You are on page 1of 12

นิติศาสตรเชิงสังคมวิทยา+ความ

ยุติธรรม
และ
การดื้อแพง
จัดทําโดย
นายนิติกร เอกพันธ 641690001010-1
นางสาวอมรรัตน ขันธะวิชัย 641690001005-1
นายธีรกานต ภูขันซาย 641690001003-6
นายธนวัชร มาตรา 641690001022-6
นาย ธนกร มูลสอาด 641690001018-4
นิติศาสตรเชิงสังคมวิทยา
ทฤษฎีนิติศาสตรเชิงสังคมวิทยาเปนทฤษฎีทางนิติปรัชญาที่เนนบทบาท
ความสัมพันธของกฎหมายตอสังคม เปนการพิจารณาถึงบทบาทหนาที่
ของกฎหมายยิ่งกวาการพิจารณาแตเนื้อหาของกฎหมายซึ่งเปนนามธรรม
และที่สําคัญเปนการเนนบทบาทของกฎหมายไปในทางที่จะมุงสราง
กฎหมายใหเปนกลไกของการปกปองผลประโยชนของสวนรวมมากกวา
ประโยชนสวนบุคคล
รูดอลฟ ฟอน เยียริ่ง (Rodolf Von Ihering) นักนิติศาสตรชาวเยอรมันซึ่ง
เปนกอตั้งทฤษฎีนิติศาสตรเชิงสังคมวิทยาไดวางหลักพื้นฐานทฤษฎีนี้วา
กฎหมายเปนเพียงกลไกหรือวิธีการ (mean) ที่จะนําไปสูเปาหมายที่
ตองการ (end) โดยกฎหมายตองเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพของสังคม และ
กลไกของกฎหมายมีบทบาทในการสรางความสมดุล หรือการจัดลําดับชั้น
ความสําคัญระหวางประโยชนของเอกชนกับประโยชนของสังคม
ต่อมา ลีออง ดิวกี (Leon Duguit) นักนิตศ ิ าสตร์ชาวฝรั่งเศส และ รอสโก
พาวด์ (Ronscoe Pound)
ได ้วางทฤษฎีอน ื่ เสริมทฤษฎีนต ิ ศ
ิ าสตร์เชิงสังคมวิทยาให ้สมบูรณ์ยงิ่ ขึน ้ โดย
Pound สร ้างทฤษฎีวศ ิ วกรรมสังคม (Social Engineering Theory) ขึน ้ จาก
การพิจารณาว่ากฎหมายเป็ นกลไกหรือเครือ ่ งมือทีส
่ ร ้างขึน
้ เพือ
่ คานผล
ประโยชน์ตา่ งๆ ในสังคมเพือ ่ ให ้เกิดความสมดุล เสมือนเป็ นการก่อสร ้างหรือ
กระทําวิศวกรรมสังคม และผลของการพิจารณาบทบาทของกฎหมายเช่นนี้
ทําให ้มีการสร ้างหรือตรากฎหมายในลักษณะเข ้าไปแทรกแซงการจัดระเบียบ
ทางเศรษฐกิจหรือถ่วงดุลผลประโยชน์ตา่ งๆ ในสังคมให ้มีความเสมอภาค
หรือเป็ นธรรมมากขึน ้
ดังนี้ เราอาจมองทฤษฎีนิติศาสตรเชิง
สังคมวิทยาได 2 ประการ คือ
• ทฤษฎีนิติศาสตรเชิงสังคมวิทยาเปนทฤษฎีในแงตนกําเนิด (origin) ของ
กฎหมายซึ่งมองวากฎหมายเปนผลิตผลของสังคม และ
• ทฤษฎีนิติศาสตรเชิงสังคมวิทยา พิเคราะหอิทธิพลของกฎหมายที่มีตอ
สังคม และกฎหมายเปนเครื่องมืออยางหนึ่งในการควบคุมพฤติกรรมของ
สังคมหรือเปนวิศวกรรมสังคมหรือเปนทฤษฎีที่ใชในการจัดระเบียบสังคม
การดื้อแพง
การดื้อแพง หรือ การขัดขืนอยางสงบ (civil disobedience)
หรือ "อารยะขัดขืน" เปนรูปแบบการตอตานทางการเมืองอยางสงบเพื่อกด
ดันใหรัฐบาลเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางการเมืองที่เปนอยู ในอดีต มีการ
ใชแนวทางดื้อแพงในการเคลื่อนไหวเพื่อตอตานอังกฤษในประเทศ
