You are on page 1of 9

สํานักความคิดกฎหมายทางสังคมวิทยา (Sociological Law School)

นางสาวอมรรัตน์ นํามาตเสนา

สังคมวิทยาทางกฎหมาย สําคัญอย่างไร ?

การศึกษากฎหมายในฐานะที่เป็ นข้ อเท็จจริ งอย่างหนึง่ ในสังคมเป็ นการศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายกับข้ อเท็จ


จริ งต่าง ๆ ในสังคมว่าเป็ นเหตุเป็ นผลซึง่ กันและกันอย่างใน (Cause and Effect)

สังคมวิทยาเป็ นความพยายามศึกษาค้ นคว้ าข้ อเท็จจริ ง ( Ascertainment of Facts) โดยใช้ วิธีรวบรวมข้ อมูลและทำสถิติ
ซึง่ เราเรี ยกว่า Empirical Method (วิธีการที่ได้ จากประสบการณ์โดยการทดลองหรื อสังเกต)

อันเป็ นวิธีการของ Empirical Sciences เพื่อให้ ร้ ูวา่ ข้ อเท็จจริ งเหล่านันมี


้ ราย ละเอียดตามที่เป็ นอยู่จริ งอย่างไร เมื่อได้ ข้อ
เท็จจริ งแน่นอนชัดเจนแล้ ว ต้ องค้ น หาให้ เข้ าใจว่า ข้ อเท็จจริ งเหล่านันมี
้ ความสัมพันธ์ตอ่ กันและมีหลักฐานหรื อ กฎเกณฑ์
ในความสัมพันธ์เหล่านันอย่
้ างไรบ้ าง
ที่มา / ประวัติศาสตร์ ของสังคมวิทยาในทางนิติศาสตร์

- ตอนต้ นของศตวรรษที่ 19 เป็ นยุคของ กฎหมายบ้ านเมือง (Positivism) ครอบง่า ความคิดในทางกฎหมายของโลก แนว
ความคิด common law ดังเดิ ้ มก็มีลกั ษณะ เป็ นแนวความคิดในสํานักกฎหมาย บ้ านเมืองเหมือนกันในแง่ถือว่ากฎหมาย
ที่มี อยูส่ มบูรณ์แล้ ว ความคิดอย่างนี ้เมื่อนาน เข้ าก็ทำให้ นกั กฎหมายขาซินเฉยเมยไม่มีค วามรู้สกึ ยินดียินร้ ายหรื อมี
ปฏิกิริยาต่อ ปั ญหาที่เกิดขึ ้นในชีวิตจริ งเ อร จริ ง เพราะเขาสนุก อยู่กบั ตัวบทและระบบกฎหมายของเขา และมีความเชื่อ
ว่าการเล่นแร่แปรธา กับต่อ บทและข้ อความในระบบกฎหมายนัน้ สามารถที่จะให้ ความเป็ นธรรมแก่สงั คมได้

เมื่อสังคมเปลี่ยนแปลงไปกฎเกณฑ์ เก่าที่มีอยู่ก็ไม่ทนั กับเหตุการณ์ความ คิดของนักกฎหมาย นักกฎหมายกลับ พอใจดื่ม


อยู่ในระบบของตน นัก กฎหมายจึงกลายเป็ นคนที่มีความคิด ที่ล้าหลัง คับแคบ ไม่มีผลดีที่จะช่วย แก้ ปัญหาให้ สงั คม โดย
สภาพเช่นนี ้ การโน้ มเอียงที่จะศึกษากฎหมายในแง่ อื่นนอกจากในวิชานิติศาสตร์ โดยแท้ ก็ เกิดขึ ้นทังในฝรั
้ ่งเศส เยอรมัน
และ สหรัฐอเมริ กา

- ในปลายศตวรรษที่ 19 และต้ นศตวรรษที่ 20 ได้ มีการผละแนว คิดจากสํานักกฎหมายบ้ านเมือง (Positivism) ไปศึกษา


สังคมวิทยาหรื อ เป็ นแนวความคิดกฎหมายทางสังคมวิทยาหรื อนิติศาสตร์ ทางสังคม
“การศึกษากฏหมายนัน้ ไม่ใช่พิจารณาแต่เฉพาะระบบกฎหมาย เท่านัน้ แต่ต้องพิจารณาว่าระบบกฎหมายมีบริ บท
(Context) คือมีสภาพ แวดล้ อมอย่างไร อยู่ในสังคมไหน มีประวัติศาสตร์ ความเป็ นมาอย่างไร อยู่ในประเทศไทยที่มีภม
ู ิ
อากาศอย่างไร”

นักคิดในสำนักกฎหมายทางสังคมวิทยา
Montesquieu (1689-1775)

