัตน์ กิตติวชั รกานต์
21 6403610089 นายเจตนิพิฐ กลีบอุบล
22 6403610139 นางสาวฐตวรรณ รําเพย
23 6403610147 นางสาวณดา หะมะ
24 6403610162 นายธนกฤต อสัมภิณวงค์
25 6403610170 นางสาวธัญวรัชญ์ โยคะสิงห์
26 6403610204 นางสาวปาริชาต ทองยืน
27 6403610212 นางสาวปิ ยรัตน์ น้อยเจริญ
28 6403610220 นายพชร ทองรอด
29 6403610238 นายพระนาย ชูศรี
30 6403610311 นางสาวรวิพร บุญสิน
31 6403610345 นางสาวศศินา รอดผึงS
32 6403610410 นางสาวอภิสรา วรรณสุข
33 6403612010 นางสาวตาสนิม บิวา คาน
34 6403612028 นางสาวกชกร อุดมทรัพยากุล
35 6403612044 นางสาวฉัตรชนก คงทน
36 6403612051 นางสาวชญนนท ชินธรรมมิตร
37 6403612069 นางสาวชญาดา ชืRนชอบสุข
38 6403612077 นางสาวชญานุช สีดาพาลี
39 6403612085 นางสาวชนัญชิดา นคราวงศ์
40 6403612093 นางสาวชนาภัทร์ สายใจ
41 6403612101 นางสาวชนาภา ประดับวงษ์
42 6403612119 นางสาวซีนีน แสงสุวรรณ
43 6403612127 นางสาวณฐมน ทีขะระ
44 6403612135 นางสาวณัชชา ผาสุขนิตย์
45 6403612150 นางสาวณิชากร ไทรงาม
46 6403612168 นางสาวดาวิกา แสงแก้ว
47 6403612176 นางสาวทอฝัน แสงทอง
48 6403612184 นางสาวธนพร พูลผล
49 6403612192 นายธราเวช คงสมบูรณ์
50 6403612218 นางสาวนัสรีนีย ์ ยูโซ๊ะ
51 6403612226 นางสาวนารดา ตรรกสิรทิ รัพย์
52 6403612234 นางสาวบัณฑิตา ไชยอุตร
53 6403612242 นางสาวปั ทมพร ฟั กน้อย
54 6403612259 นางสาวปานชีวา ชินชะนะ
55 6403612275 นายพรภวิษย์ ปั ญญาไวย์
56 6403612283 นางสาวพิมพ์พิชญ์ บุญประดับ
57 6403612291 นางสาวฟาริดา แท่งคํา
58 6403612309 นางสาวฟิ ตรีญา สะมะแอ
59 6403612317 นางสาวภคจิรา พัRวทัด
60 6403612325 นายภวัต อินทุใส
61 6403612333 นางสาวภัทรา ผดุงชีวิต
62 6403612341 นายภูริ บัวชูกา้ น
63 6403612358 นางสาวรวีนนั ท์ ครุสนั ธิk
64 6403612366 นายราศีเมษ สักทอง
65 6403612374 นายวชรากร อินต๊ะนา
66 6403612382 นางสาววทันยา พฤกกาเหลา
67 6403612408 นายวุฒิวฒั น์ สุวรรณศรีสาคร
68 6403612424 นางสาวสิรกิ ลุ เลืRอนทอง
69 6403612432 นางสาวสุชานาถ อินทร์ชมุ่
70 6403612440 นางสาวอนันตา แก้วหยด
71 6403614032 นางสาวกันติศา ลูกอินทร์
72 6403614131 นายณัฐนนท์ ดีโท
73 6403614149 นางสาวณัฐภรณ์ เจตนาเจริญชัย
74 6403614156 นางสาวณัฐวดี กลัRนกําเนิด
75 6403614180 นางสาวธนภรณ์ ลือฤทธิพงษ์
76 6403614222 นางสาวนภัสกร สดชืRน
77 6403614230 นางสาวนุตประวีณ์ แก้วณรงค์
78 6403614248 นางสาวประภาสินี ฮวบสกุล
79 6403614255 นางสาวปรัชญานันท์ ปั ญญาใส
80 6403614263 นางสาวปั ญจมาศ แผ่พมุ่ ทรัพย์
81 6403614289 นายพัชรพล คําเอีRยม
82 6403614370 นายวีรภัทร ผาดจันทึก
83 6403614388 นางสาวศศิธร อุพนั ศรี
84 6403614420 นายอาเยอะ อาแจ
85 6403624015 นายชณกานต์ เชือS แก้ว
86 6403624031 นางสาวปั ญจภัค ปานเพ็ชร์
87 6403680017 นางสาวอภิญญา บ่อวารี
