You are on page 1of 24

ÃÒÂÇÔªÒ

895-001 ¾ÅàÁ×ͧ·Õ´
è Õ
(Good CITIZENS)

»ÃШíÒÀÒ¤¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ·Õè
2/2564
หน่วยที่ 1 ความเป็นพลเมืองในกระแสโลกาภิวัตน์

พลเมือง
ประชาชน ราษฎร ชาวประเทศ (พจนานุกรม ราชบัณฑิตยสถาน, 2554)

หมายถึง คนที่มีสิทธิและหนาที่ในฐานะ
ประชาชนของประเทศใดประเทศหนึ่ง หรือ
ประชาชนที่อยูภายใตผูปกครองเดียวกัน
n
เชื้อชาติ (Race)
หมายถึง การสืบเชื้อสายทางพันธุกรรมมาจากชนชาติเผาพันธุใดเผาพันธุ
หนึ่งที่มี DNA และโครงสรางทางดานรางกายเปนแบบเดียวกัน

สัญชาติ (Nationality)

หมายถึง ความอยูในบังคับหรืออยูในความปกครองและกฎหมายของประเทศ
ใดประเทศหนึ่ง
แนวคิดความเป็นพลเมือง 3 แนวคิดหลัก

ความเป็นพลเมืองชาติตามขนบ 
(Traditional Citizenship) ความเป็นพลเมืองโลก 
(Global Citizenship)

ความเป็นพลเมืองดิจิทัล 
(Digital Citizenship)
เราหมายถึงอะไรกันแน่เมื่อเราพูดถึงโลกาภิวัตน์

เริ่มใช้คําว่า Globalize ในทศวรรษที่ 1940 โดยหมายถึง การทําให้เป็นสากล


"

โดย
(Universalize) เพราะในยุคนั้นมีความเชื่อว่าในอนาคตการรวมกันทาง
9

วัฒนธรรมของโลกในแบบมนุษย์นิยมโลกจะเกิดขึ้น โลกาภิวัตน์จึงเป็นเรื่อง
ของสิ่งที่กระจายไปทั่วโลก เป็นกระบวนการของการแพร่ขยายสิ่งต่าง ๆ

T
โลกาภิวัตน์ได้มีการนําไปพูดกันทั่วไปในคริสต์ทศวรรษ 1990 และ
ในปัจจุบันก็ได้มีการนําไปใช้ในสาขาวิชาต่าง ๆ ทั่วโลก
u

โลกาภิวัตน์ในฐานะเป็นปรากฏการณ์ใหม่อันหนึ่งที่ถูกขับเคลื่อนโดย
เทคโนโลยีรูปแบบใหม่เป็นหลัก
Manfred B. Steger ศาสตราจารย์ด้าน Global Studies แห่ง the
Royal Melbourne Institute of Technology

ในทรรศนะของ Steger (Steger, 2003)


“โลกาภิวัตน์ หมายถึง ชุดของกระบวนการทางสังคมที่มีหลายมิติ ซึ่งทําให้เกิด
"

การพึ่งพาอาศัยกันและการแลกเปลี่ยนทางสังคม รวมตลอดถึงการทําให้การ
พึ่งพากันและการแลกเปลี่ยนทางสังคมดังกล่าวเพิ่มขยาย กระจายออกไป และ
และ

มีความเข้มข้นขึ้น ขณะที่ในเวลาเดียวกันก็หล่อหลอมให้ผู้คนตระหนักมากขึ้นใน
ความเชื่อมโยงกันที่มีมากขึ้นระหว่างท้องถิ่นและสถานที่ที่ห่างไกลออกไป"
โลกาภิวัตน์ในฐานะชุดของกระบวนการทางสังคม
(Globalization as series of social processes)

กระบวนการทางสังคมเหล่านี้สร้างและแพร่ขยายเครือข่ายของการ
ติดต่อกัน สามารถเอาชนะอุปสรรคอันเกิดจากพรมแดนทางการเมือง
เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และภูมิศาสตร์แบบเก่าได้
1
การสลายเส้นแบ่งที่มีอยู่เดิม

Roland Robertson ซึ่งเป็นศาสตราจารย์ด้านสังคมวิทยาแห่ง University of


Pittsburgh ได้อธิบายเกี่ยวกับโลกาภิวัตน์ ว่าเป็น “การกระชับแน่นของโลก”
(the compression of the world)