8-9/39

‫ ך‬กฎหมายทังหลายในลั
้ กษณะสำคัญที่เป็ นทัว่ ไปคือ ความ สัมพันธ์ที่จําเป็ นจะต้ องเช่นนัน้ อันเกิดขึ ้นจากเหตุผลของเรื่ อง
เพราะฉะนัน้ มนุษย์ก็มีกฎหมายของมนุษย์ พระเจ้ าก็มีกฎหมายของ พระเจ้ า สัตว์ก็มีกฎหมายของสัตว์ อันเป็ นแนวคิดของ
นักกฎหมาย ธรรมชาติ ในแง่ที่วา่ “ความผิดถูกอยู่ในตัวของมันเองตามเหตุผล ของเรื่ อง (nature of things)” มิใช่เป็ นสิ่ง
ที่ตงขึ
ั ้ ้นได้ ตามความชอบ

นอกจากนี ้ เขายังแสดงถึงเหตุผลในเรื่ องของกฎหมายว่า แต่ละเรื่ องมี สิ่งแวดล้ อมหรื อบริ บท (context) เขามองชีวิต
สังคมรูปแบบต่าง ๆ โดยเน้ นว่า เหตุการณ์ภายนอก เช่น ดินฟ้าอากาศ ประวัติศาสตร์ จำนวนพลเมือง ความอุดม สมบูรณ์
สภาพธรรมชาติวา่ อยู่ใกล้ ทะเล หรื อบนภูเขา วิธีการหากินด้ วยการประมง หรื อล่าสัวต์ เป็ นคนเร่ร่อนหรื อชาวนา หรื อชาว
ที่ราบชาวเขา สิ่งเหล่านี ้เป็ นสิ่งปรุง แต่งกฎหมาบ

มองเตสกิเออ มองว่า กฎหมายไม่ใช่คำสัง่ ของรัฎฐาธิปัตย์ แต่เป็ นกฎเกณฑ์ที่ เกิดขึ ้นในสังคมแต่ละสังคม จึงเป็ นไปตาม
หลักเหตุผลของเรื่ อง หรื อลักษณะของ เรื่ องนัน้

เขาจึงเผยแพร่แนวคิด และเริ่ มต้ นสอนนักกฎหมายว่า การเรี ยนกฎหมายมิใช่ การเรี ยนเฉพาะระบบกฎหมายที่เป็ นอยู่ หรื อ
เพียงเฉพาะการอ่านตัวบทเท่านัน้ แต่ต้องศึกษาสภาพสังคมด้ วย จึงเป็ นผู้เริ่ มวิชาสังคมวิทยากฎหมาย (Sociology of
law)

Savigny

ผู้มีความคิดโน้ มเอียงไปในทางสังคมวิทยา โดยเขาสอนให้ นกั กฎหมาย มองกฎหมายด้ วยสายตากว้ างไกล คือ ค้ นจาก
ต้ นตอที่เป็ นตัวบทหรื อหาเหตุผล จากตัวบทกฎหมายและถูกผิดจากความคิดด้ วยเหตุผล ซึง่ เป็ นวิธีสร้ างระบบ กฎหมาย
อย่างที่ปรากฏในศตวรรษที่ 16-17-18 เป็ นการรวบรวมผลงานของ Glossator มาจนถึงนักกฏหมายธรรมชาติสมัยใหม่
และก่อให้ เกิด ประมวลกฎหมายในที่สดุ แต่ผลงานเหล่านี ้ก็เป็ นเพียงผลงานด้ านนิติศาสตร์ โดย

แท้ คือ เพื่อให้ ร้ ูและเข้ าใจกำหมายที่ใช้ บงั คับอยู่ให้ ดีขึ ้น โดยเขาเสนอแนะว่า ทำ อย่างไรนันไม่
้ พอ ต้ องเอามาวิพากษ์
วิจารณ์ศกึ ษาในแง่ประวัติศาสตร์ ทางภาษา ให้ เข้ าใจตัวบทกฎหมายยิ่งกว่าที่เป็ นอยู่
เขาจึงมีคณ ุ ปู การต่อวิชานิติศาสตร์ ในแง่ปลดปล่อยนักกฎหมายให้ มี สายตาที่ยาวและกว้ างขึ ้นกว่าเดิม โดยเฉพาะการ
ค้ นคว้ าในแง่ Germanist คือ สํานักกฎหมายชนเผ่าเยอรมันที่ศกึ ษา Volkgiest จากขนบธรรมเนียม จารี ตประเพณีของ
ชาวบ้ าน คือ ไปคลุกคลีอยู่กบั ชาวบ้ านจริ ง ๆ ซึง่ การศึกษา แบบนันเกื
้ อบจะเรี ยกได้ วา่ เป็ นงานภาคสนาม (field work)
คือ การไปสัมผัส กับชีวิตจริ ง ๆ ของชาวบ้ าน เราอาจจะเรี ยกงานของเขาในลักษณะอย่างนี ้ ว่าเป็ น “การศึกษาวิจยั ทางข้ อ
เท็จจริ ง” (Empirical Research) ดังนันเขาจึ
้ งมี คุณปู การในแง่ที่สง่ เสริ มการศึกษาทางประวัติศาสตร์ (Historical
Research) และทางข้ อเท็จจริ งเพื่อรวบรวมข้ อมูลที่เป็ นปรากฏการณ์ในสังคมมาช่วยวิชา นิติศาสตร์ มองในแง่นี ้นับได้ วา่
Savigny เป็ นผู้นําทางความคิดในยุคแรกที่จะ ทำให้ นกั กฎหมายเข้ าสูส ่ มัยใหม่ เพื่อเตรี ยมกรุยทางเข้ าสูส่ มัยใหม่ที่จะเน้ น
การศึกษาทางสังคมวิทยา (Sociological Study) และการศึกษาวิจยั ทาง ข้ อเท็จจริ ง (Empirical Research)
Duquit (1859 – 1928)

