You are on page 1of 20

Article

แนวคิดจักรวาลวิทยาอู่สิง อันส่งผลต่อระบบการปกครอง
โบราณของจีน
จุฬาลักษณ์ ปลื้มปัญญา
คณะประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยหนานจิง

บทคัดย่อ
อูส่ งิ (五行 ธาตุทงั้ ห้า ได้แก่ โลหะ ไม้ น�ำ้ ไฟ และดิน) ซึง่ เป็นแนวคิดพืน้ ฐานทางจักรวาล
วิทยาของชาวจีนมีความส�ำคัญอย่างยิ่งในการสร้างกรอบวิธีคิดทางการเมืองของชาวจีนโบราณ
พัฒนาการทางทฤษฎีของอูส่ งิ สะท้อนให้เห็นถึงมุมมองของชาวจีนด้านพืน้ ทีท่ างการเมือง ความเป็นอืน่
การซ้อนทับของโลกธรรมชาติและความเชื่อเหนือสิ่งลี้ลับ การสร้างสิทธิธรรมให้แก่ชนชั้นปกครอง
และการสร้างสิทธิธรรมรองรับการแทนที่ของราชวงศ์ บทความนี้มุ่งศึกษาอิทธิพลของทฤษฎีอู่สิงที่
มีตอ่ แนวคิดการปกครองของชาวจีนก่อนราชวงศ์ฉนิ จนถึงราชวงศ์ฮนั่ อันจะสะท้อนให้เห็นโลกของ
ชาวจีนสมัยโบราณซึ่งจะเป็นรากฐานส�ำคัญต่อสังคมจีนในยุคต่อมา

คำ�สำ�คัญ: อู่สิง ประวัติศาสตร์จีน ทฤษฎีการเมืองจีนโบราณ จักรวาลวิทยาจีน

51
The Wu Xing theory and the Ancient Chinese
Political System
Juraluk Pleumpanya
Faculty of Chinese history, Nanjing University

Abstract
Wuxing (Five elements: metal wood water fire and soil) is one of the cosmology
concepts that serve as the substructucture of the ancient Chinese political ideal.
The Wuxing theory development was reflecting Chinese aspect in political geography
and social otherness. The theory imply the overlapped between natural world and
ultra-natural world in ancient world concept. And indicated dynasty’s legitimacy
and impliment ligitimacy in replacing the monarchy. This article aims to investigate
influence of Wuxing’s theory on ancient Chinese political affair before Qin dynasty
till Han dynasty.

Keyword: Wuxing, Chinese history, Chinese ancient political theory, Chinese


cosmology

Corresponding author e-mail: 18626411546@163.com

52
แนวคิดจักรวาลวิทยาอู่สิง อันส่งผลต่อระบบการปกครองโบราณของจีน
จุฬาลักษณ์ ปลื้มปัญญา

บทนำ� สิ่งลี้ลับที่ไม่อาจอธิบายได้ ดังนั้น ในแง่ทาง


หากต้ อ งการท� ำ ความเข้ า ใจการ การเมือง การสร้างต�ำนานหรือความเชือ่ ส่งผลต่อ
ปกครองในสมัยโบราณของจีนนั้นจ�ำเป็นต้อง การปกครองเป็นอย่างมาก มนุษย์พงึ่ พิงความเชือ่
เข้าใจปรัชญาและแนวคิดต่างๆ ของชาวจีนใน เพื่ อ ชี้ น� ำ วิ ถี ชี วิ ต ในสั ง คมและเป็ น แบบแผน
ยุคสมัยนั้นๆ อย่างถ่องแท้ ส�ำหรับปรัชญาของ เพื่ อ ไม่ เ กิ ด ความผิ ด พลาดในชี วิ ต ซึ่ ง คล้ า ย
จีนนั้นสามารถกล่าวได้ว่าเป็นปรัชญามนุษย- กับศาสนา การปกครองโบราณจึงตอบสนอง
นิยม (humanism) ซึ่งเป็นปรัชญาที่เน้นว่า พื้นฐานความต้องการนี้
เทพหรือสวรรค์ (Heaven) อยู่ร่วมกับมนุษย์ ในการสร้างแนวคิดทางการเมืองซึ่ง
และไม่ ส ามารถแยกออกจากกั น ได้ ชาวจี น แนบอิงจากการสร้างอ�ำนาจแบบรวมศูนย์โดย
เชื่อว่าสวรรค์หรือจักรวาล (cosmos) ไม่อาจ กลุ่มผู้ปกครองเพียงกลุ่มเดียวและพัฒนามา
แยกออกจากมนุษย์ และทุกสรรพสิง่ บนโลกใบนี้ เป็ น แนวคิ ด การเปลี่ ย นผ่ า นอ� ำ นาจและสิ ท ธิ
เกี่ยวเนื่องกันอย่างไม่อาจแยกออกจากกันได้ ชอบธรรมในการปกครองของกลุม่ อ�ำนาจใหม่ หรือ
การเติบโตของปรัชญามนุษย์นยิ มในจีนเป็นผล สิทธิอันชอบธรรมในการโค่นล้มกลุ่มผู้ปกครอง
สืบเนื่องจากเปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตร์ เก่าของชาวจีน ก็สามารถเห็นได้ว่าจักรวาล
และสังคมจีนโบราณ แนวคิดแบบสหสัมพันธ์ วิทยามีบทบาทส�ำคัญยิ่งในการเปลี่ยนแปลง
(correlative thought) เช่นนี้ไม่ได้ปรากฏ ทางการเมืองดังกล่าว
เฉพาะในปรัชญาจีนเท่านั้น แต่ยังปรากฏใน
วัฒนธรรมเบื้องต้น (primitive culture) ในที่ จักรวาลวิทยาและการอำ�นาจรวมศูนย์
อื่นๆ ของมนุษย์ด้วย ที่กลุ่มผู้ปกครอง
ในมุ ม มองของมนุ ษ ย์ โ บราณนั้ น แนวคิ ด จั ก รวาลวิ ท ยาของจี น ในยุ ค
สิ่ ง ลี้ ลั บ และเทวต� ำ นาน (mythology) เริ่มแรกที่น่าสนใจและยังคงอยู่ในปรัชญาต่างๆ
ดาราศาสตร์และจักรวาลวิทยาไม่เพียงเกีย่ วข้อง ของจีนคือ ซื่อฟัง (四方) นิยามของซื่อฟัง
กับการเคลือ่ นทีข่ องดวงดาวบนท้องฟ้าและเรือ่ ง ค่อนข้างคลุมเครือและเป็นที่ถกเถียง งานของ
เล่าในจินตนาการ ดาราศาสตร์โบราณนั้นเกี่ยว ไอเหอ หวัง (Aihe Wang)1 เสนอว่า ซือ่ ฟัง เป็น
เนื่องกับโหราศาสตร์ นั่นคือการมองว่าดวงดาว แนวคิดที่แสดงถึงภูมิรัฐศาสตร์ของราชวงศ์ซัง
บนท้ อ งฟ้ า มี อิ ท ธิ พ ลควบคุ ม ชี วิ ต มนุ ษ ย์ ไ ด้ ซื่ อ ( 四 ) หมายถึ ง สี่ ฟั ง ( 方 ) หมายถึ ง
ในทัศนะของมนุษย์ยคุ ก่อนวิทยาศาสตร์จะเฟือ่ งฟู ด้าน ซือ่ ฟัง จึงหมายถึงด้านทัง้ สีโ่ ดยทีด่ า้ นทัง้ สี่
ค� ำ ตอบทุ ก ค� ำ ถามของมนุ ษ ย์ ม าจากมาจาก นัน้ คือ “ภายนอก” อาณาจักรซัง ซึง่ มีความเป็นอืน่

1
Aihe Wang, Cosmology and Political Culture in Early China (Cambridge: Cambridge University Press,
2000), 23-73.

53
The International Journal of East Asian Studies

มีความแตกต่าง ส่วนภายในหรือศูนย์กลาง แห่งธรรมชาติและอ�ำนาจที่ไม่อาจอธิบายได้


ภายในของซือ่ ฟังนัน้ ก็คอื อาณาจักรราชวงศ์ซงั นอกจากนี้แนวคิดที่เป็นนามธรรมของตี้ยังช่วย
ดังนั้นจึงจะเห็นได้ว่า ซื่อฟังมีความหมายของ ให้ราชวงศ์ซังสามารถดูดกลืนหรือเชื่อมโยง
การสร้างศูนย์กลางการปกครองในยุคราชวงศ์ กับความเชื่อเรื่องเทพเจ้าและวิญญาณต่างๆ
ซังนั่นเอง ของชนเผ่าทีร่ าชวงศ์ซงั ได้ตดิ ต่อหรือครอบครอง
ไม่เพียงแต่ในแง่ของภูมิรัฐศาสตร์ แต่ และอาจเชื่ อ ได้ ว ่ า ความเชื่ อ เรื่ อ ง ตี้ ค่ อ ยๆ
ซื่อฟังยังถูกใช้ในบริบทของจักรวาลวิทยาและ เปลี่ยนแปลงเป็นบรรพบุรุษของราชวงศ์ซังเมื่อ
พิธีกรรมด้วย ในจย่ากู่เหวิน (甲骨文) มี เข้าสู่ยุคท้ายราชวงศ์
การกล่าวถึงซื่อฟังในแง่ของทิศทางต่างๆ และ ความสั ม พั น ธ์ ที่ เ ห็ น ได้ ชั ด ระหว่ า ง
ตั้งชื่อลมและเทพแห่งลมในทิศนั้นๆ เช่น “ทิศ ซือ่ ฟังและตี้ นัน่ คือสามารถตีความจากข้อความ
ตะวันออกเรียก ซี ลมของทิศตะวันออกเรียก เลีย่ จย่ากู่เหวินได้ว่า ซื่อฟังนอกจากเป็นเทพใน
(东方曰析 风曰劦)”2 มีการบวรสรวง (禘) มโนทัศน์ของชาวซังแล้ว ยังเป็นช่องทางของ
ให้แก่ซื่อฟังนั้นๆ ด้วย เช่น “บูชาต่อทิศเหนือ การแสดงอ�ำนาจของตี้อีกด้วย เห็นได้ชัดจาก
(禘北)” “บูชาต่อทิศใต้ (禘南)” หรือในบางครัง้ เมื่อมีการท�ำพิธีกรรมท�ำนายถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้น
เขียนง่ายๆ ว่า “บูชาต่อฟัง (禘于方)” ข้อความ สิ่งนั้นจะมาจากซื่อฟังในทิศต่างๆ เช่น กษัตริย์
ในจย่ า กู ่ เ หวิ น ชี้ ใ ห้ เ ห็ น นั ย ส� ำ คั ญ ของกรอบ ได้อ่านรอยแตกและกล่าวว่า “จะมีบางสิ่งมา
วิ ธี คิ ด จั ก รวาลวิ ท ยาโบราณของจี น และการ จากทางตะวันออก” ซึง่ อาจหมายถึงโรคภัยหรือ
ใช้ เชิ ง การปกครอง กล่ า วคื อ ทิ ศ ทั้ ง สี่ ทิ ศ ศัตรูของอาณาจักร หรือเมื่อกษัตริย์ได้อ่าน
มี ค วามหมายที่ ทั บ ซ้ อ น เป็ น ทั้ ง การทิ ศ ทาง รอยแตกและกล่าวว่า “ทางด้านทิศตะวันตกจะมี
อันชี้ถึงเขตแดนของราชวงศ์ซัง และเป็นทั้ง การเพาะปลูกที่ดี”3 เป็นต้น ข้อความท�ำนาย
จักรวาลวิทยาซึ่งมีเทพต่างๆ ประจ�ำอยู่ สิ่งที่ ดังกล่าวอันปรากฏในจย่ากู่เหวินแสดงให้เห็น
ชี้ให้เห็นอย่างชัดเจนในแนวคิดการปกครอง ว่าซื่อฟังส่งผลต่อการพยากรณ์ทุกด้านในวิถี
รวมศู น ย์ อั น ปรากฏในจั ก รวาลวิ ท ยาซื่ อ ฟั ง ชีวิตของคนในราชวงศ์ซัง ตั้งแต่การเกษตร
ก็คอื การคงอยูข่ องตี้ (帝) อันสัมพันธ์กบั ระบบ กรรม การสงคราม จนถึ ง โรคร้ า ย เป็ น ต้ น
ซื่อฟัง นักวิชาการจีนศึกษามีความเห็นตรงกัน ซื่อฟังคือช่องทางที่ตี้จะส�ำแดงอ�ำนาจและมีแต่
ว่า คนในราชวงศ์ซังนับถือตี้เป็นเทพเจ้าสูงสุด กษัตริย์ราชวงศ์ซังเท่านั้นที่จะท�ำนายทิศทางที่
เทียบเคียงกับการบูชาบรรพบุรุษ ควบคุมพลัง จ�ำเกิดขึ้นนั้น ดังนั้น ประชาชนชาวราชวงศ์ซัง

2
Su Tan. “Guanyu Jiewan “Dongfangye ‘Xi’ “ .” Yuyan Yanjiu Di 2 Qi (1982).
3
ข้อความจาก จย่ากู่เหวิน หมายเลขที่ Henji, 12870, Henji, 914b อ้างจาก Aihe Wang, Cosmology and Political
Culture in Early China (Cambridge: Cambridge University Press, 2000), pp. 32-33.

