You are on page 1of 32

การปฏิวัติภูมิปัญญาและวิทยาศาสตร์

ขอบเขต

1. การแสวงหาความรู้และความจริง

ในสมัยกรีกโบราณ

2. การปฏิวัติวิทยาศาสตร์ C.17

3. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในครึ่ง

หลังของ C.19

1. การแสวงหาความรููและความจริงในสมัยกรีกโบราณ

ลักษณะเด่น

- การแสวงหาสารัตถะของโลก จักรวาล มนุษย์

- การใชูเหตุผลเชิงตรรกะและแนวความคิดแบบวิทยาศาสตร์

- การแสวงหากฎเกณฑ์ทัว
่ ไป

- ความคิดแบบสสารนิยม: การแสวงหา Substance: น้้ า Thales, อะตอม

Democritus

- การรู้จักตัง้ สมมติฐานและการพิส้จน์สมมติฐาน: Pythagoras พื้นที่สามเหลี่ยม

มุมฉาก

- ความขัดแยูงทางความรู้ความคิด น้ าไปสูก
้ ารแสวงหาความรู้แบบอื่น

- คุณธรรม คือ ความส้าเร็จในชีวิตที่ไดูจากการกระท้า เชูน

- The Sophists: Prothagorus - Man is the measure of all things.

- ความคิดแบบจิตนิยม: การแสวงหาความรู้ความจริงเพื่อเขูาใจโลกเป็ นสิ่งมีคูา

ในตัวเอง

- Socrates: ความรู้คือคุณธรรม
- Plato: ความรู้ในโลกของแบบ ถูวยแตกไดู แตูแบบของถูวยจะด้ารงอยู้ตลอด

ไป

- Aristotle: ไมูสนในที่มา สนใจทีไ่ ป จุดมูุงหมาย สิ่งที่เป็ นอยู้ เป็ นไป เพราะมี

ศักยภาพในตัวของมันเอง

- ความเจริญของความรู้ทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภ้มิศาสตร์ เชูน ย้คลิด

อาร์คิมีดีส

2. การปฏิวัติวิทยาศาสตร์ คริสต์ศตวรรษที่ 17

ลักษณะเด่นของการแสวงหาความรููของอารยธรรมตะวันตกสมัยใหม่

- เหตุผลนิยม ธรรมชาตินิยม ประสบการณ์นิยม ความเป็ นวิทยาศาสตร์ (พิส้จน์

ไดูดูวยประสาทสัมผัส)

ปั จจัยสนั บสนุน

- ความสนใจใครูรู้ในปรากฏการณ์ตูาง ๆ

- อิทธิพลของศาสนจักรลดลง

- การเติบโตและการสนับสนุนของสถาบันของกษัตริย์

กระบวนการหาความรููแบบใหม่

1. การรวบรวมขูอม้ล

2. การตัง้ สมมติฐาน

3. การทดลองและพิส้จน์สมมติฐาน

4. การสรุปเป็ นกฎหรือทฤษฎี

- ฟรานซิส เบคอนและวิธีการทางวิทยาศาสตร์ วิธีอุปนัย การทดลองสมมติฐาน

ดูวยขูอเท็จจริง

นั กวิทยาศาสตร์กับการคูนพบสำาคัญ
- โคเปอร์นิคัส: ดวงอาทิตย์เป็ นศ้นย์กลางของจักรวาล

- เคปเลอร์: กฎการเคลื่อนทีข
่ องดาวเคราะห์ในจักรวาล

- กาลิเลโอ: กฎการเคลื่อนที่ของวัตถุบนพื้นผิวโลก

- นิวตัน: กฎแรงโนู มถูวงสากล

- การคูนพบของวิลเลียม ฮาร์วีย์ รูางกายเป็ นเครื่องจักร และอิทธิพลตูอความ

คิดจักรกล

ผลของการปฏิวัติวิทยาศาสตร์

ระบบจักรกลนิยม (MECHANISM)

- กฎแรงโนู มถูวงสากลของนิวตัน ท้าใหูเห็นภาพวูา ทุกสิ่งในจักรวาลสัมพันธ์

กันตามกฎที่เขูาใจไดูดูวยคณิตศาสตร์

- จักรวาลมีลักษณะเหมือนเครื่องจักรใหญู ประกอบดูวยสูวนยูอยๆ มากมาย

- จักรกลนิยมกับทัศนะเรื่องพระเจูา

- พระเจูาสรูางจักรวาลที่ด้าเนินไปตามกฎธรรมชาติ

- พระเจูาใหูความสามารถในการใชูเหตุผลแกูมนุษย์ เพื่อเขูาใจกฎธรรมชาติ

- จักรกลนิยมกับทฤษฎีการเมือง

- รัฐเป็ นสิ่งสรูางของมนุษย์

- รัฐและอ้านาจรัฐ อธิบายไดูดูวยองค์ประกอบยูอย คือ ปั จเจกบุคคล:

แนวคิดสัญญาประชาคม (Social Contract)