ดูกีห์ กล่าวว่า สภาพสังคมจะต้ องมองเป็ นองค์รวมให้ มากที่สดุ กล่าวคือ สังคมมีววิ ฒ ั นาการมาจากความเป็ นอิสระของคน
โดยคน แต่ละคนจะมีความต้ องการในสิ่งที่จำเป็ นเพื่อการดำรงชีวิตอย่าง หลากหลาย เขาเห็นว่า ตามความเป็ นจริ งคนเรา
จะอยู่คนเดียวไม่ได้ เลย ต่างต้ องพึง่ พาอาศัยและช่วยเหลือให้ บริ การซึง่ กันและกันเป็ น เครื อข่าย (a far-reaching web
of services) และข้ อนี ้เป็ น ข้ อเท็จจริ งที่ต้องเกิดขึ ้นและหลีกเลี่ยงไม่ได้ เพื่อการดำรงอยู่ของ มนุษย์

ดังนัน้ การจัดองค์กร (Organization) ในสังคมจึงจะต้ องมีจดุ หมาย เพื่อทําให้ การร่วมมือกันระหว่างคนในสังคมเป็ นไป


อย่างราบรื่ นและ สมบูรณ์ เขามีความเห็นว่า ไม่มีความจำเป็ นที่จะต้ องแยกกฎหมายออก เป็ นกฎหมายมหาชนและ
กฎหมายเอกชน เพราะกฎหมายทุกฉบับต่างมี จุดมุ่งหมายเหมือนกัน คือ ทำให้ เกิดความเป็ นปึ กแผ่นของสังคม (social
solidarity) หรื อ ความสมานฉันท์ และการแยกประเภทกฎหมายจะทำให้ รัฐมีฐานะเหนือกว่าสังคมส่วนอื่น เขาไม่เชื่อใน
สิทธิตามธรรมชาติของ มนุษย์ เขาเห็นว่า การวิจยั ในปั จจุบนั ได้ แสดงให้ เห็นแล้ วว่า คนเราต้ องมี ชีวิตอยู่ในสังคมเสมอและ
มนุษย์แต่ละคนไม่เคยมีอิสระโดยสมบูรณ์เลย ดังนัน้ แก่นของกฎหมาย คือ หน้ าที่ตามความเห็นของเขาสิทธิเดียวที่ มนุษย์
จะพึงมีก็คือ สิทธิในการปฏิบตั ิตามหน้ าที่

“ทุกคนมีภาระที่จะต้ องปฏิบต
ั ิตามหน้ าที่ของตนในสังคม กฎหมายคือสิ่งที่บงั คับให้ ทกุ คนปฏิบตั ิตามหน้ าที่ กฎหมายจึง
เป็ นระบบของหน้ าที่ไม่ใช่ระบบของสิทธิ และถ้ าคนจะมีสิทธิ ใดก็ตามสิทธินนแท้
ั ้ จริ งแล้ วคือหน้ าที่ของตนเท่านัน”

17-18/39

Rudolf Von Thering (1818-1892)

