You are on page 1of 3

การ เสี ยเอกราชครั้งที่ ๒ ของชาติไทย : สิ่ งดี ๆ ที่อาจถูกมองข้ าม

กระแสของภาพยนตร์และละครอิงประวัติ ศาสตร์ที่กำลังมาแรงในปัจจุบนั ทำให้หวนคิดไปว่าประวัติศาสตร์ชาติไทยที่


มักเขียนโดยผูช้ นะหรื อด้วยวัตถุ ประสงค์แฝงทางการเมืองในแต่ละยุค  จะปลูกฝังหรื อชัก นำจินตนาการของลูกหลานไปในทิศทางใด
กัน

เรื่ องราวของการเสี ยเอกราชครั้งที่ ๒ ของไทยเมื่อปี พ.ศ.๒๕๑๐  ตามที่ได้บรรจุไว้ในตำรา เรี ยนสมัยชั้นประถมศึกษา  มี


อยูค่ ่อนข้างน้อย  เด็กเล็ก ๆ ที่อ่าน อาจมีความรู้สึกโกรธแค้นผูร้ ุ กราน และเสี ยดายสภาพของกรุ งศรี อยุธยาที่ถูก ทำลายอย่างย่อยยับ 
รวม ทั้ง เกิดตะกอนในจิตใจที่ยากจะลบเลือน  เนื่องจาก เป็ นเหตุการณ์สำคัญอันหนึ่งในประวัติศาสตร์ที่ได้รับการบันทึกไว้วา่ ชนชาติ
ไทยต้องตกอยูภ่ ายใต้อำนาจของต่างชาติ 

แต่เมื่อได้ศึกษาประวัติศาสตร์สมัย ใหม่ที่ได้มีการค้นคว้าตามหลักวิชาการมากขึ้น  โดย เฉพาะอย่างยิ่งงานเขียนของ