Malcolm Waters ซึ่งเป็นศาสตราจารย์กิตติคุณ (Professor Emeritus) ด้าน


สังคมวิทยาแห่ง University of Tasmania ประเทศออสเตรเลีย กล่าวถึงคํา ๆ
นี้ว่าหมายถึง “กระบวนการทางสังคมอย่างหนึ่งซึ่งข้อจํากัดทางภูมิศาสตร์ที่มี
ต่อการดําเนินกิจกรรมทางด้านสังคมและวัฒนธรรม ได้ลดน้อยถอยลง“
การเชื่อมโยงกัน: ระดับท้องถิ่นและระดับโลก

การเชื่อมโยงกันระหว่างความต้องการอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และ
สงครามกลางเมืองนองเลือดในสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก
(Democratic Republic of Congo / DRC) เป็นตัวอย่างหนึ่งของ
โศกนาฏกรรมแบบนี้ ความเชื่อมโยงกันระหว่างสงครามและ
อิเล็กทรอนิกส์ (war and electronics) ได้ปรากฏตัวขึ้นมาเนื่องจาก
DRC มีแหล่งทรัพยากรแร่ Coltan มากถึง 80% ของแร่ประเภทนี้
ทั้งหมดในโลก
เวลาที่กระชับแน่น (Compressing Time)

อัตราเร็วที่เพิ่มขึ้นของการกระทํากิจกรรมทางสังคม ตัวอย่างเช่น เทคโนโลยีด้าน


U n u ls

การติดต่อสื่อสารและการขนส่งที่รวดเร็วขึ้นเป็นตัวทําให้เกิดการกระชับของเวลา
m cs

โดยช่วยให้เกิด “การไหลเวียนและการเคลื่อนย้ายได้อย่างรวดเร็วของคน ข้อมูล


a

ข่าวสาร ทุน และสินค้า” (Scheuerman, 2006)


"

ค.ศ. 1965 Gordon E. Moore ผู้ร่วมก่อตั้ง Intel ได้ทํานายว่า จํานวนของ


ทรานซิสเตอร์ (transistors) ที่สามารถนําไปติดตั้งบนชิป (chip) หนึ่งตัว จะเพิ่ม
ขึ้นหนึ่งเท่าทุกปี ใน ค.ศ. 1975 Moore ได้ปรับคําทํานายของเขาให้ใกล้เคียงความ
เป็นจริงเป็นทุก ๆ 2 ปี และคําทํานายนี้ยังคงเป็นหลักการสําคัญของอุตสาหกรรม
สารกึ่งตัวนํา หรือ เซมิคอนดักเตอร์ (semiconductor)
Scholte (2005) ให้ความหมายของโลกาภิวัตน์ไว้ 5 แนวทาง

โลกาภิวัตน์ในแง่ของความสัมพันธ์ข้ามพรมแดนระหว่างประเทศ
กระบวนการผนวกรวมเศรษฐกิจระหว่างประเทศ เช่น การลดข้อจํากัดต่าง ๆ
ที่เป็นอุปสรรคลง
การแลกเปลี่ยนประสบการณ์และการกระจายข้อมูลข่าวสารจากประชากรใน
พื้นที่หนึ่งไปสู่ประชากรในพื้นที่อื่น ๆ ของโลก
โลกาภิวัตน์ที่พยายามทําให้เกิดรูปแบบต่าง ๆ ที่มีความทันสมัยมากยิ่งขึ้น
(หรือเป็นแบบตะวันตก) โดยเป็นการแพร่กระจายรูปแบบของตะวันตกในด้าน
ต่าง ๆ
การเชื่อมโยงจากข้อมูลข่าวสาร กิจกรรม การอพยพ เคลื่อนย้าย และ
ปฏิสัมพันธ์ในด้านต่าง ๆ ของมนุษย์ ผ่านทางอินเทอร์เน็ตหรือชุมชนออนไลน์
Thomas Friedman (2007) ได้อธิบายว่า โลกาภิวัตน์ คือ การที่โลกแบน
ราบเป็นระนาบเดียวกันซึ่งเกิดจากพลัง 10 ประการ

พลังที่หนึ่ง คือ การพังทลายของกําแพงเบอร์ลินและการ


กําเนิดขึ้นของหน้าต่างเพราะการพังทลายลงของ
มา

กําแพงเบอร์ลิน ทําให้เกิดการสิ้นสุดลงของยุค
สงครามเย็น (ค.ศ. 1991) ส่งผลให้เกิดโลกเสรี
คนสามารถติดต่อสื่อสารกันได้โดยอิสระเสรี 9