L
นักนิติศาตร์ ชาวเยอรมันได้ รับการขนานนามว่า เป็ นผู้นำในการ วิวฒ ั นาการวิชาสังคมวิทยาทางกฎหมาย (Precursor of
Sociology of Law) เขาได้ เป็ นผู้ได้ ค้นพบวิชาการสังคมวิทยากฎหมายโดยบังเอิญในขณะ ที่กำลังมีการร่ างประมวล
กฎหมายแพ่งของเยอรมันในตอนปลายศตวรรษที่ 19 เชาสนใจศึกษาปรากฏการณ์ของสังคมที่เกี่ยวเนื่องกับกฎหมาย เริ่ ม
ค้ นคว้ าด้ วยการวิจยั ข้ อมูลที่เกี่ยวกับข้ อเท็จจริ งในสังคม (Social facts) โดยข้ อเท็จจริ งเหล่านี ้ก็มีภมู ิอากาศ (climate)
เชื ้อชาติ (Race) ภูมิศาสตร์ (geography) ศาสนา (Religion) ปรัชญา (Philosophy) สภาพทาง เศรษฐกิจ (Economic
Conditions) องค์กรทางการเมือง (Political organization) เป็ นต้ น

เมื่อสังเกตปรากฏการณ์เหล่านี ้แล้ วก็มีการตังสมมติ


้ ฐาน และทำการทดสอบ ตามหลักการทางวิทยาศาสตร์ โดยนำวิธีการ
ของนักดาราศาสตร์ มาแก้ ปัญหา โดยใช้ วิธีการที่เรี ยกว่า Recoupment อันเป็ นวิธีการพิสจู น์ในข้ อสมมติฐานโดย การ
สังเกตปรากฏการณ์ชนิดเดียวกันจากมุมต่าง ๆ อีกนัยหนึง่ ก็คือ วิธีการ ศึกษาเปรี ยบเทียบ (Method of Comparative
Study) ซึง่ นิยมเรี ยกกันทัว่ ไป ว่า Comparative Law หรื อกฏหมายเปรี ยบเทียบ

เยียริ่ ง กล่าวว่า กฎหมายย่อมมีจดุ หมายเพื่อประโยชน์สว่ นรวมของสังคม และการใช้ กฎหมายและการตีความกฎหมาย


ต้ องมุ่งไปสูจ่ ดุ หมายของกฎหมาย เขาเป็ นนักปราชญ์ชาวเยอรมัน โดยแต่เดิมเขาสนใจค้ นคว้ าแต่กฎหมายโรมัน แต่ใน
ขณะที่เขียนหนังสืกฎหมายโรมันเขาได้ เกิดความคิดกับตนเองว่า กำเนิดของกฎหมายย่อมมาจากเงื่อนไขทางสังคม ทำให้
เขาหันมาสนใจความ สําคัญของกฎหมายในฐานะที่เป็ นเครื่ องมือในการแก้ ปัญหาความขัดแย้ งในผล ประโยชน์ของมนุษย์

ต้ น

เยียริ่ งมีความคิดเห็นว่า กฎหมายเป็ นเพียงส่วนหนึง่ ของการดำเนินชีวิตของ มนุษย์ กฎหมายเป็ นเครื่ องมือสำหรับใช้ เพื่อ
ตอบสนองความจำเป็ นของสังคม จุดหมายของกฎหมายจึงได้ แก่ การส่งเสริมและคุ้มครองประโยชย์ของสังคม และการ
ตีความกฎหมายขององค์กรที่มีหน้ าที่ตีความจะต้ องมุ่งไปสูจ่ ดุ หมาย ของกฎหมาย และจําเป็ นต้ องส่งเสริ มกิจกรรมของ
สังคมไปเพื่อจุดหมายของ สังคม และจุดหมายของสังคมสามารถทำให้ บรรลุผลได้ ด้วยกฎเกณฑ์ 4 ประการ คือ หลักการ
ว่าด้ วยปั จจัยแห่งการขับเคลื่อนสังคม โดย

- กฏเกณฑ์คแู่ รกจะเป็ นกฎเกณฑ์ทางบทกฎหมาย ได้ แก่ การสนับสนุน (ให้ รางวัล) กับการบังคับโดยมาตรการทาง


กฎหมาย (Reward and Coercion)

- กฏเกณฑ์คท
ู่ ี่สอง คือ มาตรการบังคับการอ้ อม (Unorganized Coercion) ซึง่ เป็ นมาตรการทางประเพณีสงั คม (Social
Convention) และจรรยาบรรณ

ได้ แก่ หน้ าที่ (ความสำนึก) และความรัก (ความสมัครใจ) (duty and love)
เยียริ่ ง เห็นว่ากฏหมายเป็ นเครื่ องมือ (feature) ของรัฐและกฎหมายจะ ต้ องใช้ บงั คับให้ ตรงตามความมุง่ หมาย
(purpose) ของกฎหมาย เขาได้ ว่า สภาพสังคมมีปัจจัย (factors) หลายอย่างที่มีความสัมพันธ์ซงึ่ กันและกัน โดยปั จจัย
จะมีอยู่ 3 ลักษณะ คือ