54
แนวคิดจักรวาลวิทยาอู่สิง อันส่งผลต่อระบบการปกครองโบราณของจีน
จุฬาลักษณ์ ปลื้มปัญญา

จึงจ�ำเป็นต้องพึง่ พิงอ�ำนาจของกษัตริยซ์ งั ในการ ทางการเมื อ งท� ำ ให้ เ กิ ด กลุ ่ ม อ� ำ นาจใหม่ ขึ้ น


รับรูเ้ หตุการณ์อนั ส่งผลต่อชีวติ ประจ�ำวัน น�ำไป และเกิ ด เป็ น สงครามแย่ ง ชิ ง ความเป็ น ใหญ่
สู่อ�ำนาจปกครองเหนือประชาชนและการสร้าง ที่ยาวนาน แต่แนวคิดทางการเมืองและระบบ
อ�ำนาจรวมศูนย์ของราชวงศ์ซังอีกด้วย พิธีกรรมอันอิงกับเชื้อสายของผู้ปกครองนั้นมี
จะเห็นได้ว่าราชวงศ์ซังได้ปูพื้นฐาน อิทธิพลอย่างใหญ่หลวงต่อชาวจีนเป็นอย่างมาก
แนวคิดทางการเมืองและสร้างสิทธิธรรมในการ อ�ำนาจรวมศูนย์ที่ถูกสร้างขึ้นด้วยนิยามของ
ปกครองแบบรวมศูนย์ให้แก่จนี ในประวัตศิ าสตร์ โอรสสวรรค์ (天子) ไม่มีใครที่จะกล้าแอบอ้าง
ยุคสัมฤทธิ์ (Bronze Age) เมื่อเข้าถึงราชวงศ์ ได้ แม้กระทั่งยุคจั้นกั๋วที่วุ่นวาย กลุ่มผู้ปกครอง
โจว ตีถ้ กู ลดความส�ำคัญลงและเกิดแนวคิดเรือ่ ง ใหม่ตา่ งตัง้ ตัวเองเป็นกษัตริย์ (王) แต่ไม่มผี ใู้ ด
เทียน (天) ขึ้นมาแทนที่ แต่แนวคิดเรื่องซื่อฟัง กล้าใช้นามโอรสสวรรค์อย่างแท้จริง พร้อมทั้ง
ยังคงปรากฏอยู่ ซึง่ ชาวโจว อันเป็นชนเผ่าต่างถิน่ เกิดความพยายามสร้างชุดอธิบายใหม่ให้แก่การ
ได้ อ ้ า งว่ า ตนสามารถครอบครองทิ ศ ทั้ ง สี่ ไ ด้ เปลี่ยนแปลงทางการเมืองเกิดขึ้นตลอดระยะ
และได้ น� ำ ก� ำ ลั ง ที่ เ หนื อ กว่ า เข้ า สู ่ ศู น ย์ ก ลาง เวลาท้ายราชวงศ์โจว นักปราชญ์ส�ำนักต่างๆ
อ�ำนาจโดยชอบธรรม4 โดยที่ราชวงศ์โจวได้รับ ได้สร้างค�ำอธิบายเกีย่ วกับผูป้ กครองทีเ่ หมาะสม
การสนับสนุนอย่างถูกต้องจากเทียนเนื่องจาก โดยละเลยทีจ่ ะพูดถึงความสัมพันธ์ทางสายเลือด
ราชวงศ์โจวมีคณ ุ ลักษณะอันดีงาม (德) จะเห็น เช่น ปรัชญาของขงจือ่ (孔子,551-479 B.C.)
ได้ว่าซื่อฟังในราชวงศ์โจวยังคงท�ำหน้าที่เป็น ได้ยกย่องการปกครองโดยผู้มีคุณธรรม และให้
ช่องทางของอ�ำนาจเหนือธรรมชาติ แต่เปลี่ยน นิยามของผู้ที่สามารถสร้างสังคมให้กลมเกลียว
เป็นอ�ำนาจใหม่เข้ามาทดแทนกลุ่มอ�ำนาจเดิม ได้คือ วิญญูชน (君子)5 เมิ่งจื่อ (孟子, 372-
ซึ่งแม้จะเป็นนิยามที่แปรเปลี่ยนไปบ้างแต่ก็ยัง 289 B.C.) ชี้ถึงสิทธิผู้ปกครองอยู่ที่เทียนมิ่ง
คงท�ำหน้าที่ในการสร้างศูนย์รวมอ�ำนาจและ (天命) และการเข้าถึงหนทางแห่งศีลธรรม (道
สิทธิธรรมในการปกครองอยู่เช่นเดิม 德)6 ในขณะทีส ่ วินจือ่ (荀子,313-238 B.C.)
อู่สิง (五行) และการเปลี่ยนแปลง ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ ระบบพิ ธี ก รรมแบบแผน
ของจักรวาลวิทยาจีน ( 礼 ) ในการสร้ า งระบอบการปกครองที่ ดี 7
เมื่อจีนเข้าสู่ยุคชุนชิวจั้นกั๋ว (春秋战 เป็นต้น ความส�ำคัญเรื่องเชื้อสายของชนชั้น
国,770-476 B.C.) ปรัชญาของชาวจีนได้ ปกครองเริ่มเลือนหายไปในช่วงเวลาดังกล่าว
เกิดการพัฒนาเป็นอย่างมาก การเปลี่ยนแปลง

4
Wang, Cosmology and Political Culture in Early China, pp. 71-74.
5
ดู หลุนอี่ว์: ขงจื่อสนทนา, trans. สุวรรณา สถาอานันท์ (กรุงเทพฯ: สำ�นักพิมพ์ openbooks, 2554). หน้า 78-87,
หน้า 107-122.
6
ดู Liu Zehua.Zhongguo Gudai Zhengshi Sixiangshi. Tianjin: Nankaidaxue Chubanshe, 2001. pp. 46-57.
7
ดู ibid., pp. 57-70.

55
The International Journal of East Asian Studies

ในทางจักรวาลวิทยาซึ่งเกี่ยวข้องกับ และรูปแบบในการตีความของคนจีนโบราณ
แนวคิดด้านการปกครองก็เช่นกัน แนวคิดเรื่อง ด้วย”8 ไม่เพียงแต่ราชวงศ์ฮั่นเท่านั้น แต่หยิน
อู่สิงได้ปรากฏขึ้นในช่วงเวลานี้ หยางอู่สิงยังส่งอิทธิพลต่อโลกทัศน์ของชาวจีน
ก�ำเนิดอู่สิง อย่างใหญ่หลวง
แนวคิดเรื่องอู่สิงก�ำเนิดอย่างแท้จริง ในทางหลักฐานทางโบราณคดี มีการ
เมื่อใดไม่ปรากฏชัดเจน นักประวัติศาสตร์จีน ค้นพบการเชื่อมโยงระหว่างซื่อฟังและอู่สิงใน
ตั้งข้อสันนิฐานไว้หลากหลาย หลายท่านเชื่อว่า การค้นพบบันทึกผ้าไหมทีม่ ณฑลฉังซา (长沙)
เกิดในยุคราชวงศ์ซัง บางท่านเชื่อว่าเกิดใน ทางภาคใต้ ข องจี น เชื่ อ กั น ว่ า ถู ก เขี ย นขึ้ น
ยุคชุนชิว แม้เวลาก�ำเนิดจะไม่ชัดเจน แต่เป็น ในยุคจั้นกั๋ว บันทึกนี้ถูกเขียนตามหลักซื่อฟัง
ที่แน่ชัดว่าในช่วงยุคชุนชิว แนวคิดเรื่องอู่สิง ไม่วา่ จะเป็นรูปแบบการเขียนสีด่ า้ น การอธิบาย
ได้ ถู ก น� ำ มารวมกั บ ปรั ช ญาหยิ น หยาง ( 阴 ปฏิทินทั้งสี่ฤดู เป็นต้น และแม้ว่าจะไม่มีการ
阳) กลายเป็นปรัชญาระบบเดียวกัน ภายหลัง เอ่ยถึงอู่สิงอย่างชัดเจน แต่ก็มีการพูดถึง ไม้ทั้ง
ยุคชุนชิว ปรัชญาหยินหยางอู่สิงถูกหยิบยก ห้า (五木) และภูตผีทั้งห้า (五妖) และขุนนาง
เป็นปรัชญาที่ส่งอิทธิพลต่อระบบการปกครอง ทัง้ ห้า (五政) ซึง่ ต่อมาจะถูกเอ่ยในระบบอูส่ งิ ใน
ของจี น เป็ น อย่ า งมาก กู ้ เ จี๋ ย กั ง ( 顾颉 จั่วจ่วน (≪左转≫)9 ในภายหลัง นอกจากนี้
刚,1893-1980) นักประวัติศาสตร์คนส�ำคัญ รูปแบบรวมถึงการอธิบายของซื่อฟังในบันทึก
ของจี น ได้ ก ล่ าวว่า “แก่นแท้ของปรัชญาใน ผ้าไหมนีย้ งั มีความเปลีย่ นแปลงจากจย่ากูเ่ หวิน
ราชวงศ์ฮั่น (汉朝, 202 B.C.-220) คือหยิน ในยุคก่อนหน้า แสดงให้เห็นถึงแนวคิดซื่อฟัง
หยางอู่สิง ไม่ว่าจะเป็นศาสนา การปกครอง ที่แปรเปลี่ยนไป10 ส่วนหลักฐานโบราณคดีที่
การศึกษา ไม่มีสิ่งใดเลยไม่ใช้แนวคิดนี้ หาก เกี่ยวข้องกับอู่สิงโดยตรง มีการค้นพบบันทึก
จะต้องการจะศึกษาต้นก�ำเนิดหยิงหยางอู่สิง ผ้ า ไหมที่ ห ม่ า อั๋ ง ตุ ย ( 马王堆 ) ในหลุ ม ศพ
จ�ำเป็นต้องพิจารณามุมมองของชาวจีนโบราณ หมายเลขสาม ที่มณฑลเหอหนาน ปี 1973
ที่มีต่อจักรวาลวิทยา พวกเขามองสิ่งต่างๆ ที่ นั ก โบราณคดี ไ ด้ ป ระมาณอายุ ข องบั น ทึ ก
ซับซ้อนและน�ำมาอธิบายด้วยถ้อยค�ำเรียบง่าย ผ้าไหมนี้ไว้ที่ 168 ปีก่อนศริสตกาลหรือในช่วง
ได้อย่างไร นอกจากนี้ยังต้องไม่ลืมจุดประสงค์ เวลาราชวงศ์ฮั่น หลังจากนั้น ในปี 1993 ได้

8
จาก Gu Jiegang «QinHan De Fangtu Yu Rusheng». Di 1 Ye, Qunlian Chubanshe,1955 Nianban. อ้างใน
Zhang Weiwei. “Wude Zhongshishuo Yanjiu.” Nanzhoudaxue, 2008, pp. 1-2.
9
จัว่ จ่วน ( 左转 ) ชือ่ เต็มว่า ชุนชิวโจวซือ่ จ้วน ( 春秋左氏传 ) เป็นหนึง่ ในตำ�ราคลาสสิกสิบสามเล่มของสำ�นักขงจือ่
10
Wang, Cosmology and Political Culture in Early China, pp. 107-08.