อินเดีย ในการตอสูกับการแบงแยกสีผิวในแอฟริกาใต ในการเคลื่อนไหวด
านสิทธิพลเมืองของอเมริกา และใน
ยุโรป รวมถึงประเทศแถบสแกนดิเนเวียในการตอตานการยึดครองของนา
ซี แนวคิดนี้ริเริ่มโดยเฮนรี เดวิด ธอ
โร นักเขียนชาวอเมริกันในบทความชื่อดื้อแพง ในชื่อเดิม
วา การตอตานรัฐบาลพลเมือง ซึ่งแนวคิดที่ผลักดันบทความนี้ก็คือการพึ่งต
นเอง และการที่บุคคลจะมีจุดยืนที่ถูกตองเมื่อพวกเขา "ลงจากหลังของคน
อื่น" นั่นคือ การตอสูกับรัฐบาลนั้นประชาชนไมจําเปนตองตอสูทาง
กายภาพ แตประชาชนจะตองไมใหการสนับสนุนรัฐบาลหรือใหรัฐบาล
สนับสนุนตน (ถาไมเห็นดวยกับรัฐบาล) บทความนี้มีอิทธิพลอยางมากตอผู
เพื่อที่จะแสดงออกถึงดื้อแพง ผูขัดขืนอาจเลือกที่จะฝาฝนกฎหมายใด
เปนการเฉพาะ เชน กีดขวางทางสัญจรอยางสงบ หรือเขายึดครองสถานที่
อยางผิดกฎหมาย ผูประทวงกระทําการจลาจลอยางสันติเหลานี้ โดยคาด
หวังวาพวกตนจะถูกจับกุม หรือกระทั่งถูกทํารายรางกายโดยเจาหนาที่. ผู
ประทวงมักจะไดรับการนัดแนะลวงหนา วาควรจะตอบสนองการจับกุมหรือ
ทํารายรางกายอยางไร และจะขัดขืนอยางเงียบ ๆ หรือไมรุนแรง โดยไม
คุกคามเจาหนาที่
สัตยาเคราะหในอินเดีย
มหาตมะ คานธี ผูนําการเคลื่อนไหวดื้อแพง เพื่อตอตานอังกฤษในประเทศ
อินเดีย เรียกแนวทางของตนวา "สัตยาเคราะห" (Satyagraha) หมายถึง การ
ตอสูบนรากฐานของความจริงหรือสัจจะ
• ในสมัยนั้นในประเทศอินเดียมีกฎหมายบังคับใหการผลิตและขายเกลือก
ระทําไดโดยรัฐบาลอังกฤษเทานั้น การผูกขาดเกลือเปนรายไดที่สําคัญ ถึง
แมวาคนอินเดียที่อาศัยอยูชายฝงทะเลจะสามารถผลิตเกลือเพื่อบริโภคเอง
ได ก็จําเปนตองซื้อจากอังกฤษ หากผูใดฝาฝนก็มีโทษถึงจําคุกทีเดียว
• เมื่อวันที่ 12 มีนาคม ค.ศ. 1930 มหาตมะ คานธี พรอมกับผูรวมเดินทาง
จํานวน 78 คน เริ่มเดินเทาจากเมือง Sabarmati ไปยังเมือง Dansi เมือง
ชายฝงทะเลที่อยูหางออกไป 240 ไมล เมื่อขบวนเดินผานเมืองใดก็จะมี
ชาวเมืองนับพันเขามารวมเดิน จนขบวนยาวหลายไมล มหาตมะ คานธี
เดินเทาใชเวลา 23 วันก็ถึงที่หมาย เมื่อถึงแลวก็เริ่มการกระทํา "ดื้อแพง"
ดื้อแพงในสหรัฐอเมริกา
• มีรานอาหารหลาย ๆ แหงในรัฐทางใต ปฏิเสธที่จะใหบริการแกคนผิวดํา
จึงมีการดื้อแพงโดยใชวิธี "ซิทอิน" (sit in) คือเขาไปนั่งเฉย ๆ โดย
นักศึกษาผิวดําพากันแตงตัวเรียบรอย ใสสูทผูกไทเขาไปนั่งในราน
อาหารที่ปฏิเสธคนผิวดํา ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันเขาไปนั่งในทุกที่นั่ง
จนไมมีที่วางเหลือ จนกระทั่งรานนั้นไมสามารถดําเนินธุรกิจตอไปได มี
การกระทําเลียนแบบไปทั่วทุกรัฐทางใต โดยมีคนผิวขาวสวนหนึ่งที่
เห็นใจคนผิวดํารวมขบวนการดวย มีการใชวิธีซิทอินกับสถานที่