- พิจารณาธรรมชาติของมนุษย์ (องค์ประกอบยูอยของรัฐ) เพื่อสรูาง

การปกครองที่ดี

3. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในครึ่งหลังของ C.19

- ฟิ สิกส์: การประดิษฐ์ไดนาโม - พลังงานไฟฟู า


- เครื่องยนต์สันดาปภายใน การคูนพบรังสีเอ็กซ์ สารกัมมันตรังสี

- เคมี: การคูนพบตารางธาตุ

- ชีววิทยา: การคูนพบแบคทีเรีย Sterilization

- ทฤษฎีวิวัฒนาการ

วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีกับมนุษย์

- วิทยาศาสตร์ประยุกต์

- วิศวกรรม สถาปั ตยกรรม การแพทย์ เภสัชกรรม

- รถยนต์ และเครื่องใชูไฟฟู า

- วิทยาศาสตร์กับการศึกษามนุษย์และสังคม: สังคมวิทยา มานุษยวิทยา

จิตวิทยา ประวัติศาสตร์ ฯ

CHARLES DARWIN กับทฤษฎีวิวัฒนาการ

- ทฤษฎีวิวัฒนาการโดยการเลือกสรรตามธรรมชาติ:

- THE FITTEST SURVIVES

- THE ORIGIN OF SPECIES

- THE DESCENT OF MAN

- วิทยาศาสตร์ไมูอาจท้านายอนาคตไดู = คัดคูานจักรกลนิยม

- ขัดแยูงกับคริสต์ศาสนา

- SOCIAL DARWINISM

SIGMUND FREUD กับทฤษฎีจิตวิเคราะห์

- พฤติกรรมของมนุษย์กับจิตส้านึกและจิตใตูส้านึก

- การอบรมเลี้ยงด้เด็ก

- การรักษาคนไขูโรคจิต

- ศิลปะเซอร์เรียลิสซึ่ม (SURREALISM)
การปฏิวัติทางการเมืองในอารยธรรมตะวันตกสมัยใหม่
ขอบเขต

1. ทฤษฏีการเมือง

2. อุดมการณ์ในการปฏิวัติ

2.1 เสรีนิยม-ประชาธิปไตยของจอห์น ล็อค

การปฏิวัติอันรูุงโรจน์ของอังกฤษ 1688

การปฏิวัติอเมริกัน 1776

การปฏิวัติฝรัง่ เศส 1789

2.2 สังคมนิยม-คอมมิวนิสต์ของคาร์ล มาร์กซ์

การปฏิวัติรัสเซีย 1917

1. ทฤษฎีการเมือง

- ทฤษฎีเทวสิทธิ ์ DIVINE RIGHT

- ความหมายของการปฏิวัติ

- ทฤษฎีการเมืองสมัยใหมู – ทฤษฎีพันธะสัญญา

- อ้านาจของผู้ปกครองมาจากสัญญาประชาคม

- ความส้าคัญของปั จเจกบุคคล

- การปกครองดูวยตัวแทนของประชาชน

2. อุดมการณ์ ในการปฏิวัติ

2.1 อุดมการณ์ เสรีนิยม-ประชาธิปไตยของจอห์น ล็อค

- สิทธิตามธรรมชาติ 3 ประการของมนุษย์: สิทธิในชีวิต เสรีภาพ และทรัพย์สิน


- สิทธิในการปฏิวัติ

- การปกครองที่ดีคือการปกครองที่นูอยที่สุด

- อ้านาจอธิปไตยเป็ นของปวงชน

=> การปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ ของอังกฤษ 1688

สาเหตุ

- อุดมการณ์เสรีนิยม-ประชาธิปไตยของจอห์น ล็อค

- ความขัดแยูงระหวูางรัฐสภาและสถาบันกษัตริย์

- เทวสิทธิ ์ ≠ พันธะสัญญา

- ความขัดแยูงทางศาสนา

- รัฐสภาสนับสนุนการขึ้นครองราชย์ของวิลเลียมและแมรี่

- ความหมายของการปฏิวัติอันรูุงโรจน์

ผลของการปฏิวัติ

- การออกกฎหมาย BILL OF RIGHTS 1689

- บทบาทและอ้านาจของรัฐสภา (การแตูงตัง้ ถอดถอนกษัตริย์ การเก็บภาษี)

- สิทธิเสรีภาพของรัฐสภาในการแสดงความคิดเห็น

- อังกฤษไดูพัฒนาระบบการบริหารประเทศขึ้นใหมู

- เป็ นหลักการปกครองของอังกฤษตราบจนถึงปั จจุบัน

- มีอิทธิพลตูอการปฏิวัติทางการเมืองของโลกตะวันตกในศตวรรษตูอมา

=> การปฏิวัติอเมริกัน 1776

สาเหตุ

- อุดมการณ์เสรีนิยม-ประชาธิปไตยของจอห์น ล็อค
- แนวความคิดภ้มิธรรม ความเชื่อมัน
่ ในเหตุผล สติปัญญา สิทธิ เสรีภาพของ

มนุษย์

- ความขัดแยูงระหวูางอาณานิคมกับรัฐบาลอังกฤษ การเก็บภาษี

" NO TAXTION WITHOUT REPRESENTATION. "

- นโยบายที่เขูมงวดของอังกฤษ เชูน ดูานศาสนา การทหาร

- บทบาทของนักปฏิวัติ

>>> การประกาศอิสรภาพ 4 กรกฎาคม 1776

>>> สงครามอิสรภาพ ค.ศ. 1776-1783

ผลของการปฏิวัติ

- อเมริกาเป็ นเอกราชและปกครองแบบสาธารณรัฐ

- มีรัฐธรรมน้ญและการเลือกตัง้ ประธานาธิบดี (ทางอูอม)