56
แนวคิดจักรวาลวิทยาอู่สิง อันส่งผลต่อระบบการปกครองโบราณของจีน
จุฬาลักษณ์ ปลื้มปัญญา

มี ก ารค้ น พบบั น ทึ ก ไม้ ไ ผ่ ที่ ห มู ่ บ ้ า นกั ว เตี้ ย น ในทิ ศ ใต้ นั ก โบราณคดี ถ กเถี ย งกั น
(郭店村) ในมณฑลหูเป่ย ซึ่งประมาณอายุ ระหว่างตัวอักษรเจีย (夹) และลิน (粦) แต่เมื่อ
ได้ 300 ปีก่อนคริสตกาล หรือในช่วงเวลาก่อน เปรียบเทียบทางอักษรศาสตร์และสัทศาสตร์
ราชวงศ์ฉนิ (秦朝, 221-207 B.C.) เนือ้ หาของ นั ก โบราณคดี ใ ห้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ ลิ น ( 粦 )
หลักฐานทางโบราณคดีทงั้ สองได้อธิบายเกีย่ วกับ มากกว่า ซึ่งทิศใต้นั้นเป็นค�ำว่าไฟในระบบอู่สิง
ปรัชญาอูส่ งิ ซึง่ เชือ่ มโยงทัง้ ปรัชญาส�ำนักเต๋าและ ในเวลาต่อมา ทัง้ นีเ้ ชือ่ ว่าไฟ (火) ดังกล่าวไม่ใช่
ขงจื่อ11 อันชี้ให้เห็นถึงความส�ำคัญของแนวคิด ไฟโดยทัว่ ไป แต่เป็นไฟลินหัว่ (粦火) จากเทพ
อู่สิงซึ่งเริ่มแพร่หลายในช่วงปลายราชวงศ์โจว โดยที่คนในยุคซังเห็นท้องฟ้าในตอนพลบค�่ำ
จนถึงราชวงศ์ฮั่นและยังเชื่อว่าปรัชญาจีนก่อน ทางใต้คาดว่าทางทิศนั้นมีจิตวิญญาณของไฟ
ราชวงศ์ฮั่นนั้นมีความเชื่อมโยงและคล้ายคลึง อยู่ จึงเชื่อว่าเทพแห่งไฟอยู่ทางทิศใต้
กั น ในลั ก ษณะต่ า งๆ ซึ่ ง หมายถึ งอู ่ สิ ง ได้ รั บ ทิศตะวันตกมีชื่อเรียกว่า อี๋ (彝) หรือ
การยอมรับในหมู่นักปรัชญายุคดังกล่าว ทั้งนี้ อี๋ (夷) ก็ได้ ซึ่งเป็นการแลกเปลี่ยนเสียงและ
การศึกษาทางโบราณคดีนี้เองเป็นการค้นพบ ความหมายกันของตัวอักษร ผู้เชี่ยวชาญสรุป
หลักฐานยืนยันความเชื่อมโยงระหว่างซื่อฟัง ว่า ค�ำว่า อี๋ (彝) นั้นเป็นนกชนิดหนึ่ง มีสามขา
และแนวคิดอู่สิง คอยาว และปากแหลม นอกจากนีย้ งั เป็นชือ่ ของ
หลักฐานส�ำคัญซึง่ แสดงความเชือ่ มโยง เครือ่ งมือชนิดหนึง่ ซึง่ ท�ำจากบรอนซ์มตี น้ ก�ำเนิด
ระหว่างซื่อฟังและอู่สิง คือชื่อของลม (หรือ จากฝั่งตะวันตก เรียกว่า อี๋ (夷) ก็ได้ โดยที่
เทพ) ในทิศต่างๆ เช่น ทิศตะวันออกคือ ซี เครื่องมือชนิดนี้ใช้ในงานพิธีบูชาเทพต่างๆ มี
(析) มีพัฒนาการทางตัวอักษรเหมือนค�ำว่า หลักฐานชีว้ า่ เครือ่ งมือชิน้ นีช้ าวจีนโบราณถือว่า
ไม้ (木) ในระบบอู่สิง นักโบราณคดีเชื่อว่า มีความศักดิส์ ทิ ธิมาก และเนือ่ งจากท�ำจากโลหะ
ตัวอักษร ซี มีรากฐานจากกิจกรรมป่าไม้ซงึ่ ท�ำให้ บรอนซ์ จึงกลายเป็นสัญลักษณ์โลหะหรือทองใน
ชนโบราณประดิษฐ์เทพแห่งป่าขึ้นมาเป็นหนึ่ง ระบบอู่สิง
ในซื่อฟังและมีความส�ำคัญสูงมากเพียงพอที่จะ ทิ ศ เหนื อ มี ชื่ อ เรี ย กว่ า หยวน ( 宛)
ท�ำพิธีการบูชายัญจ�ำนวนมาก นักโบราณคดี หรือ หยวน (元) นักโบราณคดีค้นพบว่าชื่อ
จึ ง เชื่ อ ว่ า เทพทางทิ ศ ตะวั น ออกของซื่ อ ฟั ง ของทิศเหนือมีการเปลี่ยนแปลงและค�ำเรียกที่
เป็นต้นก�ำเนิดธาตุไม้ในอู่สิง หลากหลาย โดยได้ ส รุ ป ว่ า ชื่ อ ของทิ ศ เหนื อ

11
Kenneth Holloway, “ “The Five Aspects of Conduct” 五行: Introduction and Translation” Journal of the
Royal Asiatic Society 15, No. 2 (2005): pp. 180-81.

57
The International Journal of East Asian Studies

มาจากบรรพบุรษุ กษัตริยร์ าชวงศ์ซงั ซึง่ แสดงถึง ราชส�ำนัก ซึ่งจะกล่าวต่อไป


วัฒนธรรมการนับถือผีบรรพบุรษุ กลายเป็นเทพ หลั ก ฐานทางโบราณคดี ชี้ ใ ห้ เ ห็ น ว่ า
องค์หนึ่งในพิธีกรรมที่ขาดไม่ได้ และการจาก ความเชือ่ เรือ่ งซือ่ ฟังและดิน เป็นความเชือ่ พืน้ ฐาน
ค้นคว้าต�ำราโบราณ นักโบราณคดีจนี จึงได้สรุป ของสั ง คมเกษตรของจี น ในยุ ค สั ม ฤทธิ์ ซึ่ ง
ว่าเทพแห่งทิศเหนือมีตน้ ก�ำเนิดจากเผ่าน�ำ้ จึงมี การศึ ก ษาทางโบราณคดี ชี้ ก ารเปลี่ ย นแปลง
สัญลักษณ์แทนตัวคือน�้ำ แนวคิ ด จั ก รวาลวิ ท ยาดั่ ง เดิ ม ของชาวจี น สู ่
ส่วนดินซึ่งเป็นหนึ่งในสัญลักษณ์ของ แนวคิดเรือ่ งอูส่ งิ โดยต�ำราเก่าแก่ทกี่ ล่าวถึงอูส่ งิ
อู่สิงนั่นในยุคสมัยที่ความเชื่อซื่อฟังยังคงมั่นคง เป็นเล่มแรกคือบท หงฝาน (洪范)12 ในซั่งซู
อยู่ ในพิธีกรรมของราชวงศ์ซังได้ชี้ให้เห็นว่า (尚书)13 ซึ่งมีข้อความกล่าวว่า
ชาวจีนมีการบูชาดิน โดยที่กรรมวิธีในการบูชา “หนึ่งคือน�้ำ สองคือไฟ สามคือไม้ สี่
ก็ใช้พธิ กี รรมแบบเดียวกันกับการบูชาเทพในระบบ คือทอง ห้าคือดิน น�ำ้ มีลกั ษณะไหลลืน่ ลงต�ำ่ ไฟ
ซือ่ ฟัง อันชีใ้ ห้เห็นว่าซือ่ ฟังและดินมีความศักดิส์ ทิ ธิ ก�ำเนิดร้อนเร่าพวยพุ่ง ไม้คือตั้งตรงโค้งเลื้อย
ในระดั บ เดี ย วกั น หลั ก ฐานทางโบราณคดี ทองคือเปลี่ยนแปลงรูปร่าง ดินคือเพาะหว่าน
ชีว้ า่ ชาวจีนโบราณบูชาดินโดยถือว่าดินคือสังคม เก็บเกี่ยว ถือน�้ำไหลลงต�่ำเป็นรสเค็ม ถือไฟที่
และสังคมเป็นสัญลักษณ์ของประเทศ ในเมื่อ พุ่งสูงเป็นรสขม ถือไม้ธาตุคดโค้งและตั้งตรง
ลมที่เคลื่อนไหวเป็นผู้ส่งสารจากเทพทั้งสี่ทิศ เป็นรสเปรี้ยว ทองถือรสเผ็ด ดินถือรสหวาน ”
ลมที่หยุดนิ่งคือสัญญาณจากดินนั่นเอง ความ “一曰水,二曰火,三曰木,四曰金,
ส�ำคัญของธาตุดิน จะปรากฏภายหลังในระบบ 五曰土。水曰润下,火曰炎上,木曰
典直,金曰从革,土曰稼穑。润下作
การปกครองของจีนยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออก 成,炎上作苦,典直作酸,从革作亲,
(西汉,202 B.C.-8) และมีส่วนส�ำคัญในการ 稼穑作甘”14 เชื่อกันว่าหงฝานเป็นงานเขียน
ผนวกแนวคิดต่างๆ เข้าสูร่ ะบบการปกครองของ ของจีจื่อ (箕子,?)15 แต่มีการเติมแต่งเนื้อหา

12
หงฝาน (洪范) เดิมเป็นบันทึกกฎการปกครองของชนชั้นสูงราชวงศ์ซัง “หง” (洪) มีความหมายคือ “ยิ่งใหญ่” (大)
“ฝาน” (范) มีความหมายคือ “กฎ” (法) หงฝาน จึงหมายถึงกฎการปกครองที่ยิ่งใหญ่ ในปัจจุบันเชื่อกันว่าเขียนขึ้น
โดยนักปราชญ์สำ�นักขงจื่อหลังยุคจั้นกั๋วหรือภายในยุคชุนชิว
13
ซั่งซู (尚书) หรือ ซู (书) หรือ ซูจิง (书经) ถือเป็นหนึ่งในตำ�ราและเอกสารทางประวัติศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุดของชาวจีน
เนื้อหาครอบคลุมตั้งแต่ยุคเหยาชุ่น (尧舜) จนถึงราชวงศ์เซี่ยซังโจว ถูกจัดเป็นตำ�ราคลาสสิกของสำ�นักขงจื่อ
14
Li Jie «<Hong Fan> Shuzheng». «Gushi Bian» Di Wu Ce, Di 391 Ye, Shanghai Gudian Shubanshe, 1982
Nianpan. อ้างใน Zhang Weiwei. “Wude Zhongshishuo Yanjiu.” p. 4.
15
จีจื่อ (箕子,?) ชื่อจริงซูอู๋ (胥余) เป็นคนท้ายยุคราชวงศ์ซัง มีตำ�แหน่งราชครู

58
แนวคิดจักรวาลวิทยาอู่สิง อันส่งผลต่อระบบการปกครองโบราณของจีน
จุฬาลักษณ์ ปลื้มปัญญา

เพิ่มขึ้นในยุคหลัง16 “หง” (洪) คือ ใหญ่ (大) อันกล่าวถึงอู่ซื่อ (五事) หรือเรื่องราวทั้งห้า