พลังที่สอง คือ ยุคแห่งการเชื่อมต่อ โดยผ่านเว็บบราวเซอร์ (Web Browser) ครั้ง


แรกในปี ค.ศ. 1991 ที่เริ่มต้นพลิกผันชีวิตคนทั้งโลกด้วยการกําเนิดของ
Nescap Nevigator ด้วยการทําให้คนทั้งโลกสามารถเชื่อมต่อข้อมูลและ
ติดต่อสื่อสารกันได้
พลังที่สาม คือ ซอฟต์แวร์ที่ทําให้งานลื่นไหล ซอฟต์แวร์เป็นตัวสร้างระบบเพื่อรอง
รับการทํางานในหน้าทีต ่ ่าง ๆ ให้คล่องตัวยิ่งขึ้น เช่น ซอฟต์แวร์ในระบบ
บัญชีการเงิน

พลังที่สี่ คือ พลังของชุมชนออนไลน์ การเกิดขึ้นของบริษัทดอทคอม การมีบล็อก


ส่วนตัว การเกิดขึ้นของยูทูบ facebook.com ทําให้โลกของเรามีชุมชนถือ
กําเนิดขึ้นมาใหม่ คือ ชุมชนออนไลน์ และชุมชนออนไลน์ คือ ผู้กุม
อํานาจของโลกออนไลน์อย่างแท้จริง

พลังที่ห้า คือ การส่งต่อการผลิต (Outsourcing) จากการเกิดขึ้นของเคเบิ้ลใยแก้ว


และระบบโครงข่ายอินเทอร์เน็ตและการสื่อสารที่มีโครงข่ายอยู่ทั่วโลก
n
ทําให้มีการส่งต่อการผลิตจากประเทศที่พัฒนาแล้วไปยังประเทศที่กําลัง
พัฒนาและมีค่าแรงตํ่ากว่า โดยเฉพาะงานที่สามารถทําผ่านระบบ
อินเทอร์เน็ตได้
4
พลังที่หก คือ การย้ายฐานการผลิตไปต่างแดน (Offshoring) การผลิตชิ้นส่วนและ
U g

อุปกรณ์ต่าง ๆ มีการย้ายฐานการผลิตจากประเทศค่าแรงสูงไปยัง
u

ประเทศค่าแรงตํ่ากว่า เช่น เม็กซิโก จีน และอินเดีย เป็นต้น


n

พลังที่เจ็ด คือ ห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) การใช้ระบบเทคโนโลยีที่ทันสมัย เช่น


"
4

ระบบบาร์โค้ด มาพัฒนาการจัดส่งและผลิตสินค้า เพื่อลดระยะเวลาการ


"

ทํางาน หาความสมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทานและประสานงานกัน
ตั้งแต่ ต้นนํ้า กลางนํ้า และปลายนํ้า
u

พลังที่แปด คือ อินซอร์ส (Insourcing) โดยฟรีดแมนได้ยกตัวอย่าง เช่น เมื่อลูกค้า


"

ซื้อคอมพิวเตอร์แบบพกพาของโตชิบา และเมื่อมีปัญหาต้องการส่ง
ซ่อม ลูกค้าก็จะต้องส่งไปซ่อมที่ศูนย์ซ่อมของโตชิบา ถ้าลูกค้าอยู่ใน
เมืองที่ไม่มีศูนย์ซ่อม ก็ต้องส่งผ่านบริษัทขนส่ง ฯ
u

พลังที่เก้า คือ อินฟอร์ม (In-forming) คือปรากฏการณ์ของกูเกิ้ล (Google) ที่ทุก


"
9

คนในโลกนี้สามารถรับรู้ข้อมูลข่าวสารได้ด้วยปลายนิ้วสัมผัส ผ่านระบบ
ะ " "

คอมพิวเตอร์เนตเวิร์ค ซึ่งทําให้เกิดความสามารถในการเรียนรู้และ
สืบค้นข้อมูลให้แก่ผู้คนอย่างที่ไม่เคยมีปรากฏมาก่อนในประวัติศาสตร์
ของโลก ซึ่งทําให้ข้อมูลทุกข้อมูล หรือข่าวสารใด ๆ ในโลก ผู้คนสามารถ
รับรู้ได้ผ่านกูเกิ้ลได้ในชั่ววินาที