1. ปั จจัยที่ไม่เกี่ยวกับกฎหมาย (extra legal conditions) เช่น

เหตุการณ์ที่เกิดขึ ้นตามธรรมชาติ

2. ปั จจัยกึ่งกฎหมาย (mixed legal condition) เช่น การทำธุรกิจและ

แรงงาน
3 ปั จจัยที่เกี่ยวกับกฎหมายโดยตรง (purely legal conditions) เช่น การเก็บภาษีและการบังคับการตามบทกฏหมาย

Ehrlich (1862-1922)

นักนิติศาสตร์ ชาวเยอรมันเป็ นผู้สร้ างแนวคิดเกี่ยวกับกฎหมายว่ามีค วามสัมพันธ์กบั สังคมการเขียนกฎหมายต้ องอยู่บนพื ้น


ฐานของการ วิเคราะห์ทางสังคมวิทยาเขาเห็นว่าการบังคับใช้ กฎหมายในรูปแบบที่ เป็ นบทบัญญัติกฎหมายก็ดี หรื อจาก
คำพิพากษาของศาลก็ดี เป็ นเพียง ส่วนเดียวของสิ่งที่เกิดขึ ้นในการดำเนินชีวิตของชุมชน (Community) หน้ าที่ของผู้ร่าง
กฎหมายก็คือจะต้ องทำให้ กฎหมายตามให้ ทนั กับความ จริ งที่เกิดขึ ้น

เขาได้ แยกความแตกต่างระหว่างกฎเกณฑ์ที่กำหนดขึ ้น (norms of decision) ซึง่ หมายถึงตัวบทกฎหมาย กับกฏเกณธ์


แห่งความประพฤติ ปฏิบตั ิ (normd of conduct) ซึง่ หมายถึงกฎเกณฑ์ที่เป็ นอยู่จริ งใน สังคม ซึง่ เรี ยกฏเกณฑ์นี ้ว่า
Living Law

เยียลิซ เห็นว่า สภาพสังคมย่อมมีอยู่ก่อนที่จะเกิดบทบัญญัติ ของกฎหมาย หน้ าทีของร่างกฎหมาย ก็คือ จะต้ องทำให้


กฎหมาย ตามให้ ทนั กับความจริ งที่เกิดขึ ้น เช่น ในการตรากฎหมายว่าด้ วย โรงงาน จําเป็ นต้ องเข้ าไปตรวจโรงงานก่อนว่า
ความเป็ นใน โรงงานเป็ นอย่างไรและเมื่อรัฐได้ ตรากฎหมายออกไปแล้ ว ก็ จำเป็ นจะต้ องมีการติดตามดูวา่ บทกฎหมาย
เหล่านี ้ได้ มีการ ปฏิบตั ิตาม / ไม่รับรู้ / หลีกเลี ้ยงบิดเบือน / หรื อเพิ่มเติม (ในทาง ปฏิบตั ิ) อย่างไรบ้ าง ไม่ควรรอจนกระทัง่
ให้ มีข้อขัดแย้ งต้ องมา ถึงศาลเสียก่อน เพราะเรื่ องที่จะเป็ นปั ญหามาถึงศาลนันจะมี ้ จํานวนน้ อยมาก และความเสียหาย
ทางสังคมได้ เกิดขึ ้นแล้ ว
เขาเห็นว่า ในการเขียนกฎหมายมีความจำเป็ นต้ อง พิจารณาจากหลักการหลาย ๆ ด้ าน (propositions) เพราะ ๆ แนวคิด
ของบทกฎหมายเป็ นบทรวมที่มาจากหลักการหลาย ๆ ด้ านของกฎหมาย กฎหมายที่ตราขึ ้นโดยรัฐ เป็ นเพียงเงื่อนไข หนึง่
ของการควบคุมสังคม (one factor of social control) ดังนัน้ ในการออกแบบ (เขียน) กฎหมายจึงต้ องคำนึงถึง
ประเพณีและสภาพความคิดทางศีลธรรมของสังคม ตลอดจน การประพฤติปฏิบตั ิของกลุม่ ชนต่าง ๆ (groups and
associations)

กฎหมายที่มีชีวิต (Living law)

เยียลิช พยายามชี ้ว่า ศูนย์กลางของการพัฒนาทางกฎหมายนัน้ หาได้ อยู่ที่การ นิติบญ ั ญัติ นิติศาสตร์ หรื อในคำพิพากษา
ตัดสินของศาลไม่ แต่อยู่ที่ตวั สังคม สังคมจะ เปิ ดเผยให้ ทราบถึงการดำรงอยู่ของกฎหมายอีกประการหนึง่ ที่ประชาชนใน
แต่ละ ท้ องถิ่นหรื อชุมชนถือปฏิบตั ิกนั ทัง้ ๆ ที่มิใช่เป็ นกฎหมายซึง่ รัฐประกาศใช้ บงั คับ (State law)หรื อเรี ยกว่า กฎหมาย
ในชีวิตจริ งของมนุษย์