“ฝาน” (范) คือ กฎ (法) จุดประสงค์ของบท และการกล่าวถึงรสทั้งห้า ( 五味) ในบริบท
หงฝานจึงมีไว้เพื่อการปกครอง โดยกล่าวถึง อั น เป็ น ทั ศ นะของนั ก ปราชญ์ จี น ซึ่ ง ให้ ค วาม
กฎการบริการประเทศเก้าประการ ซึ่งอู่สิงเป็น ส�ำคัญของความเชือ่ มโยงของอูส่ งิ และระบบการ
บทแรกทีถ่ กู กล่าวถึง ชีใ้ ห้เห็นถึงความส�ำคัญของ ปกครองของสังคมเกษตรตั้งแต่เริ่มต้น
อู่สิงในการบริหารประเทศในยุคเริ่มแรก เมื่อ โจวเหยี่ ย น การเรี ย บเรี ย งล� ำ ดั บ
เวลาเปลี่ ย นผ่ า นเข้ า สู ่ ยุ ค ต่ า งๆ บทหงฝาน ราชวงศ์ แ ละการจั ด ระเบี ย บการปกครองใน
ถูกน�ำมาตีความและอธิบายเพิ่มเติมมากมาย ราชวงศ์ฮั่น
กลายเป็นต�ำราที่ถูกศึกษาอย่างแพร่หลาย ใน โจ ว เ ห ยี่ ย น ( 邹 衍 , 3 0 5 - 2 4 0
เริ่มต้นนั้นจะเห็นได้ว่าอู่สิงในหงฝานคลุมเครือ B.C.)17 เป็นนักปราชญ์คนส�ำคัญของส�ำนักอูส่ งิ
และไม่ชัดเจน ผู้ศึกษาจ�ำนวนมากวิเคราะห์ หยินหยางเป็นผู้ท�ำให้อู่สิงเป็นระบบมากขึ้น
ว่ า อู ่ สิ ง ที่ ป รากฏในหงฝานยั ง ไม่ เ ป็ น ระบบ เนือ่ งจากสิง่ ทีเ่ ขาวิพากษ์ไร้ขอบเขต ครอบคลุม
อู่สิงหยินหยางในแง่ของปรัชญาที่ซับซ้อนใน ทุกสรรพสิ่ง คนทั่วไปจึงเรียกเขาว่า “เหยี่ยน
ยุคหลัง อู่สิงที่ปรากฏในที่นี้แสดงให้เห็นสังคม ผู้สนทนาฟ้า” (谈天衍)18 งานเขียนของเขา
เกษตรที่เชื่อมโยงสิ่งต่างๆ ในธรรมชาติที่เห็น ส่วนใหญ่สญ ู หายหมดแล้ว แต่สามารถพบในต�ำรา
ได้ทั่วไป เช่น ดินสามารถใช้เพาะปลูก ไม้และ คลาสสิกต่างๆ ของจีน เช่น ฮัน่ ซู บทอีเ้ หวินจือ้
ทอง (หรือโลหะ) สามารถน�ำมาเป็นอุปกรณ์ (≪汉书∙艺文志≫ ) สื่อจี้ บท เมิ่งจื่อซุน
เพาะปลูกได้ ทั้งน�้ำและไฟยังเป็นสิ่งส�ำคัญใน ชิงเลี่ยซ่วน (≪史记 ∙孟子荀卿列传≫ )
การเกษตรอีกด้วย แต่จากหงฝานในข้อที่สอง เป็ น ต้ น 19 เนื่ อ งจากโจวเหยี่ ย นอยู ่ ใ นสภาพ

16
เนื้อหาแบ่งออกเป็น 9 ส่วน คือ คือ 1. อู่สิง ชี้นำ�วิถีการดำ�เนินชีวิตประจำ�วันของมนุษย์โดยใช้สสารทั้งห้าเป็นสิ่งชี้นำ�
2. อู่ซื่อ (五事) อธิบายพฤติกรรมอันดีของกษัตริย์ทั้งห้าเรื่อง 3. แปดนโยบาย (八政) คือภาระการปกครองทั้งแปดที่
รัฐบาลควรใส่ใจ 4. อู่จี้ (五纪) คือการนับและคำ�นวณเรื่องราวสำ�คัญต่างๆ โดยใช้วิธีทั้งห้าวิธี 5. เฉิงจี๋ (呈极) อธิบาย
บรรทัดฐานอันสูงส่งของผูป้ กครอง 6. ซานเต๋อ (三德) คือคุณธรรมพืน้ ฐานของผูป้ กครองทีใ่ ช้ปกครองประชา 7. จีอี๋ (稽疑)
วิถกี ารพยากรณ์ ใช้ในการตัดสินใจเรือ่ งสำ�คัญ 8. ซูเ่ จิง (庶征) คือปรากฏการณ์ธรรมชาติตา่ งๆ ซึง่ จะเกิดขึน้ เพือ่ ทดสอบ
พระราชอำ�นาจของผูป้ กครอง 9. อูฟ่ ู่ (五福) คือความสุขสันต์หา้ ประเภท จะเห็นได้วา่ หงฝานครอบคลุมทุกบริบทของวิธี
ชีวติ ชาวจีนโบราณ ดูใน Zhang Bing. «Hong Fan» Quanshi Yanjiu Jinan: Qilu Chubanshe, 2007, pp. 1-2.
17
โจวเหยี่ยน (邹衍,305-240 B.C.) คนรัฐฉี (齐) เป็นนักปรัชญาสำ�นักหยินหยางอู่สิงที่มีชื่อที่สุด เชื่อว่ามีชีวิตอยู่ในยุค
จั้นกั๋วตอนท้าย
18
Liu Zehua. Zhongguo Gudai Zhengshi Sixiangshi, p. 168.
19
จาก สื่อจี้ บันทึกไว้ว่า โจวเหยี่ยนได้เขียนบทบันทึก จงสื่อ (≪终始≫) ต้าเชิ้ง (≪大圣≫) มีความยาวมากกว่า
หนึ่งพันคำ� และยังเขียนหนังสือชื่อ จู่หยุ้น (≪主运≫) อีกหนึ่งเล่ม ฮั่นชู บทอี้เหวินจื้อ ก็มีงานเขียนของโจวเหยี่ยน คือ
เหยียนจือ่ (≪邹子≫) 49 ชิน้ และ โจจือ่ จงสือ (≪邹子终始≫) 56 ชิน้ ดูในใน Zhang Weiwei. “Wude Zhongshishuo
Yanjiu.” p. 7.

59
The International Journal of East Asian Studies

สังคมที่ไร้ระเบียบ เต็มไปด้วยสงครามและการ กฎการเอาชัยและการปราชัยของธาตุตา่ งๆ ขึน้


ปกครองที่วุ่นวาย งานเขียนของเขาเกิดขึ้นเพื่อ โดยโจวเหยี่ยนได้อธิบายว่า
ออกแบบสังคมที่สมบูรณ์ มีกฎระเบียบ และ “ไม้ชนะดิน, ทองชนะไม้, ไฟชนะทอง,
เสถียรภาพ แต่งานเขียนของโจวเหยี่ยนไม่ได้ น�้ำชนะไฟ, ดินชนะน�้ำ”
อธิบายพฤติกรรมผู้ปกครองอย่างตรงไปตรง “木克土, 金克木,火克金,水
มาเหมือนนักปราชญ์ท่านอื่น หากแต่น�ำการ 克火,土克水”22
เปลี่ยนแปลงทางจักรวาลวิทยาเข้ามาอธิบาย กฎการหมุนวนที่โจวเหยี่ยนได้อธิบาย
พื้นฐานของความวุ่นวายและชะตากรรมของ กลายเป็นกฎการหมุนวนของธาตุทั้งห้าของ
สรรพสิ่ง ระบบอูส่ งิ ในด้านศาสตร์การปกครอง โจวเหยีย่ น
ทัศนะของโจวเหยี่ยนนั้นเป็นการน� ำ ได้ น� ำ อู ่ สิ ง มาเรี ย บเรี ย งเป็ น อู ่ เ ต๋ อ ( 五德 )
ประวัติศาสตร์ที่ผ่านมา ทั้งยุคสงบและวุ่นวาย โดยที่กฎดังกล่าวอธิบายว่า “การหมุนวนของ
การขึน้ และลง รวมถึงการดับและสูญของสรรพสิง่ เต๋อทั้งห้าได้เปลี่ยนแปลงไป การบ�ำบัดเต๋อ
ในธรรมชาติ เชื่ อ มโยงวิ เ คราะห์ เข้ า ด้ ว ยกั น ทั้งห้าจึงมีคุณ มาตรการจึงเป็นดังนั้น” (五德
โจวเหยี่ ย นมองว่ า ประวั ติ ศ าสตร์ ข องมนุ ษ ย์ 转移, 治各有宜,而符应若兹) ประโยค
คือการพัฒนาและความก้าวหน้า โดยที่การ นี้ปรากฏใน สื่อจี้ บท เมิ่งจื่อซุนชิงเลี่ยซ่วน
เปลี่ ย นแปลงนี้ อ ยู ่ ภ ายใต้ ก ฎเพี ย งหนึ่ ง เดี ย ว เกีย่ วกับการเปลีย่ นแปลงของอูเ่ ต๋อ ผลงานของ
ซึ่งจะสร้างระเบียบให้เกิดขึ้นในจักรวาล ทั้งนี้ โจวเหยีย่ นในหนังสือเล่มอืน่ ก็ได้เขียนไว้เช่นกัน
ใน หลี่ว์ซื่อชุนชิว (≪吕氏春秋≫)20 ชี้ว่า ว่า “โจวจื่อกล่าวว่าอู่เต๋อนั้นจากเริ่มและสิ้นสุด
“เนือ่ งด้วยการพิชติ และก่อก�ำเนิดซึง่ กันและกัน ไม่กอ่ ก�ำเนิดจากทีใ่ ด คุณลักษณะของไม้เริม่ ต้น
ของอูส่ งิ การหมุนวนของฟ้า การวิพากษ์สรรพสิง่ คุ ณ ลั ก ษณะของทองตามติ ด คุ ณ ลั ก ษณะ
ที่หมุนเวียน ส่งผลต่องานเขียนของโจวเหยี่ยน ของตามต่อ คุณลักษณะของน�้ ำจึงต่อท้าย”
เป็ น อย่ า งมาก” 21 แต่ เ ดิ ม อู ่ สิ ง ในหงฝาน (“邹子有终始五德,从所不胜,木德继
ซึ่ ง ไม่ ไ ด้ เ รี ย บเรี ย งเป็ น ลั ก ษณะที่ ชั ด เจน 之,金德次之,火德次之,水德次之”)
โจวเหยีย่ นได้น�ำมาเรียบเรียงเป็นระบบและเกิด ใน “เหวินซ่วน” (≪文选 ≫)23, “เว่ยตูฟู่”

20
หลี่ว์ซื่อชุนชิว (≪吕氏春秋≫) เป็นผลงานของหลู่ปู้เหว่ย (吕不韦,292-235 B.C.) อัครเสนาบดีในรัฐฉิน (秦国)
ถือเป็นงานสำ�นักเต๋าที่สำ�คัญก่อนราชวงศ์ฉิน
21
ใน Zhang Weiwei. “Wude Zhongshishuo Yanjiu.” p. 7.
22
Li Fengqiong. “Dong Zhongshu Yinyangwuxing Zexue Sixiang Yanjiu” (Xinandaxue, 2010), p. 19.
23
เหวินซ่วน (≪文选≫) หรือ เจาหมิงเหวินซ่วน (≪昭明文选≫) เป็นหนังสือรวบรวมบทกลอนและวรรณกรรมต่างๆ
ของจีน เป็นผลงานการรวมรวบและจัดทำ�ของเซียวถ่ง (萧统) โอรสองค์โตของพระเจ้าเหลียงอู่ตี้ (梁武帝,464-549)
ในราชวงศ์เหนือใต้ (南北朝,420-589)

60
แนวคิดจักรวาลวิทยาอู่สิง อันส่งผลต่อระบบการปกครองโบราณของจีน
จุฬาลักษณ์ ปลื้มปัญญา

(≪魏都赋≫)24 ของ จั่วซือ (左思) “ชีเล่ว์” ความกลมกลืนกับสรรพสิง่ ในใต้หล้า จึงสามารถ


(≪七略≫)25 ในยุคฮั่นตะวันตก (西汉,202 เรียกว่า “治各有宜” หรือ “ทุกการปกครอง
B.C.- 8) บันทึกไว้ว่า “อู่เต๋อนั้นจากเริ่มและ ล้วนมีลักษณะที่เหมาะสมของตน” น่าเสียดาย
สิน้ สุด ไม่กอ่ ก�ำเนิดจากทีใ่ ด อีว๋ ค์ อื ดิน เซีย่ คือไม้ ทีง่ านเขียนของโจวเหยีย่ นหลงเหลือไม่เพียงพอ
อินคือทอง โจวคือไฟ” (“五德从不胜,虞 จึ ง ไม่ ส ามารถเข้ า ใจได้ ว ่ า นั ก ปราชญ์ ท ่ า นนี้
土,夏木,殷金,周火”) จะเห็นได้ว่าโจว ได้ใช้อะไรเป็นเกณฑ์ในการก�ำหนดว่าราชวงศ์
เหยีย่ นเริม่ ต้นประโยคด้วยการน�ำยุคราชวงศ์อวี๋ ์ ใดมีสัญลักษณ์ใด เราจึงไม่สามารถศึกษาความ
(虞朝, ศตวรรษที่ 36-21 B.C.)26 จนถึงราชวงศ์ เชื่อมโยงระหว่างสัญลักษณ์และราชวงศ์ต่างๆ
โจวมาจัดระเบียบกับอูส่ งิ ทัง้ ห้า นัน่ คือ โจวเหยีย่ น ได้ นอกจากนี้ โจวเหยี่ ย นยั ง เชื่ อ ว่ า ในการ
ชี้ว่าแต่ละราชวงศ์จะมีสัญลักษณ์ประจ�ำของ เปลี่ยนแปลงของแต่ละ “เต๋อ” (德) จะปรากฏ
ตนเอง ซึง่ หมายถึงแต่ละราชวงศ์จะมีการจัดการ ปรากฏการณ์ธรรมชาติอนั แปลกประหลาดเกิดขึน้
และระบบภายในทีต่ อ้ งตอบสนองต่อสัญลักษณ์ เพื่อเป็นสัญญาณบ่งบอกถึงการเปลี่ยนแปลง
ทางจั ก รวาลวิ ท ยานั้ น ๆ เพื่ อ การปกครองที่ ของยุคสมัย จึงเรียกว่า “符应” หรือ “วิธีการ”
ราบรื่น ความสงบสุขของประชาชน รวมถึง