88 6403680025 นางสาวรณิดา ทองใหม่
89 6403680090 นางสาวณัฐธยาน์ สิรภัทรกิตติคณ

90 6403680116 นางสาวธนาภรณ์ พรหมภัทร์
91 6403680132 นายธีรดนย์ พงษ์ดนตรี
92 6403680215 นายภูมภัสส์ หิรญ
ั วีวิชญ์
93 6403680280 นายวรภัทร พุทธกันยา
94 6403680330 นางสาวสวรรยา สืบสาย
95 6403680363 นางสาวสุเมธินี หอมหวล
96 6403680371 นายหัสดิน ตระกูลสิรโิ ชค
97 6403680405 นายอาบาดีย ์ สําเภารัตน์
98 6403680413 นายอิสสริยะ ยงยุทธ
99 6403682013 นางสาวอารดา วงษ์มณี
100 6403682039 นายกองพล เสถียรกานนท์
101 6403682047 นายก้องภพ นราธรธรรมากุล
102 6403682054 นายกัญจน์ดลิ ก สมพบ
103 6403682062 นางสาวกัญรัตน์ ฉํRาแสง
104 6403682070 นายกิตติภพ ทองศักดิk
105 6403682088 นายเกริกเกรียงไกร ชัยสิทธิk
106 6403682096 นางสาวชลดา พึงR นุศล
107 6403682104 นางสาวขวัญลักษณ์ จิตร์ลกั ษณ์
108 6403682112 นายชิษณุพงศ์ ปานอยู่
109 6403682138 นายฐิ ตโิ ชติ นิโคลสัน
110 6403682146 นายณธเดช พวงเจริญ
111 6403682153 นางสาวณัชชา จิวศรี
112 6403682161 นางสาวณัฐกฤตา รํามะนู
113 6403682179 นางสาวณัฐณิชา คันธาภิชาติ
114 6403682187 นายณัทพัฒน เอือS เฟื S อ
115 6403682195 นางสาวทรงอัปสร ศิริ
116 6403682203 นายธนัท จงชวาลวงษ์
117 6403682211 นางสาวธัญชนก อินทนนท์
118 6403682229 นางสาวธันยชนก จิตติกานนท์
119 6403682237 นายนัสรี พุม่ เกือS
120 6403682252 นางสาวบุศรา จิตต์สอาด
121 6403682260 นางสาวปภาวรินทร์ ทวีพนั ธ์
122 6403682278 นางสาวปลายฟ้า ถนิมวาสน์
123 6403682286 นายปวันรัตน์ ชูศรี
124 6403682294 นางสาวปาณิสรา อาสายศ
125 6403682302 นางสาวปาละตา ขําเจริญ
126 6403682310 นางสาวเปมิกา พลอยเหลีRยม
127 6403682328 นางสาวพิมพกานต์ คณะมะ
128 6403682336 นางสาวพิมพ์ลภัส ธุดี
129 6403682344 นางสาวภวรรณกร แสงหิรญ ั
130 6403682351 นายภานุพงศ์ ลีสS กุล
131 6403682377 นางสาวมาติกา จันทร์เกษม
132 6403682393 นางสาวสิรกิ าญจน์ บุญสิทธิk
133 6403682401 นายสุรพัศ ปั ญญาวงศ์
134 6403682419 นางสาวอัฌมณ กุศลส่ง
135 6403682427 นายเอกรัฐ คะรานรัมย์
136 6403684019 นายกรกช เกิดอุดม
137 6403684027 นางสาวกัญนภัส วิโนทัย
138 6403684043 นางสาวกุลสตรี หาญคําภา
139 6403684076 นางสาวชนิสรา ตะมิน
140 6403684100 นางสาวชุตมิ ารัตน์ ควรพิพฒ
ั น์กลุ
141 6403684118 นายณภัทร เส้งรอด
142 6403684142 นางสาวณัฐธิดา ยอดจิตร
143 6403684175 นางสาวธวัลรัตน์ ไกรสมุทร
144 6403684209 นางสาวนันท์นภัส จงเสมอสิทธิk
145 6403684217 นางสาวเบญจมาศ วิทยนันท์
146 6403684258 นางสาวปุณยนุช วงษ์วนั ทนีย ์
147 6403684282 นางสาวพิมพ์ลภัส แตงน้อย
148 6403684308 นายภู ปราบใหญ่
149 6403684407 นางสาวอภิรดี ตังS ยืนยง
150 นางสาวณัทนิชา มหารัตน์
151 นางสาวอรยา ไชยสายัณห์

You might also like