กฎหมายที่มีชีวิต แตกต่างจากกฎเกณฑ์หรื อคำสัง่ ที่เป็ นกฎหมายของทางราชการ

(official law) โดยจะเป็ นระเบียบแห่งความสัมพันธ์ภายใน (กลุม


่ , เผ่าพันธุ์) ซึง่ มีผล

ครอบงำชีวิตทางสังคมและมีการพัฒนาโดยตลอดแม้ วา่ จะไม่ปรากฏในรูปกฎหมายที่รัฐ

ตราขึ ้น

กฎหมายที่มีชีวิต ควรมีบทบาทสำคัญในการใช้ ตดั สินปั ญหา ความขัดแย้ งซึง่ ผลปี ระโยชน์ตา่ ง ๆ เคียงคูก่ บั กฎหมายของ
รัฐในเชิงคานอำนาจกัน และควรปรับกฎหมาย ของรัฐให้ สอดคล้ องกับกฎหมายที่มีชีวิต

Roscoe Pound (1870-1964)

ในการสร้ างโครงสร้ างของสังคม นักนิติศาสตร์ เป็ นบุคคลหนึง่ ที่มีภาระหน้ าที่ ในฐานะที่เป็ นวิศวกรสังคม (Social
Engineer) อันเป็ นภาระหน้ าที่ที่นกั กาหมาย ควรก้ าหนดบทบาทในการเป็ นวิศวกรทางสังคมในทางนิติศาสตร์

เป็ นนักนิติปรัชญาในระยะกลางของศตวรรษที่ 20 เขาทำให้ ชาวอเมริ กนั ภูมิใจว่า ชาวอเมริ กนั มีนกั ปรัชญาที่เก่งหรื อมีชื่อ
เสียงเท่าเทียมกันในประเทศ ยุโรป โดย Roscoe Pound เป็ นอาจารย์สอนกฎหมายอยู่ที่ Harvard Law School และ
เขียนหนังสืออย่างต่อเนื่องกันมากมายหลายเล่ม ผลงานของเขา เริ่ มปรากฏตังแต่
้ ต้นศตวรรษที่ 20 (ค.ศ.1919) เล่ม
สำคัญได้ แก่ A survey of Social Interest (1943-1944)

Roscoe
Pound ได้ ทำให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงในวงการกฎหมายของ สหรัฐอเมริ กาทังประเทศ
้ ทังในด้
้ านการสอนกฎหมายใน
มหาวิทยาลัยและในด้ าน การตรากฎหมายของสภานิติบญ
ั ญัติทงสภาของสหรั
ั้ ฐและสภาของมลรัฐ เขาเห็น ว่า การร่าง
กฎหมาย การตีความกฎหมาย การใช้ กฎหมาย จะต้ องพิจารณาถึง ข้ อเท็จจริ งทางสังคม (social facts)

Roscoe Pound มีความเห็นว่า ประเทศสหรัฐอเมริ กาในฐานะที่เป็ น ประเทศคอมมอนลอร์ ยงั เน้ นการให้ ความสำคัญใน
สิทธิของปั จเจกชนมากเกินไป และในการที่จะปรับกฎเกณฑ์ทางกฎหมายให้ เป็ นไปตามความมุ่งหมาย จะต้ อง เริ่ มต้ นด้ วย
การดาเนินการเป็ น 5 ขัน้ ดังนี ้

1. จัดทํารายการและแยกประเภทเกี่ยวกับผลประโยชน์ (interest)

2. กําหนดเลือกประเภทประโยชน์ ที่กฏหมายจะให้ การยอมรับ (recognized) 3. กําหนดขอบเขต (limit) ในการให้ ความ


คุ้มครอง แก่ประโยชน์ที่ได้ คดั เลือก

ไว้ แล้ ว

4. กําหนดวิธีการ ประเภทต่าง ๆ

(means)

ที่กฎหมายจะให้ ความคุ้มครองแก่ประโยชน์
5 ปรับเปลี่ยนหลักเกณธ?ในการประเมินคุณค่าของประโยชน์ ตามระยะเวลา (evolution of the principles of
valuation of the interests)

เขาได้ เปรี ยบเทียบภาระหน้ าที่ (task) ของนักกฎหมายว่าเป็ นเสมือนงานวิศวกรรม เป็ นงานที่มีเป้าหมายในการสร้ าง