- การยอมรับหลักการเสรีประชาธิปไตยและสิทธิขัน
้ พื้นฐานของประชาชน

=> การปฏิวัติฝรั่งเศส 1789

สาเหตุ

- ปั ญหาเศรษฐกิจตกต้่าของประเทศ

- การปกครองแบบสมบ้รณาญาสิทธิราชย์ที่ขาดประสิทธิภาพ

- ความขัดแยูงระหวูาง 3 ฐานันดร – พระ ขุนนาง และสามัญชน

- อุดมการณ์เสรีนิยมของจอห์น ล็อค และแนวความคิดภ้มิธรรม

>>> การท้าลายคุกบาสตีย์ 14 กรกฎาคม 1789

ผลระยะแรก

- ยกเลิกการปกครองระบอบเกูา

- สถาปนาการปกครองระบอบประชาธิปไตย มีกษัตริย์ภายใตูรัฐธรรมน้ญ
- ยกเลิกระบอบศักดินา ระบบไพรู สมาคมการคูา

- การเก็บภาษีอยูางเทูาเทียมกัน

ผลระยะต่อมา

- ยกเลิกสถาบันกษัตริย์

- สถาปนาการปกครองระบอบสาธารณรัฐ

2.2 อุดมการณ์ สังคมนิ ยม-คอมมิวนิ สต์ของคาร์ล มาร์กซ์

- ฟรีดิช เองเกิลส์ และคาร์ล มาร์กซ์

- COMMUNIST MANIFESTO 1848

- ความคิดเรื่องความเสมอภาค

- การตูอสู้และการปฏิวัติทางชนชัน

- อิทธิพลตูอการปฏิวัติในยุโรปครึ่งหลังคริสต์ศตวรรษที่ 19

- การสถาปนารัฐสังคมนิยม-คอมมิวนิสต์

=> การปฏิวัติรัสเซีย ค.ศ. 1917

สาเหตุ

- การปกครองที่ขาดประสิทธิภาพของระบอบสมบ้รณาญาสิทธิราชย์

- ปั ญหาเศรษฐกิจ

- ปั ญหาความแตกตูางของชนชัน
้ ในสังคม

- การเคลื่อนไหวของปั ญญาชน

>>> การปฏิวัติเดือนกุมภาพันธ์ 1917

>>> นโยบาย สันติภาพ ที่ดน


ิ และขนมปั ง

>>> การปฏิวัติบอลเชวิก เดือนตุลาคม 1917


ผลของการปฏิวัติ

- ยกเลิกการปกครองระบอบสมบ้รณาญาสิทธิราชย์

- สถาปนาการปกครองระบอบสังคมนิยม-คอมมิวนิสต์

- เป็ นตูนแบบของการปฏิวัติสังคมนิยมในเวลาตูอมา

การปฏิวัติอุตสาหกรรม C.18-19
ขอบเขต

1. ความหมาย

2. จุดเริ่มตูน

3. สาเหตุของการปฏิวัติอุตสาหกรรม

4. ผลของการปฏิวัติอุตสาหกรรม

5. ผลสืบเนื่องของการปฏิวัติ

อุตสาหกรรม

5.1 ขบวนการโรแมนติก

5.2 แนวความคิดสังคมนิยม

5.3 ยุคสมัยของมวลชน

5.4 ก า ร ข ย า ย ตั ว ข อ ง
จักรวรรดินิยม

5.5 ศิลปะสัจนิยม

5.6 แนวโนู มใหมู ข องศิ ล ปะปลาย

C.19

- การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะที่ 1 (1760-1860): สมัยแหูงเครื่องจักรไอน้้ า

- การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะที่ 2 (1860-1914): เครื่องยนต์กระบอกส้บ/

สันดาปภายในที่ใชูน้ ามัน, รถยนต์

1. ความหมาย

- การเปลี่ยนแปลงในระบบและวิธีการผลิต, วิถีชีวิต และวิธีด้าเนินกิจกรรมทาง

เศรษฐกิจ

2. จุดเริ่มตูน

- ผู้น้า: อังกฤษในกลาง C.18

- การประดิษฐ์เครื่องจักรไอน้้ าของ JAMES WATT

- อุตสาหกรรมการทอผูา

- การประดิษฐ์รถไฟ เรือกลไฟ

3. สาเหตุ

- การขยายตัวของทุน, แรงงาน, วัตถุดิบ และตลาด

1. การส้ารวจทางทะเลและการแสวงหาอาณานิคม

2. การขยายตัวทางเศรษฐกิจ สังคม และประชากรในยุโรป


3. ความกูาวหนู าทางวิทยาศาสตร์

4. หลักการเสรีนิยม

5. ทุนนิยม

4. ผลของการปฏิวัติอุตสาหกรรม

- การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม

1. การเติบโตของประชากร ชนชัน
้ กลาง และชนชัน
้ กรรมาชีพ

2. การขยายตัวของสังคมเมือง

3. การขยายบทบาททางการเมืองของชนชัน
้ กลาง และชนชัน
้ กรรมาชีพ

4. ความเหลื่อมล้้า การพึ่งพาอาศัย และการแขูงขันทางเศรษฐกิจ

5. ผลสืบเนื่ อง

5.1 ขบวนการโรแมนติค (Romanticism 1800-1850)

ลักษณะสำาคัญ

1. หลีกหนี ตูอตูาน อุตสาหกรรมและความเจริญทางวัตถุ

- Turner, “Steamer in the Snow Storm”

- Conatable, “The Haywain”

2. สนับสนุนความคิดเสรีนิยม ชาตินิยม การปฏิวัติทางการเมือง

- Delacroix, “Liberty Guiding the People”

“Masscre at Chios”