อาจารย์นิธิ เอียวศรี วงศ์ เรื่ อง “การเมืองไทยสมัยพระเจ้ากรุ งธนบุรี” ด้วยแล้ว  แม้จะยังคงความรู้สึกเจ็บปวดอยูบ่ า้ งกับ ชีวิตในบั้นปลายของสมเด็จพระเจ้าตากสิ นมหาราช (พร
ะมหากษัตริ ยผ์ ยู ้ ิง่ ใหญ่และอยูใ่ นดวงใจของคนไทยทั้งชาติพระองค์หนึ่ง) แต่กลับได้พบมุมมองใหม่ที่เปิ ดกว้างขึ้น สามารถรื่ นรมย์ และยอมรับสภาพในอดีตที่ไม่มีวนั
เปลี่ยนแปลงแก้ไขได้   เป็ นอีกแนวคิดหนึ่งที่เรี ยกได้วา่  อาจแปลกแยก/ขวางหูใครอีกหลาย ๆ คน เพราะอยากแสดงความขอบคุณประเทศ พม่าที่ได้ตดั สิ นใจโจมตีอาณาจักร
อยุธยา ในครั้งนี้
เหตุผลสำคัญที่ตอ้ งขอบคุณเหตุการณ์ ครั้งประวัติศาสตร์ของการสู ญเสี ยเอกราชในครั้งนี้ มีอยูว่ า่
แท้ที่จริ งแล้ว อาณาจักรอยุธยาซึ่ งคนไทยรุ่ นหลังได้เหมารวมว่าเป็ นสัญลักษณ์ของความเป็ นไทย นั้น  ได้สูญเสี ยอำนาจการควบคุมหัวเมืองต่าง ๆ ไปแล้วก่อน
หน้าที่จะถูกทำลาย  อำนาจ บารมี ตลอดจนดินแดนอันกว้างใหญ่ไพศาลที่องค์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ได้ทรงสถาปนาไว้เกือบสองร้อยปี   ได้ค่อย ๆ สลายไปตามกาล
เวลาและตามความอ่อนแอของคนในชาติ  หัว เมืองต่าง ๆ ที่เคยอยูภ่ ายใต้การปกครองของอาณาจักรอยุธยา  มี สภาพต่างคนต่างอยู่  ต่างคนต่างปกครอง  อำนาจจากส่ วนกลาง
(อาณาจักรอยุธยา) มิได้มีอิทธิพลเหนือเมืองต่าง ๆ อีกต่อไป แม้กระทัง่ เมืองบริ วารที่อยูใ่ กล้ ๆ อย่างอ่างทอง และสุพรรรณบุรี  ดังนั้น การบุกเข้าโจมตีและทำลายล้างกรุ ง
ศรี อยุธยาโดยทัพพม่า เมื่อ ๗ เมษายน ๒๓๑๐  จึงเป็ นแค่เพียงการตอกย้ำให้เห็นถึงการสูญเสี ยทางกายภาพ อันเป็ นสัญลักษณ์บ่งบอกแต่เพียงภายนอกเท่านั้น  เพราะ เอกราช
ของชาติที่แท้จริ งได้สูญเสี ยไปก่อนหน้านี้ แล้ว
 การแบ่งแยกออกเป็ นหมู่เป็ นเหล่า ของคนไทยในห้วงเวลาดังกล่าว  ยิง่ เห็นได้ชดั เจนยิง่ ขึ้นในภายหลัง  แม้สมเด็จพระเจ้าตากสิ นมหาราช  จะสามารถกอบกู้
เอกราช ขับไล่พม่าออกจากกรุ งศรี อยุธยาได้ภายใน ๗ เดือน ก็ตาม  พระองค์ ต้องทำการปราบปรามชุมนุมต่าง ๆ ที่เจ้าเมืองได้ถือโอกาสตั้งต้นเป็ นใหญ่เพื่อปกครองตนเอง ถึง
จำนวน ๔ แห่ง  ( ชุมนุมเจ้าพระยาพิษณุโลก (เรื อง) - พิษณุโลก, ชุมนุมเจ้าพระฝาง (เรื อน) - อุตรดิตถ์, ชุมนุมเจ้านคร (หนู) - นครศรี ธรรมราช และชุมนุม เจ้าพิมาย (กรม
หมื่นเทพพิพิธ) – นครราชสี มา) เพื่อ รวบรวมพี่นอ้ งไทยให้กลับมาอยูภ่ ายใต้ราชอาณาจักรผืนเดียวกันอีกครั้ง
หรื ออาจพูดง่าย ๆ ว่า  เป็ นเพราะการเสี ยเอกราชครั้งที่ ๒ นี่เอง  เป็ น ปฐมเหตุหรื อโอกาสให้ชาติไทยเราสามารถกลับมารวมกันเป็ นปึ กแผ่นอีกครั้ง โดยมี
อาณาเขตที่กว้างใหญ่ไพศาลกว่าเท่าที่เคยมีมา ทั้งนี้ หากไม่มีเหตุการณ์ดงั กล่าว  อาณาบริ เวณที่ประกอบเป็ น ประเทศไทยในปัจจุบนั อาจประกอบไปด้วยประเทศเล็ก ๆ อีก
๔ หรื อ ๕ ประเทศก็เป็ นได้
อีกเรื่ องหนึ่งที่หลายคนรู้สึกเสี ยดาย ก็คือ  สถาปัตยกรรมและโบราณสถานอันยิ่งใหญ่ของกรุ ง ศรี อยุธยาตามหลักฐานที่มีการบันทึกไว้ในประวัติศาสตร์ และได้
ถูกทำลายลงไปนั้น  ก็ตอ้ งบอกว่า ถ้าไม่มีเหตุการณ์เช่นนี้   เราก็คงไม่มีโอกาสได้เห็น  ความยิง่ ใหญ่ตระการตาของพระบรมมหาราชวังและวัดพระศรี รัตนศาสดารามอย่าง
เช่นปัจจุบนั    
ที่กล่าวมาทั้งหมด มิได้หมายความว่าอยากให้เกิดเหตุการณ์เช่นนั้น  ถ้า เลือกได้ เราทุกคนคงเลือกที่จะให้ราชอาณาจักรไทยเจริ ญรุ่ งเรื องอย่างยัง่ ยืนและไม่ขาด
ตอน  แต่มนั ก็เป็ นไปไม่ได้   ทั้งนี้ เมื่อเลือกไม่ ได้ ก็ขอเลือกที่จะนำเอาสิ่ งดี ๆ ที่เกิดขึ้นมาเป็ นกำลังใจให้ต่อสู้กนั ต่อไป
นี่เป็ นเพียงมุมมองของลูกไทยคนหนึ่งที่ มิใช่นกั ประวัติศาสตร์   แต่รักประวัติศาสตร์ชาติไทย ที่บรรพชนได้ปกปักรักษา และมอบเป็ นมรดกอันล้ำค่าไว้ให้ลูก
หลานไทย  อยูอ่ ย่างร่ มเย็นเป็ นสุขตามอัตภาพ  ตราบ เท่าทุกวันนี้    