โครงสร้ างของสังคมให้ มีประสิทธิภาพสูงสุด โดย ทําให้ เกิดความพอใจให้ แก่ความต้ องการของมนุษย์ให้ มากที่สดุ และมี
ความขัดแย้ ง และความเสียเปล่าให้ น้อยที่สดุ โดยคำว่า “ความต้ องการ” ซึง่ ในที่นี ้ Roscoe Pound หมายถึง ประโยชน์
เขาเห็นว่าเพื่อสภาพสังคมจะได้ มีความยัง่ ยืน กฎหมาย จะต้ องให้ ความคุ้มครองแก่ประโยชน์ โดยนักนิติศาสตร์ (jurist)
มีหน้ าที่ช่วยศาลใน การคัดแยกประเภทของประโยชน์ที่ควรจะได้ รับความคุ้มครองโดยกฎหมาย

1. ประโยชน์ของปั จเจกชน (individual interests) แยกออกเป็ นประโยชน์ที่ เกี่ยวกับ personality เช่น สิทธิเสรี ภาพ
ประโยชน์เกี่ยวกับ domestic relations เช่น สถาบันครอบครัว การสมรส ประโยชน์เกี่ยวกับ substance เช่น สิทธิใน
ทรัพย์สิน เสรีภาพในการชุมนุม เป็ นต้ น
2. ประโยชน์ของส่วนรวม (Public interests) แยกออกเป็ นประโยชน์ของรัฐ

ในการเป็ นนิติบคุ คลประโยชน์ของรัฐในฐานะที่เป็ นผู้รักษาประโยชน์ของสังคม

3. ประโยชน์ของสังคม (social interests) ซึง่ ประโยชน์กลุม


่ นี ้เป็ นกลุม่ ที่ สําคัญที่สดุ Pound ได้ วางกฎเกณธ์ของ
ประโยชน์กลุม่ นี ้ไว้ วา่ ได้ แก่ interests ต่าง ๆ ที่จะต้ องมองจากด้ านสังคมมากกว่าจะมองว่าจากด้ านประโยชน์ของปั จเจก
ชน เยา ได้ ก้าหนดรายการของ interests ต่าง ๆ ที่มองจากด้ านสังค้ น เช่น ประโยชน์ของ สังคมในด้ าน general
security ประโยชน์ของสังคมในด้ านความมัน ่ คง social institutions ประโยชน์ของสังคมในด้ าน general morals
ประโยชน์ของสังคมใน ค้ าน conservation of social resource ประโยชน์ของสังคมในด้ าน general progress
เป็ นต้ น

นอกจากนี ้ Pound ยังแยกประเภทของ institutions of the law ออกเป็ น 5 ระดับ อ

1. กฎหมาย (rule)

2. หลักการ (principle)

3. แนวความคิด (conceptions)

4. ลัทธิความเชื่อ (doctrines)

5. มาตรฐานความประพฤติ (standards of conduct)

ทฤษฎีวา่ ด้ วยผลประโยชน์ / ทฤษฎีวิศกรรมสังคม

ทฤษฏีวิศวกรรมสังคม (Social Engineering Theory) คือ การพิจารณาว่ากฎหมาย เป็ นกลไกหรื อเครื่ องมือที่สร้ างขึ ้น
เพื่อคานผลประโยชน์ตา่ ง ๆ ในสังคมเพื่อให้ เกิดความสมดุล เสมือนเป็ นการก่อสร้ างหรื อกระท้ าวิศวกรรมสังคม และผล
ของการพิจารณาบทบาทของ กฎหมายเช่นนี ้ ทําให้ มีการสร้ างหรื อตรากฎหมายในลักษณะเข้ าไปแทรกแซงการจัดระเบียบ
ทางเศรษฐกิจหรื อถ่วงดุลผลประโยชน์ตา่ ง ๆ ในสังคมให้ มีความเสมอภาค หรื อเป็ นธรรมมาก ขึ ้น
ศาสตราจารย์ ดร.อมร จันทรสมบูรณ์ กล่าวว่า นักกฎหมายในปั จจุบนั ยอม รับว่า สาระของผลงานของ Pound มี
ประโยชน์อย่างมากมาย เพราะแนวความคิด ของเขาได้ เพิ่มเติมแนวความคิดทางกฎหมายให้ สมบูรณ์ขึ ้นจากเดิมที่มีการ
กล่าวถึง องค์ประกอบเพียงสองส่วน คือ กฎหมายกับสังคม (law and society) แต่แนว ความคิดของเขาได้ เชื่อม (vital
connection) องค์ประกอบสามส่วนของกฎหมาย เข้ าด้ วยกัน คือ กฎหมาย (laws) การบริ หารกฎหมาย (the
administration of laws) และสังคม (the life of society) เขาได้ กาหนดการะที่เป็ นทังความ ้ รับผิดชอบและเป็ นทัง้
หน้ าที่เชิงสร้ างสรรค์ ให้ แก่นกั กฎหมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ พิพากษาในฐานะที่เป็ นวิศวกรสังคม นอกจากนัน้ เขายังได้
ทำให้ นกั กฎหมาย ตระหนักว่า ในการขัดแย้ งระหว่างประโยชน์ ที่มีอยู่อย่างหลากหลายนัน้ กฏหมาย มีหน้ าที่ที่จะปรับ
ประโยชน์ให้ เข้ าด้ วยกัน