- Goya, “The Third of May 1808”

3. เนู นอารมณ์ ความรู้สึก มนุษยธรรม มากกวูากฎเกณฑ์ เหตุผล


- Victor Hugo, The Miserables (เหยื่ออธรรม)

4. เนู นเสรีภาพ ปั จเจกบุคคล - กวีนิพนธ์อังกฤษ

5. เนู นจินตนาการ อดีต ประวัติศาสตร์ยุคกลาง ความศรัทธาตูอศาสนา

- นิทานกริมส์, อัศวินโต๊ะกลม, สามทหารเสือ

- Wordsworth, Shelly, Lord Byron

- Alexandre Dumas, “The Three Musketeers”

- Sir Walter Scott, Ivanhoe

5.2 แนวความคิดสังคมนิ ยม (Socialism)

หลักการสำาคัญ

- เนู นความเสมอภาค แกูไขความเหลื่อมล้้าในสังคมอุตสาหกรรม

สังคมนิ ยมก่อนมาร์กซ์

- เนู นหลักการมนุษยธรรม

- หลักสหกรณ์

- การเปลี่ยนแปลงแกูไขสังคมดูวยความรูวมมือรูวมใจกัน

- นักคิดส้าคัญ - Robert Owens

สังคมนิ ยมแบบมาร์กซ์ (Marxist Socialism)

- นักคิดส้าคัญ: Friedrich Engels, Karl Marx

- งานเขียนส้าคัญ: Communist Manifesto (1848)

Capital (1867)

สาระสำาคัญ

- ความส้าคัญของระบบเศรษฐกิจ พลังการผลิต และความสัมพันธ์ของการผลิต

- ม้ลคูาสูวนเกิน และการควบคุมโครงสรูางสูวนบนของสังคม
- ชนชัน
้ ในสังคม และการตูอสู้ทางชนชัน
้ เพื่อปฏิวัติสังคม

- วิวัฒนาการของสังคม: สังคมบุพกาล สังคมทาส สังคมศักดินา สังคมทุนนิยม

สังคมนิยม-คอมมิวนิสต์

ความสำาคัญของลัทธิมาร์กซ์

- ชี้น้า และกระตูุนจิตส้านึกของปั ญญาชนและชนชัน


้ กรรมาชีพในการแกูไข

ปั ญหาสังคม

- น้ าไปสู้การปฏิวัติบอลเชวิคของรุสเซียในตูนคริสต์ศตวรรษที่ 20

- อธิบายสภาพและปั ญหาสังคมอุตสาหกรรม

5.3 ยุคสมัยของมวลชน (The Age of the Mass)

- ความเติบโตของสังคมอุตสาหกรรม ท้าใหูมวลชนมีความส้าคัญมากขึ้น

ปั จจัยสนั บสนุน

- อิทธิพลของแนวความคิดสังคมนิยม

- บทบาทของปั ญญาชน เชูน กลูุม Fabian Society ในอังกฤษ

- การขยายตัวของการศึกษา การศึกษาภาคบังคับ

- บทบาทของสื่อมวลชน

ผล

- การเปลี่ยนแปลงไปสู้ระบอบประชาธิปไตยของมวลชน

- การเติบโตของเสรีประชาธิปไตยเพื่อมวลชน: การปรับปรุงกฎหมายการเลือก

ตัง้ การปรับบทบาทของรัฐสภา การเติบโตของพรรคการเมือง (พรรคสังคม

ประชาธิปไตย พรรคสังคมนิยม พรรคแรงงาน)

- บทบาททางการเมืองของชนชัน
้ กรรมาชีพ: การกูอตัง้ ขบวนการกรรมกรสากล,

สหภาพแรงงาน, พรรคกรรมกร, กฎหมายประกันสังคม


- การปรับตัวของลัทธิเสรีนิยม: การเพิ่มบทบาทของรัฐ ในดูานเศรษฐกิจและ

สังคม (กฎหมายประกันสังคม รัฐสวัสดิการ การจัดการสาธารณ้ปโภค)

5.4 การขยายตัวของลัทธิจักรวรรดินิยม (Imperialism)

ความหมาย

- การครอบง้าทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม

- ครึ่งหลัง C.19: โลกตะวันออก

- ปลาย C.19 - ตูน C.20: ทวีปแอฟริกา

สาเหตุ

- การขยายตัวของเศรษฐกิจหลังการปฏิวัติอุตสาหกรรม

- การเพิ่มของประชากรในยุโรป

- ความกดดันตูอระบอบเสรีประชาธิปไตยในโลกตะวันตก

- การแขูงขันทางการเมืองระหวูางประเทศ และแนวความคิดชาตินิยม

- การเผยแพรูคริสต์ศาสนาและอารยธรรม (ภาระของคนผิวขาว: White Man's

Burden)

5.5 ศิลปะสัจนิ ยม (Realism 1850-1900)

ลักษณะสำาคัญ

1. สัจนิยม เสนอภาพความเป็ นจริงของสังคมสมัยการ ปฏิวัติอุตสาหกรรม

แสดงความทุกข์ยากของกรรมาชีพ ปฏิเสธจินตนาการ

- Charles Dickens, Oliver Twist

- Thomas Hardy, Tess of the D'Ubervilles

- Gustave Courbet, "The Stone Breaker"


- Daumier, "The Third-class Carriage"

- Jean Millet, "The Gleaner"