ผู้ปกครอง สัญลักษณ์ ลางบอกเหตุ สี


จักรพรรดิเหลือง ดิน ไส้ เ ดื อ นดิ น ขนาดยั ก ษ์ แ ละ เหลือง
จิ้งหรีด
อี๋ว์ แห่งราชวงศ์เซี่ย ไม้ พืชพันธ์ทงี่ อกงามในฤดูหนาว เขียว
ถัง แห่งราชวงศ์ซัง โลหะ ดาบปรากฏในน�้ำ ขาว
กษัตริย์เว่ย แห่งราชวงศ์โจว ไฟ นกสีแดงคาบหนังสือสีแดง แดง
ราชวงศ์ต่อไป น�้ำ ชี (气) แห่งน�้ำเริ่มปรากฏ ด�ำ

ที่มา: Wang, Cosmology and Political Culture in Early China27

24
เว่ยตู่ฟู่ (≪魏都赋≫) งานเขียนของจั่วซือ (左思) ในราชวงศ์จิ้นตะวันตก (西晋, 266-316)
25
ชีเล่ว์ (≪七略≫) เป็นหนังสือบรรณานุกรมอ้างอิงทางราชการและหนังสือศึกษาบรรณานุกรมเล่มแรกๆ ของจีน เขียน
ขึ้นในราชวงศ์ฮั่นตะวันตก (西汉) เพื่อเป็นเอกสารอ้างอิงในภารกิจต่างๆ
26
ราชวงศ์อวี๋ ์ (虞朝, ศตวรรษที่ 36-21 B.C.) ราชวงศ์ในตำ�นานของจีน กษัตริยอ์ งค์สดุ ท้ายคือซุน (舜, 2277-2178 B.C.)
27
Wang, Cosmology and Political Culture in Early China, pp. 139.

61
The International Journal of East Asian Studies

จากตารางจะเห็นว่า การใช้อู่เต๋อแทน วงล้ อ (Cyclical history) แบบราชวงศ์


แต่ ล ะราชวงศ์ อ าจเป็ น ไสยศาสตร์ นิ ย ม (Dynasty history) ของชาวจีน30 โดยเป็นการ
(occultism) ในรูปแบบหนึ่ง ไม่อาจอธิบายได้ จัดล�ำดับของราชวงศ์ และทัศนะของโจวเหยีย่ น
ในหลักการอันเป็นวิทยาศาสตร์ที่แน่ชัด ด้วย ท� ำ ให้ เข้ า ใจได้ ว ่ า สั ญ ลั ก ษณ์ อู ่ สิ ง เป็ น การชี้
เหตุนี้โจวเหยี่ยนจึงสามารถน�ำราชวงศ์ต่างๆ ว่าประวัติศาสตร์จีนมีการพัฒนา การเอาชัย
ก่อนหน้าราชวงศ์ฉินเข้ามาผนวกรวมกันเป็น ซึ่งกันและกันของอู่สิงชี้ให้เห็นว่าโจวเหยี่ยน
ระเบียบ โดยเฉพาะการใช้ประโยคปลายเปิด เห็นว่าประวัติศาสตร์มีการเปลี่ยนแปลง ใน
นั่นคือราชวงศ์โจวสัญลักษณ์คือหั่วเต๋อ (火德) ทางปรัชญาประวัติศาสตร์ดั้งเดิมแล้วจึงถือว่า
และไม่ได้กล่าวว่าสัญลักษณ์สุ่ยเต๋อ (水德) ปรั ช ญาประวั ติ ศ าสตร์ จี น ดั้ ง เดิ ม อั น ยึ ด ถื อ
เป็นของกษัตริย์ (王) หรือขุนพลท่านใด ซึ่ง ว่า “เมื่อใดที่กลุ่มผู้ปกครองกลุ่มใหม่เกิดขึ้น
เป็นการเปิดโอกาสให้กับผู้ปกครองกลุ่มอื่นให้ ฟ้ า ได้ ส ร้ า งลางบอกเหตุ ใ ห้ ป รากฏแก่ ค น
ขึน้ มาแทนทีร่ าชวงศ์โจว ซึง่ แนวคิดของโจวเหยีย่ น ทัว่ ไป”31 ซึง่ หมายถึงการเปลีย่ นแปลงสัญลักษณ์
ได้ รั บ การยอมรั บ และน� ำ ไปพู ด ถึ ง ในรั ฐ ฉิ น อู ่ สิ ง อั น เป็ น การเปลี่ ย นแปลงทั้ ง โครงสร้ า ง
(秦国) โดยหลี่ว์ปู้เหวย (吕不韦,291-235 จักรวาล และสิ่งที่ส�ำคัญที่สุดคือการชี้ว่าระบบ
B.C.)28 เสนาบดีคนส�ำคัญได้รวบรวมแนวคิด ของจักรวาลสนับสนุนให้แต่ละราชวงศ์ไม่อาจ
ดังกล่าวและเขียนในผลงานของเขาด้วย และได้ คงอยูต่ ลอดกาล แต่กระนัน้ ปรัชญาของโจวเหยีย่ น
ประกาศว่าธาตุประจ�ำราชวงศ์ฉนิ คือน�ำ้ สีประจ�ำ ไม่ได้ชี้ถึงปรัชญาประวัติศาสตร์แบบราชวงศ์
คือสีดำ� เพือ่ เป็นสัญลักษณ์วา่ ฉินมีสทิ ธิอนั ชอบธรรม ของชาวจีนอย่างชัดเจน
และได้ รั บ ลิ ขิ ต จากเที ย นให้ ล ้ ม ล้ า งราชวงศ์ การสร้ า งปรั ช ญาของรั ฐ , การ
โจวซึ่งมีธาตุประจ�ำราชวงศ์คือธาตุไฟ29 ผนวกแนวคิด และการจัดการระเบียบการ
การคัดเลือกและใช้สัญลักษณ์ในอู่สิง ปกครองในราชวงศ์ฮั่น
แทนแต่ละราชวงศ์เป็นการเปลี่ยนแปลงครั้ง จากความเชื่ อ ของชนโบราณ หาก
ส�ำคัญ นั่นคือการจัดเรียงประวัติศาสตร์เป็น พิจารณาอย่างลึกซึ้ง การสร้างชุดความเชื่อ
เส้นตรง (Linear history) ในประวัติศาสตร์ แก่ชนใต้ปกครองของชนชั้นปกครองโดยใช้

28
หลี่ว์ปู้เหวย (吕不韦, 291-235 B.C.) เสนาบดีรัฐฉิน เป็นผู้สำ�เร็จราชการให้แก่องค์ชายหยิงเจิ้ง ก่อนที่จะขึ้นครองราชย์
เป็นจิน๋ ซีฮอ่ งเต้ (秦始皇) ผลงานชิน้ สำ�คัญของเขาคือ หลีว่ ป์ ชู้ นุ ชิว («吕氏春秋») เป็นงานรวบรวมแนวคิดปรัชญาของ
สำ�นักเต๋าชิ้นสำ�คัญก่อนราชวงศ์ฉิน
29
ดู Song Yanpin, “Yinyangwuxing yu Qinhan Zhengzhiliguan.” Lishixue Yanjiu, Journal of Histori-
ography 03 (2001).
30
นั่นคือการเชื่อว่าแต่ละราชวงศ์มีการเกิดขึ้น เจริญรุ่งเรือง วุ่นวาย และดับสูญ วนเป็นวงล้อแห่งประวัติศาสตร์
31
Lushi Chunqiu 13, pp. 4a-5b, SPPY edition (abbreviation LSCQ) อ้างใน Wang, Cosmology and Political
Culture in Early China, p. 139.

62
แนวคิดจักรวาลวิทยาอู่สิง อันส่งผลต่อระบบการปกครองโบราณของจีน
จุฬาลักษณ์ ปลื้มปัญญา

จิตวิทยาอันพึ่งพิงสิ่งลี้ลับต่างๆ เป็นสิ่งจ�ำเป็น ดั ง หลั ก ฐานทางโบราณคดี ซื่ อ ฟั ง ซึ่ ง มี ก าร


อย่างยิ่ง นักวิชาการชาวจีนปัจจุบันจึงเรียก ชี้ ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง อู ่ สิ ง ในบั น ทึ ก ผ้ า ไหม ชี้ ใ ห้ เ ห็ น
ชุดความรู้ เรื่องเล่า และปรัชญาต่างๆ ในด้าน การซ้ อ นทั บ ของหลากหลายแนวคิ ด อั น เป็ น
การปกครองของชนโบราณว่ า “เทพนิ ย าย ระบบเรขาคณิ ต โบราณ ในการใช้ เ ลขและ
การเมื อ ง” ( 政治神话) 32 ในขณะที่ โจเซฟ ระบบหน่ ว ยที่ สั ม พั น ธ์ กั น ยั ง แสดงให้ เ ห็ น
นีดแฮม (Joseph Needhem) เรียก “รัฐอุปมา” ในการสร้ า งการปกครองที่ เ ฉพาะตั ว และมี
(State analogy)33 ในกรณีของจีนคือการสร้าง พั ฒนาการอยู่ ตลอดเวลา เช่ น ในซั่ง ซู บท
หลักการการปกครองแบบกษัตริย์และระบบ อี่ ว ์ ก ้ ง ( 禹贡 ) 34 เชื่ อ ว่ า จั ก รวาลแบ่ ง ออก
ราชการในราชวงศ์ให้ตอบสนองต่อจักรวาล เป็นเก้าส่วน จากนั้นเอกสารในราชวงศ์โจว
วิ ท ยา ซึ่ ง เป็ น การสร้ า งโครงสร้ า งทั้ ง หมด และต้ น ราชวงศ์ ฮั่ น ต่ า งก็ อ ธิ บ ายการแบ่ ง
เกีย่ วกับมนุษย์ทงั้ ในมหาภาคและจุลภาคมีสว่ น ภูมิศาสตร์ออกเป็นเก้าส่วน เช่น แม่นำ�้ ทั้งเก้า
เกี่ยวเนื่องเป็นจักรวาลเดียวกัน โดยที่รัฐเป็น ภูเขาทั้งเก้า สวรรค์ทั้งเก้า เป็นต้น เลขเก้านี้
หมุดหลักในการจัดการทั้งหมด รัฐจึงมีหน้าที่ ส่งผลต่อระบบการจัดการในราชวงศ์โจวเป็นอย่าง
เป็นตัวแทนภาคส่วนทั้งหมดของสังคม การ มาก เช่น การแบ่งหน่วยบริหารการปกครอง
ปกครองดังกล่าวสะท้อนความใกล้ชิดระหว่าง เป็นเก้า มณฑลการปกครองเก้ามณฑล และ
มนุษย์กับโลกธรรมชาติ ซึ่งการปกครองโดย เก้าเจ้าเมืองผูป้ กครอง และยังคงส่งผลต่อระบบ
ใช้ต�ำนานนั้นสะท้อนให้เห็นจากการใช้หลักการ ต่างๆ ของจีนในเวลาต่อมา35 อู่สิงซึ่งเป็นความ
อู่สิงในทุกภาคส่วนของการปกครองจีน สัมพันธ์ทั้งห้าก็เช่นกัน การใช้ตัวเลขของระบบ
อู่สิงและอู่เต๋อได้รับการจัดเป็นระบบ อู ่ สิ ง ปรากฏในชุ ด ค� ำ อธิ บ ายต่ า งๆ บั น ทึ ก
และถูกผูกรวมเข้าด้วยกันโดยโจวเหยี่ยนดัง ผ้าไหมจากหม่าอัง๋ ตุย36 ได้ชใี้ ห้เห็นว่าอูส่ งิ ได้ถกู
ที่กล่าวไปแล้ว แท้จริงแล้วในการสร้างระบบ น�ำมาอธิบายบรรทัดฐานของศีลธรรม (道德)
ความคิดของชาวจีนโบราณ มีการใช้ตวั เลขและ โดยมองว่าอู่สิงคือ มนุษยธรรม (仁) ความ
การจัดระเบียบตัวเลขค่อนข้างซับซ้อนและยาก ถูกต้อง (义) ประเพณี (礼) ความรู้ (智) ความ
จะชี้แจงเนื่องจากหลักฐานที่สูญหาย เหมือน ศักดิส์ ทิ ธิ (圣) นัน่ คือคุณธรรมทัง้ ห้าประการซึง่

32
He Ping. Zhongguo Chuantong Siwei Tanyuan (Tianjinshi Renmin Chubanshe, 2003), pp. 159-64.
33
John B. Henderson, The Development and Decline of Chinese Cosmology (New York: Columbia
University Press, 1984), p. 5.
34
อี่ว์กง (禹贡) เป็นบทหนึ่งในซั่งซู และซูจิง (书经) ผู้เขียนไม่ปรากฏ อธิบายตำ�นานกษัตริย์อี๋ว์ ซึ่งเป็นผู้ปกครองใน
ตำ�นานของชาวจีน
35
Henderson p. 59-69.
36
Zhang Weiwei. “Wude Zhongshishuo Yanjiu.” p. 8.