พลังที่สิบ คือ สารกระตุ้นพลัง (Steroids) สารกระตุ้นพลังที่ทําให้โลกแบนราบลง


ของฟรีดแมน คือ ระบบการติดต่อสื่อสารด้วยดิจิตอล โทรศัพท์มือถือ
รวมไปถึงการติดต่อสื่อสารต่าง ๆ เช่น การประชุมทางไกลผ่านดาวเทียม
(Voice Over Internet Protocol: VoIP) ซึ่งเป็นสิ่งกระตุ้นให้นําไปสู่ยุค
ข้อมูลข่าวสารโดยเสรีหรือโลกาภิวัตน์อย่างในปัจจุบัน
โลกาภิวัตน์

หมายถึง การแพรกระจายเชื่อมโยงถึงกันทั่วโลกของขอมูลขาวสาร ประชาคมโลก


ไมวาจะอยูสวนใด สามารถรับรูและรับผลกระทบจากสิ่งที่เกิดขึ้นไดอยางรวดเร็ว
u

อันสืบเนื่องมาจากการพัฒนาระบบสารสนเทศ การสื่อสารคมนาคมที่รวดเร็ว 4

าว กร ใ โลก
แพ กระจาย

ของ
การ
ทำ
ข่
ที่
ห้
ร่
คุณสมบัติพลเมืองในยุคโลกาภิวัตน์

"
1. การเปนสมาชิกสังคมที่ใชสิทธิเสรีภาพโดยมีความรับผิดชอบตอสังคม
2. การเคารพสิทธิผูอื่น
3. การเคารพความแตกตาง
4. การเคารพกฎหมาย
5. การเคารพศักดิ์ศรีความเปนมนุษย "
“พื้นฐานความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย” มี 3 ประการ

1. เคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์

ทุกคนเกิดมามีคุณค่าเท่ากันไม่อาจล่วงละเมิดได้ การมีอิสรภาพและความเสมอภาค
การยอมรับในเกียรติของแต่ละคน โดยไม่คํานึงถึงสถานภาพทางสังคมยอมรับ
ความแตกต่างของทุกคน
2. เคารพสิทธิ เสรีภาพ และกฏกติกาของสังคมที่เป็นธรรม

โดยให้ความสําคัญต่อสิทธิเสรีภาพ การมีกฏกติกาที่วางอยู่บนความยุติธรรมและ
ชอบธรรม มีหลักในการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพไม่ให้ถูกละเมิด
3. รับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อื่นและสังคม
โดยคํานึงถึงบทบาท หน้าที่ของความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตยโดยมุ่งเน้น
ไปที่คุณลักษณะสําคัญในหน้าที่และความรับผิดชอบของตนเองต่อสังคมและการ
ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ใช้สติปัญญาในการแก้ไขปัญหาด้วยเหตุผล
พลเมืองที่มีคุณภาพต้องเน้นที่
“การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์”

1. เน้นการเรียนรู้ให้สอดรับกับนวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลง

2. เคารพกฎหมาย/คํานึงถึงสิทธิมนุษยชน

3. เสียสละเพื่อส่วนรวมและสังคม

4. มีหลักธรรมาภิบาล

5. ดํารงชีวิตบนฐานคุณธรรม-จริยธรรม
“พลเมือง 4.0” ที่ต้องมีและเรียนรู้

1. การเรียนรู้เพื่อสร้างเสริมแรงดลใจ ให้มีชีวิตอยู่อย่างมีความหมาย

2. การเรียนรู้เพื่อบ่มเพาะความคิดสร้างสรรค์ ความสามารถในการรังสรรค์สิ่งใหม่ ๆ
3. การเรียนรู้เพื่อปลูกฝังจิตสาธารณะ ยึดประโยชน์ส่วนรวมเป็นที่ตั้ง
4. การเรียนรู้เพื่อมุ่งสร้างการทํางานให้เกิดผลสัมฤทธิ์
การเปลี่ยนแปลงไปสู่พลเมืองไทย 4.0

1. เปลี่ยนจากคนไทยที่มีความรู้ความสามารถจํากัด เป็นคนไทยที่มีความรู้ความ
สามารถที่หลากหลาย
2. เปลี่ยนจากคนไทยที่เน้นประโยชน์ส่วนตน เป็นคนไทยที่รับผิดชอบต่อสังคม
3. เปลี่ยนจาก Thai-Thai เป็น Global-Thai เป็นคนไทยที่มีศักดิ์ศรีในเวทีสากล
4. เปลี่ยนจาก Analog Thai เป็น Digital Thai เพื่อสอดรับการเข้าสู่ Digital Age

You might also like