2. สัจสังคมนิยม สะทูอนภาพสังคม และเสนอแนวทางแกูไขปั ญหาสังคม

- Maxim Gorky, Mother

- Gerhardt Hauptmann, The Weaver

3. ธรรมชาตินิยม วิเคราะห์พฤติกรรมของมนุษย์โดยไดูรับอิทธิพลทาง

วิทยาศาสตร์ จากดาร์วิน และฟรอยด์

- Emile Zola, Germinal

- Henrik Ibsen, A Doll's House

- การน้ าเสนอละครที่เนู นความสมจริงของการแสดงและฉาก การใชู

ไฟฟู าบนเวที

5.6 แนวโนู มใหม่ของศิลปะปลาย C.19

1. จิตรกรรม IMPRESSIONISM

- การเปลี่ยนแปลงในร้ปแบบ (style) และเทคนิคการวาดร้ป

- เนู นทฤษฎีแสง สี และเงา ตามหลักวิทยาศาสตร์

ตัวอย่างผลงานสำาคัญ

- Monet, “Impression: Sunrise”

- Renoir, “Luncheon on the Boating Party”

- Cezanne, “Still Life on Vase of Flowers”

- Gauguin, “Yellow Christ”

- Van Gogh, “Starry Night”, “Sunflower”

2. สถาปั ตยกรรม Modernism


- การปฏิวัติร้ปแบบสถาปั ตยกรรม ดูวยการใชูเหล็กและกระจก

- Crystal Palace 1851

- Eiffel Tower 1889

- การขยายตัวของเมือง การวางผังเมือง และการจัดเคหะชุมชน

- การสรูางตึกส้ง: อาคารพาณิชย์ ที่อยู้อาศัย

- การตกแตูงแบบ ART NOUVEAU: ลวดลายเครือเถา การตกแตูงภายใน


ลัทธิจักรวรรดินิยมและโลกตะวันออก C.19
ขอบเขต

1. ลัทธิจักรวรรดินิยม

2. ลัทธิจักรวรรดินิยมในเอเชียและ

ขบวนการชาตินิยม

2.1 อินเดีย

2.2 จีน

2.3 ญี่ปูุน

2.4 เอเชียตะวันออกเฉียงใตู

1. ลัทธิจักรวรรดินิยม

ความหมาย

- การครอบง้าทางดินแดนและอารยธรรม

ที่มา

- การปฏิวัติอุตสาหกรรม
- การพยายามด้ารงระบบเสรีนิยม / ทุนนิยมในโลกตะวันตก

- ลัทธิชาตินิยมเขูมแข็งขึ้น การสรูางความเป็ นใหญูเหนือชาติอ่ ืนในดูาน

ตูางๆ

- แนวคิด Social Darwinism

- แนวคิดเรื่อง “ภาระของคนผิวขาว”

- ความตูองการเผยแพรูคริสต์ศาสนา

- นโยบายเรือปื นและการลูาอาณานิคม

2. ลัทธิจักรวรรดินิยมในเอเชีย

2.1 ลัทธิจักรวรรดินิยมในอินเดีย

ปั จจัย

- ความเสื่อมของราชวงศ์โมกุล

- การขยายอ้านาจของบริษท
ั อินเดียตะวันออกของอังกฤษ

- กบฏซีปอย 1857

การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ภายใตู

การปกครองของอังกฤษ

- การเมือง: อุปราช British India มหาราชา

- เศรษฐกิจ: การเขูาสู้ระบบอุตสาหกรรม

- สังคม: เมืองเป็ นศ้นย์กลางการคูาและอุตสาหกรรม ชีวิตแบบตะวันตก การ

ผูอนคลายระบบวรรณะ

- ปั ญญาความคิด: ส้านึกในความเป็ นชาติ

- ปั จจัย: การศึกษา ภาษา การปกครอง การพัฒนาการการสื่อสารคมนาคม ฯลฯ


การสรูางสรรค์ทางศิลปะ

- การศึกษาศิลปวัฒนธรรมอินเดียของตะวันตก

- กวี นักคิด นักเขียนอินเดียที่รับวิธีคิดแบบตะวันตก: ระพินทรนาถ ฐาก้ร, คี

ตาญชลี

การเกิดขบวนการชาตินิยม

- คองเกรสแหูงชาติอินเดีย

- บทบาทของมหาตมะ คานธี: หลักการอหิงสา การไมูแบูงแยกเชื้อชาติ ศาสนา

- ความแตกตูางทางอารยธรรมในขบวนการชาตินิยมระหวูางฮินด้และมุสลิม

2.2 ลัทธิจักรวรรดินิยมในจีน

ปั จจัย

- ความขัดแยูงระหวูางจีนกับโลกตะวันตก

- โลกทัศน์ของชาวจีน จีนเป็ นศ้นย์กลางโลก

- ความขัดแยูงดูานการคูาผ้กขาด

>>> สงครามฝิ่ นกับอังกฤษ (1839-1842) และการถ้กบังคับใหูท้าสนธิสัญญานา

นกิง

ปฏิกิริยาของชาวจีนต่อลัทธิจักรวรรดินิยม

- กบฏตูอตูานอิทธิพลตะวันตก

- กบฏไตูเผ็ง (1853), กบฏนักมวย (1900)

- การปฏิวัติ ค.ศ. 1911:

- ขบวนการปฏิวัติของ ดร.ซุนยัตเซ็น และการสิ้นสุดราชวงศ์ชิง

- การเคลื่อนไหว 4 พฤษภาคม 1919: การตูอตูานญี่ปูุน


- การตัง้ พรรคคอมมิวนิสต์จีน ค.ศ. 1921: เหมา เจ๋อ ตง

การสรูางสรรค์ทางศิลปะ

- วรรณกรรมจีน

- รับอิทธิพลตะวันตก, ตูอตูานลัทธิขงจื้อ, ปฏิร้ปภาษาจีน, สะทูอน

ปั ญหาสังคม

2.3 ลัทธิจักรวรรดินิยมในญี่ปุ่น

- สหรัฐอเมริกาและการเปิ ดประเทศญี่ปูุน 1854

การปฏิรูปเมจิ

- ระบบการปกครอง รัฐธรรมน้ญ 1889

- การปรับปรุงการศึกษา

- การปฏิวัติอุตสาหกรรมและการเติบโตทางเศรษฐกิจ

จักรวรรดินิยมญี่ปุ่นในเกาหลีและจีน

การรับอิทธิพลตะวันตก

- วรรณกรรมแปล

- วรรณกรรมสัจนิยมแบบตะวันตก สะทูอนภาพสังคมอุตสาหกรรม เชูน เรือ

โรงงาน

- สถาปั ตยกรรมแบบตะวันตก

2.4 ลัทธิจักรวรรดินิยมในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใตู


ความสำาคัญของเอเชียตะวันออกเฉี ยงใตูต่อชาติตะวันตก

- ตลาดสินคูาอุตสาหกรรม

- แหลูงวัตถุดิบ

- เสูนทางสู้จีน และการเปิ ดคลองสุเอช

ความลูมเหลวของการปรับตัวเมื่อเผชิญอิทธิพลตะวันตก

- ความอูอนแอของระบบการเมือง: มลาย้ อินโดนีเซีย

- ลักษณะอนุรักษ์นิยมของชนชัน
้ น้ า: พมูา เวียดนาม

- การปรับปรุงประเทศของไทย: การสรูางรัฐชาติ ระบบกฎหมาย และการศึกษา

แบบตะวันตก

การยึดครองของชาติตะวันตกในดินแดนต่างๆ

- สเปนและสหรัฐฯ ในฟิ ลิปปิ นส์

- เนเธอร์แลนด์ในอินโดนีเซีย

- อังกฤษในพมูาและมลาย้

- ฝรัง่ เศสในเวียดนาม เขมร ลาว

การเติบโตของขบวนการชาตินิยม

ปั จจัยส่งเสริม

- การศึกษาแบบตะวันตกตัง้ แตูสมัยอาณานิคม

- สงครามญี่ปูุน - รัสเซีย 1905

- การปฏิวัติจีน 1911

- การเคลื่อนไหวของคองเกรสแหูงชาติอินเดีย

แนวทางต่าง ๆ ของขบวนการชาตินิยม

- ฟื้ นฟ้วัฒนธรรมดัง้ เดิม (กลูุมตะขิ่นในพมูา, สาเรกัตอิสลามในชวา)

- ผสมผสานวัฒนธรรมดัง้ เดิมและปรับปรุงประเทศตามแบบตะวันตก
- แนวทางสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ เชูน เวียดนาม และอินโดนีเซีย

ภาวะเศรษฐกิจตกตำ่า และสงครามโลกครัง้ ที่ 2


ขอบเขต

1. ภาวะเศรษฐกิจตกต้่า (The Great

Depression)

2. การปกครองระบอบฟาสซิสม์-นาซี ใน

อิตาลีและเยอรมนี

3. การสรูางสรรค์ศิลปะในครึ่งแรกของ

C.20

4. สงครามโลกครัง้ ที่ 2 (1939-1945)

1. ภาวะเศรษฐกิจตกตำ่า (The Great Depression)

เศรษฐกิจตกตำ่าทั่วโลกทศวรรษ 1920

- เป็ นสภาวะทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นหลังสงครามโลก ครัง้ ที่ 1