63
The International Journal of East Asian Studies

จะถูกเอามาผูกรวมกับบรรทัดฐานศีลธรรมทั้ง อธิบายเป็นสิ่งเชื่อมโยงทุกสรรพสิ่งเข้าด้วยกัน
แปดของลัทธิขงจื่อในภายหลัง37 โดยมี ต่งจ้งซู คือ อู่สิง นั่นเอง โดยต่งจ้งซูได้อธิบายว่า
( 董仲舒, 179-104 B.C.) 38 นั ก ปราชญ์ “ฟ้ามีอู่สิง, ไม้ไฟดินโลหะน�้ำเป็นต้น
ในราชวงศ์ฮั่นเป็นนักคิดคนส�ำคัญ ไม้ให้ก�ำเนิดไฟ, ไฟให้ก�ำเนิดดิน, ดินให้ก�ำเนิด
ต่ ง จ้ ง ซู ่ : จั ก รวาลวิ ท ยาและการจั ด โลหะ, โลหะให้ก�ำเนิดน�ำ้ น�ำ้ คือฤดูหนาว, โลหะ
ระเบียบปรัชญาของรัฐ คือฤดูใบไม้ร่วง, ดินคือเดือนสุดท้ายของฤดู
ชุนชิวฟัน้ ลู่ (春秋繁露)39 ของ ต่งจ้งซู ร้อน, ไฟคือฤดูรอ้ น, ไม้คอื ฤดูใบไม้ผลิ ฤดูใบไม้ผลิ
เป็นต�ำราในราชวงศ์ฮนั่ ตะวันออกซึง่ สร้างความ คื อ การเกิ ด , ฤดู ร ้ อ นคื อ การเติ บ โต, เดื อ น
สัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับจักรวาลวิทยาอย่าง สุดท้ายของฤดูร้อนคือการเรียนรู้, ฤดูใบไม้
แนบแน่นมากยิ่งขึ้น โดยที่ต่งจ้งซูชี้ว่ามนุษย์ ร่วงคือการดับสูญ ฤดูหนาวคือการเก็บสะสม
ไม่อาจแยกจากสรรพสิ่งได้ แม้กระทั่งอารมณ์ เป็นการสะสมทั้งหมดที่เก็บเกี่ยวไว้”
และร่างกาย ก็ยังสัมพันธ์กับจักรวาลและกาล “ 天有五行,木火土金水是也。
เวลา โดยเฉพาะอย่างยิ่งฤดูต่างๆ ในช่วงปี 木生火,火生土,土生金,金生水。水
为冬,金为秋,土为季夏,火为夏,木
ต่ ง จ้ ง ซู เชื่ อ ว่ า “รู ป แบบความคิ ด และสภาพ 为春。夏为 长,季夏,火为夏,木为
จิตใจของมนุษย์ตอบสนองกับระดับและระบบ 春,夏主长,季夏主养,秋主收,冬主
ของพื้นที่และเวลา มาตรฐานจรรยาบรรณของ 藏。藏,冬之所成也。”41
มนุษย์ตอบสนองต่อฟ้าและโลก” และยังเชือ่ อีก จากประโยคดังกล่าวจะเห็นได้วา่ ต่งจ้งซู
ว่า “สิ่งใดก็ตามสามารถนับได้ สอดคล้องเป็น ได้น�ำอู่สิงมาอธิบายโครงสร้างเวลาและฤดูกาล
ตัวเลข สิ่งใดนับไม่ได้ สอดคล้องเป็นจ�ำพวก และน�ำมาเรียบเรียงเข้ากับวัฏจักรการก�ำเนิด
ทั้งหมดถูกจับคู่และมีความคล้ายคลึงกัน จึง และแตกดับของสรรพสิง่ แนวคิดอูส่ งิ ของต่งจ้งซู
สามารถตอบสนองต่อฟ้าและสร้างความเป็น ยังคงสะท้อนสังคมยุคการเกษตรอันผูกพันกับ
หนึ่งเดียวกันได้”40 ซึ่งระบบที่ต่งจ้งซูได้น�ำมา ฤดูกาลและการเพาะปลูก นอกจากนีน้ กั ปราชญ์
37
ได้แก่ ความฉลาด (聪) ความศักดิส์ ทิ ธิ (圣) ความถูกต้อง (义) ความรู้ (智) ความชัดเจน (明) มนุษยธรรม (仁) ประเพณี
(礼) เพลง (乐)
38
ต่งจ้งซู (董仲舒,179-104 ·B.C.) นักปรัชญา นักคิด นักการศึกษา และขุนนางในราชวงศ์ฮั่นตะวันออก (西汉,202
B.C. – 8) งานของเขาคือ เทียนเหรินซานเซอ (天人三策) ชุนชิวฟั้นลู่ (春秋繁露) เป็นงานชิ้นแรกของสำ�นักขงจื่อซึ่ง
นำ�แนวคิดหยินหยางอู่สิงเข้าสู่กรอบวิธีคิดและกลายเป็นรากฐานของปรัชญาจีนในที่สุด
39
ชุนชิวฟั้นลู่ (春秋繁露) ตำ�ราปรัชญาการปกครองที่เขียนขึ้นโดยต่งจ้งซู อธิบายถึงแนวคิดหยินหยางอู่สิงให้ซับซ้อนขึ้น
และนำ�ปรัชญาและเทววิทยารวมเข้าด้วยกัน กลายเป็นตำ�ราที่สำ�คัญของสำ�นักขงจื่อและปรัชญการปกครองโบราณของ
จีน
40
Henderson, The Development and Decline of Chinese Cosmology, pp. 6-7.
41
Dong Zhongshu : «Chunqiu Fanlu · Wuxing Zhi Yi Di Sishi’er ». อ้างใน Li Fengqiong. “Dong Zhongshu
Yinyangwuxing Zexue Sixiang Yanjiu”, p. 20.

64
แนวคิดจักรวาลวิทยาอู่สิง อันส่งผลต่อระบบการปกครองโบราณของจีน
จุฬาลักษณ์ ปลื้มปัญญา

ท่านนี้ยังน�ำอู่สิงมาผูกรวมกับ “มนุษยธรรม” ดังที่กล่าวไปแล้ว การบูชาซื่อฟังในราชวงศ์ซัง


(仁) ของส�ำนักขงจื่อ ซึ่ง “มนุษยธรรม” นั้น และโจวไม่ มี ห ลั ก ฐานว่ า ดิ น อยู ่ ใ นระบบบู ช า
ในส� ำ นั ก ขงจื่ อ ถื อ ว่ า เป็ น กุ ญ แจทางปรั ช ญา ซื่อฟัง แต่มีหลักฐานชัดเจนว่าชาวจีนโบราณ
ขงจื่ออันส�ำคัญยิ่ง ซึ่งการรวมแนวคิดระหว่าง บูชาดินทัดเทียมกับการบูชาเทพในซื่อฟัง โดย
ธรรมชาตินิยมของนักคิดก่อนหน้าราชวงศ์ฮั่น ดินมีความหมายถึงสังคม ซึง่ เป็นสัญลักษณ์ของ
ส่งเสริมให้ส�ำนักขงจื่อเป็นส�ำนักปรัชญาหลัก ประเทศ การที่ต่งจ้งซูจัดความส�ำคัญธาตุดินไว้
ในระบบราชวงศ์ จี น ในเวลาต่ อ มา และเป็ น ตรงกลางและให้มีความส�ำคัญสูงสุด หมายถึง
สิ่งส่งเสริมให้อู่สิงในหงฝานและจักรวาลวิทยา การให้ความส�ำคัญกับสังคมสูงสุด และสะท้อน
ในยุคก่อนกลายเป็นแนวคิดทางการปฏิบัติและ ความเชือ่ ซือ่ ฟังซึง่ ยังหลงเหลืออยู่ การทีต่ ง่ จ้งซู
แนวคิดทางไสยศาสตร์นิยมกลายเป็นสิ่งที่ถูก ใช้แนวคิดเรื่องอู่สิงผนวกรวมกับปรัชญาขงจื่อ
ใช้ได้จริงและอ้างอิงในแง่ของกฎการปกครอง เพื่ออธิบายสังคม เห็นได้ชัดว่าไม่ใช่เป็นการ
และกฎหมาย ท�ำลายความรูเ้ ก่า แต่เป็นการชีใ้ ห้เห็นว่าปรัชญา
การผนวกความคิดระหว่างขงจื่อและ ต่างๆ ที่ต่างยุคกันสามารถน�ำมาอธิบายซึ่งกัน
อู่สิงในแง่ปรัชญาสังคมที่ส�ำคัญ คือ การเน้น และกันได้ อันเป็นการน�ำอู่สิงและลัทธิขงจื่อ
แนวคิดเรื่อง “ความกลมกลืน” (和) ในเรื่อง มาส่งเสริมซึ่งกันและกันกลายเป็นปรัชญาที่
จงเหอ (中和) และจงยง (中庸)42 ของขงจื่อ ส�ำคัญของรัฐจีนจนถึงปัจจุบันนี้
อันแสดงถึงความสอดประสานระหว่างคนและ เย่ ว ์ ห ลิ ง : จั ก รวาลวิ ท ยาและการ
ฟ้าโดยใช้การตีความซึ่งมีพื้นฐานจากธาตุดิน จัดการกฎระเบียบของรัฐ
(土) ในแนวคิดอู่สิง ชุนชิวฟั้นลู่ ของต่งจ้งซู ในราชวงศ์ฮั่น ส�ำนักขงจื่อยังได้หยิบ
เน้นว่า “ธาตุดินนั้นสูงส่ง” (土行为贵) และ บทเย่ว์หลิง («月令») ซึ่งอยู่ในต�ำราหลี่ว์ซื่อ
เป็นธาตุกลางระหว่างทั้งสี่ธาตุซึ่งเป็นตัวแทน ชุ น ชิ ว (« 吕氏春秋») 43 เข้ า มารวบรวมใน
ของทิ ศ ทั้ ง สี่ แ ละฤดู ก าลทั้ ง สี่ มี ค วามนั ย ถึ ง ต�ำราหลีจ่ ี้ («礼记»)44 นักปรัชญาการปกครอง
ความเชื่อดั้งเดิมเกี่ยวกับดินในยุคก่อนหน้านั้น จีนยุคปัจจุบันถือว่า เย่วหลิง มีความส�ำคัญใน

42
จงเหอและจงยง เป็นแนวคิดว่าด้วยการสอดประสานและกลมกลืนของสรรพสิง่ โดยเน้นว่าทัง้ ฟ้าและมนุษย์เป็นสิง่ เดียวกัน
กล่าวคือ มนุษย์รจู้ กั ขัดเกลาตนเองให้ดงี ามดัง่ ฟ้าทีง่ ดงาม จึงสร้างสรรค์โลกทีส่ มบูรณ์แบบระหว่างมนุษย์และฟ้า (天人合
一就是人们自觉修养所达到像美好善良的天一样造福于人类和自然理想境界)
43
หลี่ว์ซื่อชุนชิว («吕氏春秋») ตำ�ราที่รวบรวมโดยหลี่ว์ปู้เหว่ย ซึ่งรวบรวมแนวคิดของสำ�นักเต๋าก่อนราชวงศ์ฉิน
จุดประสงค์เพื่อสร้างตำ�ราสำ�หรับการปกครองภายหลังการรวมประเทศ แต่เมื่อราชวงศ์ฉินรวมประเทศได้แล้ว กลับใช้
หลักการของสำ�นักกฎหมาย (法家) หลักการในหลี่ว์ซื่อชุนชิว จึงไม่ได้ใช้
44
หลีจ่ ี้ («礼记») เป็นตำ�ราทีไ่ ต้เซิง่ (戴圣) ขุนนางในราชวงศ์ฮนั่ ตะวันตกรวบรวมขึน้ เนือ้ หาเกีย่ วกับพิธกี รรมและประเพณี
รวมถึงระบบสังคมก่อนราชวงศ์ฉนิ รวมถึงแนวคิดของชนชาวฮัน่ อันแสดงถึงการได้รบั ตกทอดมาและการเปลีย่ นแปลงของ
แนวคิดต่างๆ