การเสียเอกราชในทางประวัติศาสตร์ สากล เขาจะนับเฉพาะยุคของการล่าอาณานิคมเท่านันครั ้ บ เพราะในสมัยรัฐโบราณ


เหมือนยุคอยุธยานัน้ บางแห่งยังไม่นบั ว่าเป็ น "รัฐ-ชาติ" ตามความหมายใหม่เลย มิฉะนันก็
้ ตา่ งเคยเสียเอกราชกันทังโลก

แหละครับ อังกฤษเองก็เคยถูกโรมันครองเหมือนกัน

ดังนันเมื
้ ่อเทียบในยุคล่า อาณานิคมแล้ ว ไทยก็ถือว่าเป็ นชาติที่ไม่เคยเสียเอกราชให้ ใครครับ

พม่า ถือว่าไทยเสียเอกราชให้ พม่า "สาม" ครัง้ ครับ และนักประวัติศาสตร์ ชาติเป็ นกลาง ก็ถือเช่นนันด้
้ วย

ครัง้ แรก คือบุเรงนองยกมาตีไทยครัง้ ที่หนึง่ ปี 2106 ในสมัยพระมหาจักรพรรดิ์


ไทยรบ แพ้ ในสมรภูมิตา่ งๆจนพม่าเข้ าล้ อมเมือง และยิงปื นใหญ่ถล่มเมืองอย่างหนัก
เมื่อ พม่าส่งสาสน์ให้ ยอมจำนน พระมหาจักรพรรดิ์จำต้ องยอมยอมอ่อนน้ อมต่อพม่า
ไทย จึงตกเป็ นประเทศราชของพม่าครัง้ แรก พม่าจับตัวพระมหาจักรพรรดิ์และพระราเมศวรไปเป็ นตัวประกัน
และตังให้
้ พระ มหินทราธิราชปกครองกรุงศรี อยุธยาในฐานะเมืองขึ ้น
ไทยเสียดินแดนเมือง มะริ ด และต้ องส่งเครื่ องราชบรรณาการไปถวายทุกปี เป็ นเงิน 300 ชัง่ กับช้ าง 30 เชือก

สงครามครัง้ นี ้ ในทางพฤตินยั และนิตินยั ถือว่าเสียเอกราชแน่นอน


เพียงแต่กรุงศรี อยุธยาไม่ได้ ถกู ตีจนแตก เพราะเราเปิ ดประตูเมืองยอมอ่อนน้ อมเป็ นประเทศราช
ข้ อที่พม่าไม่ได้ ตีกรุง จนแตก ทำให้ นกั ประวัติศาสตร์ ประเภทชาตินิยม ไม่ยอมรับความจริ ง
เลี่ยงไป ใช้ คำว่า เรายอมเป็ นไมตรี กบั พม่า
แต่ไม่ร้ ูวา่ เป็ นไมตรี ประเภทไหน ที่พระมหากษัตริ ย์ไทย และองค์รัชทายาท
ต้ องถูกจับไปเป็ นตัวประกัน เหลือไว้ แต่พระโอรสองค์รองให้ ครองเมืองแทน
แถมต้ องถวายเครื่ องราช บรรณาการให้ พม่าทุกปี

หลังจากพระมหินทราธิราชได้ ครองเมืองไม่นาน ก็ทรงแข็งเมืองต่อพม่า


ทำให้ เราได้ กลับเป็ นเอกราชจนถึงปี 2112
พม่ายก ทัพมาตีกรุงศรี อยุธยาอีกครัง้ และครัง้ นี ้ไทยรบจนกรุงแตก

พระมหินทราธิราชควรได้ รับการยกย่องว่าเป็ นพระมหากษัตริ ย์ที่ทรงพยายามกอบกู้เอกราชของ ชาติ