- การพังทลายของระบบเศรษฐกิจทุนนิยมโลกตะวันตก

- เริ่มตูนขึ้นที่สหรัฐอเมริกา

- การขยายตัวทางเศรษฐกิจกูอน 1928

- การลงทุนภาคอุตสาหกรรมและเกษตร

- การลงทุนขูามชาติ

สาเหตุ
- ภาวะการผลิตสินคูาลูนตลาดเกินความตูองการ

- การผลิตในสหรัฐอเมริกาเพิ่มขึ้นคงที่ แตูความตูองการสินคูาลดลง

- ประเทศตูางๆ ผลิตสินคูาไดูเองเพิ่มขึ้น

- การลูมละลายของภาคธุรกิจการเงิน และอุตสาหกรรมเกษตร

- ตลาดหูุนของสหรัฐอเมริกาลูมละลาย

- เกิดภาวะการวูางงานอยูางส้ง

- สูงผลกระทบใหูเกิดภาวะเศรษฐกิจตกต้่าทัว
่ โลก

ผล

- ชาติตูางๆ ใชูนโยบายเศรษฐกิจแบบชาตินิยม

- ใชูนโยบายประหยัด ควบคุมและมาตรการกีดกันทางภาษศุลกากร

Protectionist Policy

- ภาวะหนี้สินระหวูางสหรัฐอเมริกาและประเทศตูางๆ หลังสงครามโลกครัง้ ที่ 1

- ชาติตูางๆ เพิ่มนโยบายวางแผนทางเศรษฐกิจ (Planned/Controlled

economy) เชูน สหรัฐอเมริกาและโครงการ นิวดีล

- หลายชาติยกเลิกการคูาเสรี

- การปรับตัวของระบบทุนนิยมเสรี

- รัฐเพิ่มบทบาทในการแกูไขปั ญหาเศรษฐกิจ ชูวยเหลือชาวนา กรรมกร

- การเกิดขบวนการชาตินิยมทางการเมืองอยูางรุนแรง หรือการปกครองลัทธิ

เผด็จการแบบรวบอ้านาจเบ็ดเสร็จ

2. การปกครองระบอบฟาสซิสม์-นาซี ในอิตาลีและเยอรมนี

- ฟาสซิสต์ - Mussolini, Italy 1922

- นาซี - Hitler, Germany 1933


ความหมาย

- ชาตินิยม Nationalism

- ทหารนิยม Militarism

- เบ็ดเสร็จนิยม/อ้านาจนิยม Totalitarianism/Authoritarianism

สาเหตุ

- ความผันแปรทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม

- ความไรูเสถียรภาพของการเมืองระบอบประชาธิปไตย

- การเติบโตของคอมมิวนิสต์

- ภาวะเศรษฐกิจตกต้่า

- ผลกระทบจากสงครามโลกครัง้ ที่ 1 และสนธิสัญญาสงบศึก

- ความอูอนแอและลูมเหลวของสันนิบาตชาติ

ผล

- การใชูนโยบายกูาวรูาว รุนแรง เชูน การรุกรานดินแดนตูางๆ การปราบปราม

ชาวยิว

- การเพิ่มก้าลังอาวุธและทหาร

- การรุกรานโปแลนด์ 1 กันยายน 1939 > น้ าไปสู้สงครามโลกครัง้ ที่สอง

3. การสรูางสรรค์ศิลปะในครึ่งแรกของ C.20

3.1 การเกิดศิลปะ Modernism หรือศิลปะตูอตูานศิลปะสัจนิยม (Anti-

Realism) ที่แสวงหาร้ปแบบหลากหลาย เชูน

- วรรณกรรม Impressionism

- เนู นความรู้สึกภายในมากกวูาความเป็ นจริงและการกระท้า

- การเขียนแบบกระแสส้านึก Stream of Consciousness


Marcel Proust, Remembrance of Things Past

- ศิลปะนามธรรม (Abstract art)

- เนู นร้ป ทรง เสูน สี ความรู้สึก: Picasso, Kandinsky

- ละคร Epic Theartre

- การแยกละครออกจากคนด้

- ละครมีบทบาทในการสัง่ สอนและเปลี่ยนแปลงสังคม

Bertold Brecht

3.2 ต่อตูานค่านิ ยมของสังคม

- ศิลปะ Dada: Marcel Duchamps

- ศิลปะ Surrealism และอิทธิพลของ Freud:

Andre Breton

Salvadore Dali

Max Ernst

3.3 สะทูอนปั ญหาเศรษฐกิจ สังคม

- ปั ญหาสังคมเมือง, สังคมอุตสาหกรรม แสดงความรู้สึกคับขูองใจ

ความเยูยหยัน ความตระหนักถึงความเป็ นจริงของสังคมทุนนิยม/อุตสาหกรรม

เชูน

Franz Kafka, Metamorphosis

Eugene O'Neill, Hairy Ape

- ปั ญหาเศรษฐกิจตกต้่า 1929-1930's

John Steinbeck, The Grape of Wrath

Tennessee Williams, A Street Car Named Desire

3.4 ต่อตูานสงคราม: สงครามกลางเมืองในสเปน, ลัทธินาซีในเยอรมนี


Brecht, Mother Courage

Picasso, Dali

3.5 ศิลปะและมหาชน

- การขยายตัวของการพิมพ์และวัฒนธรรมการอูาน: หนังสือพิมพ์,

นิตยสาร, pocket book

- การเกิดสื่อชนิดใหมู: ภาพยนตร์, วิทยุ

- ศิลปะเขูาสู้มหาชนไดูกวูางขวางขึ้น

- การใชูศิลปะเพื่อการโฆษณาชวนเชื่อ

4. สงครามโลกครัง้ ที่ 2 (1939-1945)

สาเหตุพืน
้ ฐาน

1. ความไมูพอใจสนธิสัญญาแวร์ซายส์ของเยอรมนี และการเติบโตของการ

ปกครองระบอบเผด็จการ: ลัทธิฟาสซิสต์ในอิตาลี และลัทธินาซีในเยอรมนี

2. ความอูอนแอของมหาอ้านาจโลกเสรีประชาธิปไตย

3. เศรษฐกิจตกต้่าทัว
่ โลก 1929

4. ความลูมเหลวของสันนิบาตชาติ

ปั จจัยที่นำาไปสู่สงคราม

- การขยายตัวของลัทธินาซีในยุโรป

- เยอรมนีบุกโปแลนด์ (1 กย. 1939)

การทำาสงคราม

- สงครามในยุโรป

- สงครามมหาเอเชียบ้รพา
การยุติสงคราม

- พ.ค. 1945 - ฝู ายอักษะแพูสงครามในยุโรป

- ส.ค. 1945 - การทิ้งระเบิดปรมาณ้ที่ฮิโรชิมาและนางาซากิ

ผลของสงคราม

1. การยึดครองประเทศแพูสงคราม

2. การกูอตัง้ องค์การสหประชาชาติ

3. ความตกต้่าของยุโรป

4. สหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียตกลายเป็ นมหาอ้านาจ

ความเจริญกูาวหนู าทางวิทยาการ

- การพัฒนาการสื่อสารคมนาคม

- สารสังเคราะห์ (แทนวัสดุธรรมชาติที่ขาดแคลนยามสงคราม)