65
The International Journal of East Asian Studies

การออกแบบกฎหมายโบราณ โครงสร้างการ แก่นแท้ของหลักการในเย่ว์หลิงคือ


ปกครองของจีนซึง่ วางอยูบ่ นกฎแห่งเย่วห์ ลิง นี้ การปฏิบัติสิ่งต่างๆ ในเวลาที่เหมาะสม เพื่อ
ส่งผลต่อนโยบายของรัฐจีนเป็นอย่างมาก ตอบสนองต่ อ ระบบของจั ก รวาลวิ ท ยาโดยมี
เ นื้ อ ห า ใ น เ ย ่ ว ์ ห ลิ ง คื อ ก า ร น� ำ อูส่ งิ เป็นแก่นกลาง45 ซึง่ เป็นการอิงหลักการของ
วิทยาศาสตร์ เทววิทยา อู่สิง และหลักการ อู ่ สิ ง เพื่ อ สร้ า งระบบทางสั ง คมและกฎเกณฑ์
ด�ำรงชีวิตรวมเข้าด้วยกัน เย่ว์หลิงสร้างขึ้นบน ต่างๆ เพื่อให้มนุษย์ปฏิบัติตาม ในเย่ว์หลิง
ความเชื่อว่าจักรวาลและเอกภพรวมกันเป็น เชือ่ ว่า โลกใบนีแ้ บ่งออกเป็นหลายชัน้ พระอาทิตย์
หนึ่ง โดยในโลกของจีนโบราณ ชาวจีนมองว่า อยู ่ จุ ด ยอดสุ ด ของจั ก รวาล แต่ ล ะเดื อ น
ทิศใต้เป็นทิศร้อน ทิศเหนือเป็นทิศหนาวเย็น พระอาทิตย์จะเคลื่อนย้ายไปในที่ๆ ต่างออกไป
นักปรัชญาจีนจึงน�ำฤดูทงั้ สีใ่ นหนึง่ ปีและทิศทาง การหมุนวนของต�ำแหน่งพระอาทิตย์นี้ท�ำให้
ทั้งสี่ผนวกเข้าด้วยกัน ทั้งนี้จักรวาลทั้งระบบมี เกิดฤดูทั้งสี่ ในแต่ละฤดูแบ่งออกเป็นสามเดือน
อยู่สองระดับ คือ พื้นที่และเวลา โดยในระดับ และแต่ละเดือนจะมีสัญลักษณ์และเทพอารักษ์
เวลานัน้ คือระบบทีแ่ สดงถึงการหมุนเวียนในฤดู ประจ�ำของตนเอง ดังนัน้ การแสดงความเคารพ
ทัง้ สีแ่ ละเดือนทัง้ สิบสองเดือน ในระดับพืน้ ทีน่ นั้ และการสร้างระบบเพือ่ แสดงความนอบน้อมต่อ
คือการสภาพอากาศ ชีวภูมิอากาศวิทยา และ เทพแต่ละองค์เป็นกฎส�ำคัญยิ่ง ซึ่งสร้างให้เกิด
การผลิตทางการเกษตรซึ่งส่งผลต่อทุกแง่มุม ระบบประเพณีบูชาเทพขึ้นตามล�ำดับ
ของสรรพสิง่ และอธิบายฤดูตา่ งๆ ประจ�ำในทิศ ในด้ า นการออกกฎหมายและระบบ
ต่างๆ คือ ฤดูร้อนประจ�ำทิศใต้ ฤดูหนาวประจ�ำ ในการปกครองต่างๆ ผู้เขียนเย่ว์หลิงเชื่อว่า
ทิศเหนือ ฤดูใบไม้ผลิประจ�ำตะวันออกเนือ่ งจาก กฎระเบียบต่างๆ ของมนุษย์ต้องเคารพและ
พระอาทิตย์ได้ขึ้นที่ทิศตะวันออก ฤดูใบไม้ร่วง สอดคล้องกับกฎของจักรวาล การคัดค้านกับกฎ
ประจ� ำ ทิ ศ ตะวั น ตกเนื่ อ งจากพระอาทิ ต ย์ ต ก จักรวาลนัน้ จะสร้างความวิบตั แิ ก่มนุษย์ แต่หาก
ที่ ทิ ศ ตะวั น ตก เวลาในแต่ ล ะวั น ในหลั ก การ เคารพกฎเหล่านีม้ นุษย์จะได้รบั การอวยพรจาก
เย่วห์ ลิงยังเกีย่ วพันกับฤดูกาล คือ ตอนเช้าเป็น ทวยเทพ กรอบวิธีคิดนี้จึงถือเป็นการปกครอง
ฤดูใบไม้ผลิ เที่ยงเป็นฤดูร้อน ตอนเย็นหลัง แบบใช้ “เทพนิยายการเมือง” รูปแบบหนึ่ง นัก
หกโมงเป็ น ฤดู ใ บไม้ ร ่ ว ง ตอนกลางคื น หลั ง ปราชญ์ราชวงศ์ฮั่นเห็นว่า “เรื่องส�ำคัญในโลก
เทีย่ งคืนเป็นฤดูหนาว นัน่ คือการน�ำเวลาและการ ใบนี้ ห้ามละเมิดจ�ำนวนส�ำคัญ เชื่อฟังวันเวลา
หมุนเวียนของดวงดาวและฤดูกาลผนวกรวม ระมัดระวังสิ่งอื่นที่ตามมา” (“凡举大事,毋
ภายใต้ค�ำอธิบายเดียวกัน 逆大数,必顺其时,慎因其类”) จากค�ำว่า

45
ดู Wang Lu. “Handai Yueling Sixiang de Yanjiu.” (Suzhaodaxue, 2015).

66
แนวคิดจักรวาลวิทยาอู่สิง อันส่งผลต่อระบบการปกครองโบราณของจีน
จุฬาลักษณ์ ปลื้มปัญญา

“จ�ำนวนส�ำคัญ” (大数) หมายถึงการสร้าง ฤดูใบไม้ร่วง มีสัญลักษณ์อู่เต๋อคือทอง


ความสั ม พั น ธ์ ใ นหยิ น หยาง การหมุ น เวี ย น หรือโลหะเป็นสัญลักษณ์ของการร่วงโรยและ
ในเดือนปี อู่สิงและอู่เต๋อ เป็นพื้นฐานของกฎ ดับสูญของสรรพสิ่ง นโยบายของรัฐด้านการ
ต่างๆ เช่นการเฉลิมฉลองและการให้รางวัลควร สงครามและการลงโทษจึงควรด�ำเนินการในช่วง
เป็นไปตามไอของแผ่นดินหรืออากาศที่อุ่นขึ้น เวลานี้ การคัดเลือกทหาร การจัดสรรกฎหมาย
(阳气) ลงโทษควรเป็นไปตามไอของแผ่นดิน การลงโทษประหาร จึงควรจัดการในฤดูนี้ ฤดู
หรืออากาศที่เย็นลง (阴气)46 ฤดูร้อนและฤดู ใบไม้ร่วงยังเป็นฤดูแห่งการซ่อมแซมเมือง การ
ใบไม้ผลิจดั เป็นหยาง ฤดูหนาวและฤดูใบไม้รว่ ง เก็บภาษี และสนับสนุนการผลิตและการกระตุน้
จัดเป็นหยิน ดังนั้น ฤดูร้อนและฤดูใบไม้ผลิ ตลาดด้วย
จึงเป็นช่วงเวลาแห่งการจัดงานเฉลิมฉลอง ฤดู ฤดูหนาว มีสญ ั ลักษณ์อเู่ ต๋อคือน�ำ้ เป็น
หนาวและฤดูใบไม้ร่วงจัดเป็นช่วงเวลาแห่งการ ช่วงเวลาแห่งการเก็บรักษา เหมาะแก่การเสริม
ลงโทษ ส่วนในความสัมพันธ์กับอู่เต๋อและอู่สิง ความแข็งแกร่งของนโยบายรัฐและการลงโทษ
อย่างชัดเจนนั้น กฎในเย่ว์หลิงได้อธิบายดังนี้ สามารถเริม่ การตัดไม้แต่ตอ้ งท�ำในขอบเขต เป็น
ฤดูใบไม้ผลิ มีสัญลักษณ์อู่เต๋อคือไม้ ช่วงเวลาส�ำหรับตรวจสอบสินค้าและผลิตผล ท�ำ
เป็นช่วงเวลาที่สิ่งมีชีวิตได้เริ่มต้นชีวิตขึ้น ฤดู แบบส�ำรวจประชากรและตรวจสอบสภาพความ
ใบไม้ผลิจึงเป็นฤดูแห่งการเฉลิมฉลองและการ เป็นอยูข่ องชาวประชา รวมถึงตรวจสอบสถานที่
ส่งเสริมชีวติ จึงต้องสนับสนุนการเพาะปลูก การ เพาะปลูกและการเกษตรต่างๆ เพือ่ ทีจ่ ะเตรียมตัว
ชลประทาน สร้างถนน ห้ามตัดไม้และประหาร กับวันเวลาแห่งฤดูใบไม้ผลิในปีต่อไป
ชีวิตในช่วงนี้ เป็นช่วงเวลาอภัยโทษและห้าม สัญลักษณ์ดินของอู่เต๋อไม่ถูกรวมใน
เกณฑ์แรงงานรวมถึงใช้ก�ำลังทางทหาร ฤดูกาลทัง้ สี่ เนือ่ งจากประจ�ำอยูร่ ะหว่างฤดูใบไม้
ฤดูร้อน มีสัญลักษณ์อู่เต๋อคือไฟ เป็น ผลิและฤดูร้อน กล่าวถึงมีเพียงการพิธีฉลอง
ฤดูแห่งการเติบโต นโยบายรัฐจะเน้นเทศกาล เล็กน้อย ไม่ได้กล่าวถึงการก�ำหนดนโยบายรัฐ
และการเฉลิมฉลอง คัดเลือกบุคคลเข้าท�ำงาน และเนือ่ งจากในระบบเวลา ธาตุดนิ เป็นธาตุกลาง
สอบวัดระดับขุนนาง สร้างนโยบายสนับสนุน (中央) จึงไม่สง่ ผลต่อการหมุนวนของกาลเวลา
บุคคลทุกภาคส่วนในสังคมให้ท�ำงานได้อย่างมี แต่อย่างไร47 สอดคล้องกับหลักการของต่งจ้งซู่
ประสิทธิภาพ ซึ่งให้ธาตุดินเป็นธาตุกลางอีกด้วย

46
หรืออาจหมายถึงปราณของโลก ซึ่งเกี่ยวพันกับความสัมพันธ์ระหว่างผืนน้ำ�และผืนดิน น้ำ�ขึ้นน้ำ�ลง การเปลี่ยนแปลง
ของสายน้ำ� แผ่นดินไหว เป็นต้น ในยุคราชวงศ์โจวตอนท้าย คำ�ว่าหยินหยางในบันทึกมักปรากฏในการเขียนเกี่ยวกับ
ภัยพิบัติต่างๆ ดู Ke Hao. “Tonglun Xizhou Shiqi ‘Yinyang’, ‘Wuxing’ Zai Goujia Zhengzhi Lingyu de
Yundong.” Baoji Xueyuan Bao (Shehui Kexueban) 31, No.1 (2011).
47
ดู Liu Zehua. Zhongguo Gudai Zhengshi Sixiangshi, pp. 170-72.