สาธารณะตาง ๆ ทั้งสวนสาธารณะ หองสมุด โรงภาพยนตร พิพิธภัณฑ
เมื่อถูกเจาหนาที่จับนักศึกษาเหลานี้ก็ไมยอมประกันตัว ตองการติดคุก
เพื่อใหเปนขาว และใหเปนภาระกับเจาหนาที่
• การตอสูเหลานี้เพื่อกดดันรัฐบาลกลาง จนนํามาสูการออกกฎหมายสิทธิ
เลือกตั้ง (Voting Rights Act) ค.ศ. 1965 และกฎหมายสิทธิพลเมือง (Civil
ดื้อแพงในสังคมไทย
แนวคิดดื้อแพงในทางการเมือง หรือที่นิยมใชคําวา "อารยะขัดขืน" นั้น เริ่ม
แพรหลายในภาษาไทย ในบริบทของการประทวงขับไลนายกรัฐมนตรีทักษิณ
ชินวัตร ในป พ.ศ. 2549 อยางไรก็ตาม คําวา "อารยะขัดขืน" นั้นถูกนํามาใชครั้ง
แรกโดยชัยวัฒน สถาอานันทเมื่อกลาวถึงสถานการณความรุนแรงในภาคใต โดย
ชัยวัฒนอธิบายวา
อารยะขัดขืนเปนเรื่องของการขัดขืนอํานาจรัฐที่ทั้งเปาหมายและตัววิธีการ
อันเปนหัวใจของ Civil Disobedience สงผลในการทําใหสังคมการเมืองโดยรวมมี
'อารยะ' มากขึ้น... การจํากัดอํานาจรัฐนั้นเอง เปนหนทาง 'อารยะ' ยิ่งการจํากัด
อํานาจรัฐโดยพลเมืองดวยวิธีการอยางอารยะคือ เปนไปโดยเปดเผย ไมใชความ
รุนแรง และยอมรับผลตามกฎหมายที่จะเกิดขึ้นกับตัวผูใชสันติวิธีแนวนี้ เพื่อให
สังคมการเมือง 'เปนธรรม' ขึ้น เคารพสิทธิเสรีภาพของคนมากขึ้น และเปน
ประชาธิปไตยยิ่งขึ้น
คุณลักษณะ 7 ประการของ "อารยะขัดขืน" ใน
ฐานะของปฏิบัติการทางการเมือง คือ
• เปนการละเมิดกฎหมาย หรือตั้งใจจะละเมิดกฎหมาย
• ใชสันติวิธี (ไมใชความรุนแรง)
• เปนการกระทําสาธารณะโดยแจงใหฝายรัฐรับรูลวงหนา
• ประกอบดวยความเต็มใจที่จะรับผลทางกฎหมายของการละเมิดกฎหมาย
ดังกลาว
• ปกติกระทําไปเพื่อเปลี่ยนแปลงกฎหมายหรือนโยบายของรัฐบาล
• มุงเชื่อมโยงกับสํานึกแหงความยุติธรรมของผูคนสวนใหญในบานเมือง
• มุงเชื่อมโยงกับสํานึกแหงความยุติธรรม ซึ่งโดยหลักแลวเปนสวนหนึ่ง
ของกฎหมายและสถาบันทางสังคม
คําวา "อารยะขัดขืน"
• ชัยวัฒนไดอธิบายไววา ไดเลี่ยงที่จะใชคําวา "สิทธิการดื้อแพงตอ
กฎหมาย" อยางที่สมชายใช เนื่องจากคําวา "ดื้อแพง" ในภาษาไทยนั้น
มีความหมายในนัยไมสูดี และเสนอคําวา "อารยะขัดขืน" ซึ่งเปนคําที่มี
อคติทางลบแฝงอยูนอยกวา ขณะเดียวกัน ยังเปนคํากิริยาที่คง
คุณลักษณะความเปนคําในเชิงปฏิบัติเอาไว[8]
• "สุดสงวน" คอลัมนิสตประจํานิตยสารสกุลไทย ใหความเห็นวา การนํา
"อารยะ" ซึ่งเปนคําสันสกฤต มาสมาสหรือสนธิกับ "ขัดขืน" ซึ่งเปนคํา
ไทยนั้น ไมเขาหลักเกณฑทางภาษา แตขณะเดียวกันก็นึกไมออกวาจะ
หาคําใดมาใชแทนคําที่ชัยวัฒนใชได[9]
• แกวสรร อติโพธิ ไดใหความเห็นเกี่ยวกับการใช
คําวา อารยะ วาแทจริงแลวคําวา civil นาจะหมายถึงคําวาพลเมือง และ
เสนอวานาจะแปลเปนไทยวา "การแข็งขอไมยอมเปนพลเมือง"[10]
จบการนําเสนอแคนี้ครับ
ขอบคุณครับ

You might also like