- พลังงานปรมาณ้: ทฤษฎีสัมพันธภาพของ Einstein

- คอมพิวเตอร์ระยะแรกเริ่ม
สงครามเย็น (1945-1960)

ความหมาย

ความขัดแยูงระหวูางอุดมการณ์เสรีประชาธิปไตย และสังคมนิยมคอมมิวนิสต์

วิธีการรวมกลุ่มพันธมิตรในสงครามเย็น

การรวมกลูุมทางแนวความคิด อุดมการณ์ การเมือง การท้ต เศรษฐกิจ การทหาร

และวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี

ความเป็ นมา

- การขยายลัทธิคอมมิวนิสต์ของสหภาพโซเวียตไปสู้ยุโรปตะวันออก

- นโยบายสกัดกัน
้ คอมมิวนิสต์และลัทธิทร้แมนของสหรัฐอเมริกา 1947

การเผชิญหนู าและแข่งขันกันในสงครามเย็น

- วิกฤตการณ์เบอร์ลิน 1948

- การกูอตัง้ NATO 1948, Warsaw Pact 1955

- ชัยชนะของพรรคคอมมิวนิสต์ในเอเชีย 1949-1954
- จีน 1949, เกาหลี 1950, เวียดนาม 1954

- SEATO 1954

- วิกฤตการณ์คิวบา 1962

- การแขูงขันกันทางดูานเทคโนโลยี

- ดาวเทียม (พัฒนาเพื่อการจารกรรมทางทหาร), การส้ารวจอวกาศ

- ศิลปะเพื่ออุดมการณ์ทางการเมือง

การสิ ้นสุดของลัทธิจักรวรรดินิยม

การไดูรับเอกราชของเอเชียตะวันออกเฉี ยงใตู

- กรณีที่ใชูสันติวิธ:ี พมูา มลาย้

- กรณีที่ใชูความรุนแรง: อินโดนีเซีย เวียดนาม

ปั ญหาหลังการไดูรับเอกราช

- การเผชิญหนู ากับมหาอ้านาจในสงครามเย็น

- ปั ญหาชนหมู้นูอยและปั ญหาเชื้อชาติ

- ความลูมเหลวในการใชูระบบการปกครองแบบตะวันตก

สงครามเวียดนาม

- ขบวนการชาตินิยมเวียดมินห์: สังคมนิยม

- ชัยชนะของเวียดมินห์เหนือฝรัง่ เศสที่เดียนเบียนฟ้ 1954

- การแบูงเวียดนาม

- บทบาทของสหรัฐอเมริกา: Domino Theory

- ก้าเนิด SEATO 1954

- สงครามระหวูางเวียดนามเหนือและใตู
- การตูอตูานสงครามเวียดนามในสหรัฐอเมริกา ทศวรรษ 1960

>>> การถอนทหารของสหรัฐอเมริกา

- ความพยายามยุติสงครามของมหาอ้านาจ

- ชัยชนะของฝู ายสังคมนิยมและการรวมเวียดนาม 1975

การคลี่คลายของสงครามเย็น (ทศวรรษ 1960’s-1970’s)

- นโยบาย Peaceful Co-existence and Competition ของสหภาพโซเวียต

สมัยครุสชอฟ

- ความขัดแยูงภายในของแตูละคูาย

- ความขัดแยูงในคูายโลกเสรี

- ความขัดแยูงระหวูางจีนและสหภาพโซเวียต

- การสถาปนาความสัมพันธ์ระหวูางจีน สหภาพโซเวียต และสหรัฐอเมริกา

วาทะนิกสัน 1969

สนธิสัญญาเซี่ยงไฮู 1972

การยุติสงครามเวียดนามและสงครามอินโดจีน 1975

การสลายตัวของโลกคอมมิวนิ สต์

- สงครามเย็นเริ่มคลี่คลายในทศวรรษ 1960

- ปั จจัยของการคลี่คลายของสงครามเย็น

- ดุลแหูงความนูาหวาดกลัว

- ผลประโยชน์ของมหาอ้านาจ

- บทบาทของกลูุมโลกที่สาม

- การเรียกรูองสิทธิทางการเมืองของโปแลนด์ 1980’s
- การปฏิร้ปเศรษฐกิจ (PERESTROIKA) และนโยบายตูางประเทศ

(GLASNOST) ของกอร์บาชอฟ 1985

PERESTROIKA = การยอมรับเสรีนิยมทางเศรษฐกิจ

GLASNOST = การเปิ ดกวูางทางการเมือง

- ผลของการคลี่คลายของสงครามเย็น

- การเสื่อมอ้านาจของรัฐสังคมนิยมในยุโรปตะวันออก

- การทลายก้าแพงเบอร์ลินและการรวมเยอรมนี 1990

- การลูมสลายของสหภาพโซเวียต 1991

ศิลปะคริสต์ศตวรรษที่ 20

- Abstaract Expressionism

- Pop Art: ขูอม้ล ขูาวสาร ชีวิตประจ้าวัน

- ศิลปะกับธุรกิจ: ภาพยนตร์ ดนตรี โฆษณา แฟชัน


่ บรรจุภัณฑ์

- ศิลปะกับเทคโนโลยี

- การขูามวัฒนธรรมทางศิลปะ: การแปลวรรณกรรม วรรณกรรมขายดี

You might also like