67
The International Journal of East Asian Studies

เย่ ว ์ ห ลิ ง ระบุ ชั ด ว่ า หากผู ้ ป กครอง สรุป


ไม่กระท�ำตามกฎแห่งธรรมชาติ จะเกิดปรากฏกาล อู่สิง ถือเป็นปรัชญาโบราณที่ส�ำคัญ
ที่ไม่ปกติ เช่น “ฤดูใบไม้ผลิเดือนหนึ่งจนถึง ของปรั ช ญาจี น โบราณ พั ฒ นาการของมั น
ฤดูรอ้ น, ฝนตกต้องไม่ตามฤดูกาล, พืชพรรณไม่ เกีย่ วพันกับพัฒนาการทางประวัตศิ าสตร์ราชวงศ์
ผลิใบ, ประเทศชาติเผชิญความสยดสยอง; ตาม ของจีนอย่างแยกไม่ออก ในเริ่มแรก หลักการ
กฎฤดูใบไม้ผลิ, ประชาเผชิญโรคร้าย, พายุใหญ่ จักรวาลวิทยาของจีนอิงอยู่กับทิศทางทั้งสี่ทิศ
ลมแรง, พืชผลเน่าเสีย; ตามกฎฤดูหนาว, น�ำ้ ท่วม ซึ่งเรียกว่า ซื่อฟัง โดยที่ซื่อฟังซึ่งเกิดตั้งแต่
พั ด พา, หิ ม ะพั ด พั ง ทลาย, มนุ ษ ย์ ไ ม่ อ าจ ราชวงศ์ซงั นัน้ ได้ถกู ใช้เพือ่ ส่งเสริมการปกครอง
อาศัยอยู”่ (“孟春行夏令,则雨水不时,草木 แบบรวมศูนย์และการสร้างความเป็นอื่นให้แก่
早落,国时有恐;行秋令,则其民大 บุคคลผู้อยู่นอกเขตการปกครอง
疫,暴风暴雨总至,藜莠蓬蒿并兴;行
冬令,则水潦为败,雪霜大挚,首种 ต่อมา การก�ำเนิดของอูส่ งิ แม้ไม่ชดั เจน
不入 ”) ผู ้ เขี ย นเย่ ว ์ ห ลิ ง เชื่ อ ว่ า กฎระเบี ย บ แต่พัฒนาการอักษรจย่ากู่เหวินจากหงฝาน
ของจักรวาลไม่อาจละเมิด จ�ำเป็นต้องด�ำเนิน ได้ชี้ชัดว่าจุดประสงค์ปรัชญาเรื่องอู่สิงเกิดขึ้น
ตามกฎระเบียบนี้เนื่องจากเริ่มมาตั้งแต่ยุคเซี่ย เพื่ อ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของปรั ช ญาการปกครอง
และโจว หากมีการละเมิดกฎเหล่านี้จะเกิดการ และโครงสร้างของสังคมตั้งแต่ต้น การพัฒนา
ลงโทษขึน้ ท้องฟ้าจะวิปริตประชาจะวินาศ และ ปรัชญาอู่สิงได้ถูกผลักดันโดยงานเขียนของ
ว่าหากสังคมมนุษย์เคารพกฎเหล่านี้ สังคม โจวเหยีย่ นซึง่ แม้จะสูญหายไปมากแต่กถ็ กู รวบรวม
จะเจริญรุดหน้าและได้รับพรจากสิ่งศักดิ์สิทธิ ในต�ำราต่างๆ ที่ส�ำคัญของชาวจีน จุดประสงค์
ทัง้ หลาย หากพิจารณาแล้วจะพบว่า กฎเหล่านี้ ของโจวเหยี่ยนมีความชัดเจนคือต้องการสร้าง
เหมาะส�ำหรับสังคมเกษตรและสังคมใต้ระบบ แนวคิดทางการเมืองเพื่อตอบสนองต่อสภาพ
ประเพณี ในสังคมเกษตรนั้นฤดูการเชื่อมโยง การเมืองที่เปลี่ยนไป นั่นคือการให้การยอมรับ
กับเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก ดังนั้นการก�ำหนด ว่าแต่ละราชวงศ์มคี วามไม่ยงั่ ยืน กลุม่ อ�ำนาจใหม่
นโยบายของรัฐให้สอดคล้องกับการเพาะปลูก หากได้รับบัญชาจากฟ้าก็สามารถเข้าแทนที่
จึ งเป็ นสิ่ ง จ�ำเป็น กฎในเย่ว์หลิงจึงเป็นการ กลุ่มผู้ปกครองเก่าได้ เป็นการสร้างสิทธิธรรม
เชือ่ มโยงความเป็นจริงทางวิทยาศาสตร์ ไสยศาสตร์ ในการปกครองรูปแบบหนึง่ การสร้างนิยามของ
เทววิทยา การทหาร กฎหมาย รวมอยู่ภายใต้ อูเ่ ต๋อ ซึง่ เป็นการน�ำกฎแห่งศีลธรรมเข้ารวมกับ
นโยบายรัฐเพื่อสร้างสังคมใต้การปกครองของ ปรัชญาแบบธรรมชาตินิยมและสร้างความเชื่อ
ระบอบจักรพรรดิให้เข้มแข็ง โดยมุ่งเน้นทั้งการ ว่ า ทุ ก สรรพสิ่ ง ทั้ ง มวลในจั ก รวาลมี ค วาม
ลงโทษและการให้รางวัลเป็นส่วนหนึ่งของการ เชือ่ มโยงกัน ดังนัน้ การยินยอมปฏิบตั ติ ามกฎของ
ปกครองในระบอบโบราณ จักรวาลเป็นสิ่งที่ถูกต้อง ชี้ให้เห็นชัดว่ามนุษย์

68
แนวคิดจักรวาลวิทยาอู่สิง อันส่งผลต่อระบบการปกครองโบราณของจีน
จุฬาลักษณ์ ปลื้มปัญญา

ในยุคโบราณไม่มอี สิ ระในชะตาของตนเอง ชะตา ทั้งประโยชน์และโทษให้แก่ผู้ปกครอง กล่าวคือ


มนุษย์เป็นสิ่งที่ถูกก�ำหนดมาแล้วด้วยกฎแห่ง หากผลผลิ ต ดี แ ละสภาพอากาศเป็ น ไปตาม
จักรวาล ท�ำให้มนุษย์ไม่อาจละเมิดสิ่งเหล่านี้ได้ ฤดู ก าล ประชาชนจะพอใจในผู ้ ป กครองนั้ น
เมื่อราชวงศ์ฮั่นได้ก่อตั้งขึ้น การสร้าง เพราะหลักการอูส่ งิ ได้ชวี้ า่ สิง่ ดีงามทีเ่ กิดขึน้ เป็น
ชุ ด ปรั ช ญาใหม่ เ พื่ อ เสริ ม สร้ า งอาณาจั ก รฮั่ น เพราะผู้ปกครองเคารพในหลักของจักรวาล แต่
ให้แข็งแกร่งจึงเป็นเรื่องส�ำคัญ นักปรัชญาใน หากสภาพอากาศเลวร้าย เกิดภัยพิบัติ และ
ส�ำนักขงจื่อจึงได้น�ำปรัชญาส�ำนักต่างๆ ก่อน ผลผลิตไม่เป็นไปตามที่คาดหวัง ประชาชน
หน้ า ราชวงศ์ ฉิ น ขึ้ น มาถกเถี ย งและสร้ า งชุ ด จะเห็ น ว่ า เพราะผู ้ ป กครองประพฤติ ผิ ด กฎ
ความรู ้ ใ หม่ เ พื่ อ รองรั บ การปกครองในยุ ค ศีลธรรมอันเป็นการผิดกฎจักรวาลวิทยา เทียนจึง
ราชวงศ์ฮั่น นักปราชญ์คนส�ำคัญคือ ต่งจ้งซู ลงโทษอาณาจักรของพระองค์ ความคิดดังกล่าว
ได้สร้างความซับซ้อนให้แก่อู่สิงอีกระดับ นั่น จึงน�ำมาสู่การอ้างสิทธิในการล้มล้างราชวงศ์
คือ การเชื่อมโยงปรัชญาอู่สิงเข้ากับปรัชญา ได้ จึงเห็นได้ว่า แม้กระทั่งผู้ปกครองเองก็ต้อง
ส�ำนักขงจื่อ ซึ่งเป็นชุดอธิบายเอกภาพในแต่ละ ปกครองโดยสอดคล้ อ งกลมกลื น กั บ วิ ถี แ ห่ ง
ยุคโดยอิงอยู่บนปรัชญาอู่สิงที่ถูกปรับปรุงขึ้น จักรวาลเช่นกัน
ใหม่ ถือว่าเป็นการเรียงล�ำดับราชวงศ์ในแง่ของ
ประวัติศาสตร์เส้นตรง คือมีการพัฒนาอย่าง References
ต่อเนื่องเป็นแนวเดียวกัน Feng Youlan. Zhongguo Zhexue Jianshi.
สุดท้ายการใช้บทบันทึกเย่ว์หลิงใน Wuhan: Changjiang Wenyi
ระบบการปกครองของราชวงศ์ฮั่นและราชวงศ์ Chubanshe, 2015. (In Chinese)
ในยุคต่อๆ มาชี้ว่าผู้ปกครองในยุคราชวงศ์ยัง He Ping. Zhongguo chuantong siwei
คงเชื่อและใช้สิ่งเหนือธรรมชาติในการปกครอง tanyuan. Tianjinshi renmin chubanshe,
และการอ้างสิทธิธรรมในการปกครอง พิธีกรรม 2003. (in Chinese)
และประเพณียังคงถูกก�ำหนดโดยผู้ปกครองซึ่ง Henderson, John B. The Development and
ใช้เทววิทยาและจักรวาลวิทยาที่ไม่มีคำ� อธิบาย Decline of Chinese Cosmology.
ในเชิ ง วิ ท ยาศาสตร์ ความเชื่ อ ในสิ่ ง ลี้ ลั บ ยั ง New York: Columbia University
เป็นเครื่องมือให้แก่ผู้ปกครองอยู่ไม่ต่างกับยุค Press, 1984.
สมัยก่อนหน้านั้น แต่กระนั้น การพัฒนาการ Holloway, Kenneth. “ “The Five Aspects
ทางปรัชญาอู่สิงของชาวจีนได้สะท้อนชีวิตใน of Conduct” 五行 : Introduction
and Translation”. Journal of the
สังคมเกษตรที่ส�ำคัญ นั่นคือการพึ่งพิงฤดูกาล
Royal Asiatic Society 15, No. 2
และสภาพอากาศ การพึ่ ง พิ ง ดั ง กล่ า วสร้ า ง
(Jul., 2005): 179-98.

69
The International Journal of East Asian Studies

Ke Hao. “Tonglun Xizhou Shiqi ‘Yinyang’, The Source in Chinese Philosophy. Trans-
‘Wuxing’ Zai Goujia Zhengzhi lated by Wing-Tsit Chan. New
Lingyu de Yundong.” Baoji Jersey: PRINCETON UNIVER-
Xueyuan Bao (Shehui Kexueban) SITY PRESS.
31, No.1 (2011 Nian 2 Yue ): 41-43. Wang, Aihe. Cosmology and Political
(In Chinese) Culture in Early China. Cambridge:
Li Fengqiong. “Dong Zhongshu Yinyang- Cambridge University Press, 2000.
wuxing Zexue Sixiang Yanjiu”. Wang Lu. “Handai Yueling Sixiang de
Xinandaxue, 2010. (In Chinese) Yanjiu.” Suzhaodaxue, 2015. (In
Liu Zehua. Zhongguo Gudai Zhengshi Chinese)
Sixiangshi. Tianjin: Nankaidaxue Zhang Weiwei. “Wude Zhongshishuo
Chubanshe, 2001. (In Chinese) Yanjiu.” Nanzhoudaxue, 2008. (In
Lunyu: The Analects of Confucius. Chinese)
Translated by Suwanna Sata-anan. Zhang Bing. «Hong Fan» Quanshi Yanjiu
Bangkok: Openbooks Publising, Jinan: Qilu Chubanshe, 2007. (In
2554. (In Thai) Chinese)
Song Yanpin. “Yinyangwuxing yu Qinhan Zhao Zaiguang. “Cong Buci Zhong de
Zhengzhiliguan.” Lishixue Yanjiu, Sifang Shengming Kan Wuxing de
Journal of Historiography 03 (2001). Yanhua”. Xiangtandaxue Xuebao
(In Chinese) (Shehui Kexueban) 15, No. 2 (1991
Su Tan. “Guanyu Jiewan “Dongfangye Nian 4 Yue). (In Chinese)
‘Xi’ ”.” Yuyan Yanjiu Di 2 Qi
(1982): 126. (In Chinese)

70

You might also like