Joseph Kohler (1849 – 1919)

นักปราชญ์ใหญ่ทางนิติปรัชญาของเยอรมันซึง่ เน้ นว่า กฎหมายจะ ต้ องถือว่าเป็ นปรากฏการณ์ทางวัฒนธรรม เขาชื่อว่า


กฎหมายเป็ นส่วน หนึง่ ของวัฒนธรรม จึงมีบทบาทช่วยก่อให้ เกิดวัฒนการในทางชีวิตและ วัฒนธรรม เขาเชื่อว่า กฎหมาย
เป็ นส่วนหนึง่ ของวัฒนธรรม จึงมี บทบาทช่วยก่อให้ เกิดวัฒนการในทางชีวิตและวัฒนธรรมของ มนุษยชาติ โดยปกปั ก
รักษาคุณค่าที่มีอยู่แต่ดงเดิ
ั ้ ม แล้ วก็ก่อตังคุ
้ ณค่า ขึ ้นใหม่ คือ นําเอาจารี ตประเพณีเหล่านันมารั
้ กษาไว้ ในรูปของกฎหมาย
ประเพณีหรื อในรู ปที่เอามาเขียนไว้ ในกฎหมายลายลักษณ์อกั ษร สร้ าง คุณค่าใหม่ คือ กฎเกณฑ์ใหม่ที่สร้ างขึ ้นโดยฝ่ าย
นิติบญั ญัติ เขาเชื่อว่า แต่ละชาติ วัฒนธรรมของตัว และวัฒนธรรมนันเกิ ้ ดจากลักษณะพิเศษ เฉพาะของชาติ หน้ าที่ของ
นักวิชาการ คือ ค้ นหาเอกลักษณะขอชาติ หรื อ ปั จจัยทางวัฒนธรรมของแต่ละชาติที่แตกต่างกัน
เขาจึงได้ ก่อตังวิ
้ ชา Ethnological Jurisprudence หมายความ ว่า วิชานิติศาสตร์ เชิงชาติพนั ธุ์วิทยา คือ ศึกษาถึงว่า
แต่ละชาติมี ลักษณะพิเศษที่แตกต่างกันอย่างไร เป็ น Ethnological และจาก การศึกษา Ethnological นี ้อาจนำเอามา
ทำความเข้ าใจกฎหมายของ แต่ละชาติ เพราะฉะนัน้ นักคิดหรื อนักกฎหมายเยอรมันในศตวรรษ ที่ 19 จึงเป็ นคนก้ าวหน้ า
ที่สร้ างวิชาที่เรี ยกว่า Ethnology แล้ วมีนกั วิทยาการเดินทางไปท้ องที่ตา่ ง ๆ เพื่อศึกษาหาความรู้และเก็บมาจน เป็ นวิชา
ใหญ่มาก ทำให้ ร้ ูวา่ คนในป่ าเขา ในเกาะที่เป็ นเผ่าล้ าหลัง มี ชีวิตอยู่และมีขนบธรรมเนียมอย่างไร เขารวบรวมไว้ มากเกือบ
จะ เหมือนงานของมนุษยวิทยา ทีเดียว

Anthropology โดยสรุ ปคือ เรี ยนเรื่ องคน เรี ยนเพื่อรู้ จกั คนสมัย โบราณ เขาได้ ขยายอาณาเขตของวิชานิติศาสตร์ ไปสูก่ าร
ศึกษา จารี ตประเพณี ของชนเผ่าต่างๆที่ด้อยพัฒนาเพื่อเบิกทางให้ แก่ Legal Anthropology สมัยใหม่ อย่างไรก็ดี
แนวทางใหม่ก็เป็ นแนวทางที่เกิดขึ ้นตังแต่
้ สมัยใหม่ ทำให้ นกั กฎหมายมีทศั นคติที่กว้ างขึ ้น ในสมัยใหม่จงึ สอนว่า นัก
กฎหมายจะรู้ แต่กฎหมายอย่างเดียวไม่ได้ ต้ องเรี ยนวิชาอื่นเพื่อมาประกอบด้ วย แต่มีข้อที่ ต้ องเตือนว่า อย่างทิ ้งกฎหมาย
เพราะการสอน Sociology of Law และ Philosophy of Law อาจทำให้ หลุดไปจากความเป็ นนักกฎหมายง่าย จึงต้ อง
พยายามยืดนิติศาสตร์ โดยแท้ ควบคูไ่ ปด้ วย

You might also like