เพียงแต่ทรงทำไม่สำเร็จจนถึงที่สดุ

1. ถ้ าถามว่า "ประเทศไทย" เคยเสียเอกราชกี่ครัง้ ? ผมว่า เราต้ องเข้ าใจ (ซึง่ ผมเองเข้ าใจเช่นนี)้ ว่า "เสียเอกราช"
นันน่
้ าจะหมายถึงการสูญเสียอธิปไตยในดินแดนแห่งประเทศตน (พูดง่ายๆคือ รัฐบาลของชนเผ่านันๆไม่ ้ ได้ มี
อำนาจเหนือดินแดนของตัวอย่างเต็มที่) คล้ ายกับยุคจักรวรรดินิยม ยกตัวอย่างเช่น ที่องั กฤษกระทำกับ
อาณานิคมของตัว....โดยนัยนี ้ ผมว่าการต้ องเสียบรรณาการ ก็คือการ "นอบน้ อม" ต่อชาติที่เข้ มแข็งกว่า แต่
รัฐบาลของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ์ หรื อสมเด็จพระมหาธรรมราชา ต่างก็เป็ นชาวเสียม(อโยทยา) มีอำนาจ
ปกครองในดินแดนของตัวโดยที่กษัตริ ย์บเุ รงนอง หรื อนันทบุเรงของพม่าไม่ได้ มาก้ าวก่ายอะไรเลย (ทังทางด้ ้ าน
การเมือง หรื อเศรษฐกิจ) นอกจากให้ อโยทยา "อ่อนน้ อม" โดยส่งเครื่ องบรรณาการไปให้ โดยพระราชอำนาจของ
กษัตริ ย์ในอโยทยายังมีอยู่อย่างเต็มเปี่ ยม...ผมว่ากรณีใน ความคิดของผมไม่ถือว่าเป็ นการเสียเอกราช
2. แต่ถ้าถือว่าเสียเอกราช คำนี ้ก็ไม่ได้ "ผูกพัน" ถึงชาวสยามทังหมดทั
้ งมวล
้ นี ้ครอบคลุมเพียงรัฐอโยทยาเท่านัน้
(หรื อรัฐที่อโยทยามีอำนาจเหนือเท่านัน้ ).....ในกรณีสมัยอโยทยาผมชอบคำว่า "ยอมอ่อนน้ อม" เสียมากกว่า
สำหรับกรณี พ.ศ. 2310 ก็นา่ จะเรี ยกว่า "เสียเมือง (อโยทยา)" มากกว่า
3. ต่อมาคือคำว่า "ประเทศไทย" ประเทศไทยเพิ่งจะถูกสถาปนาว่ามีอย่างชัดแจ้ งหรื อชัดเจนในสมัยรัฐบาล
จอมพล. ป (ครัง้ ที่ 1 ถ้ าจำไม่ผิด) หรื อประมาณ หกสิบกว่าปี ที่แล้ วนี่เอง โดยนัยนี ้ ผมว่าเรามีการเสียเอกราช
หลายครัง้ ...โดยทางพฤตินยั ...ทีนี ้ก็ต้องดูวา่ เมื่อไรที่นโยบายทางการเมืองหรื อเศรษฐกิจไม่ได้ อยู่ในมือเรา "อย่า
งสมบูรณ์" บ้ าง กรณีนนๆจึั ้ งน่าจะเป็ นการเสียเอกราช ในความคิดของผม

ช่วงอยุธยา การตีแต่ละครัง้ เป็ นการตีเมืองครับ ไม่ใช่ตีประเทศ การเสีย เป็ นการเสียของเมืองนัน้ ๆ ครับ ไม่ใช่ของ
ประเทศ เพราะแต่ละเมืองมีศกั ยภาพในการปกครองตนเอง โดยไม่ต้องพึง่ พา
๑. เงินงบประมาณ
๒. การบริ หารราชการแผ่นดิน
๓. ความสัมพันธ์หรื อวิถีทางการทูต
๔. สายการบังคับบัญชาทางทหาร

จาก รัฐบาลกลาง เพราะหากกรุงศรี ฯ แตกไป เมืองอื่นปกครองตนเองได้ เลย ไม่ต้องพึง่ พิงกรุงศรี ฯ

You might also like