You are on page 1of 11

 ทฤษฎีวรรณกรรม คือ แนวความคิด ความเข้าใจ

หรือหลักการพืน้ ฐานชุดหนึ่ง ทีใ่ ช้ในการพิจารณา


วรรณกรรมโดยทัวๆ ่ ไป ได้แก่ความเข้าใจว่าวรรณกรรม
คืออะไร มีคณ ุ สมบัตอิ ย่างไร ควรศึกษาในลักษณะใด
ทฤษฎีจงึ เป็ นเสมือนกรอบกำหนดการศึกษาตัวงาน
วรรณกรรมเป็ นชิน้ ๆ ทีเ่ รียกกันว่า วรรณกรรมวิจารณ์
 การพินิจวรรณคดี คือการอธิบายและวิจารณ์หนังสือเบือ้ ง
ต้น เพื่อให้ทราบว่าหนังสือเล่มนัน้ มีเนื้ อเรื่องเป็ นอย่างไร มี
ประโยชน์ อย่างไร มีคณ ุ ค่าอย่างไร มีข้อคิดเห็นอย่างไร ชอบหรือไม่
ด้วยเหตุผลใด การที่จะพินิจวรรณคดีได้ ผูพ้ ิ นิจวรรณคดีจะต้องอ่าน
หนังสือโดยตลอด เพื่อเข้าใจจุดมุ่งหมายของวรรณคดี มีหลักในการ
วิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีพอสมควร จึงจะวินิจฉัยสาระหรือตีความ
วรรณคดีได้ การพินิจวรรณคดีจึงเป็ นการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
เบือ้ งต้น การพินิจวรรณคดีทำให้ผอู้ ่านเห็นหนังสือชัดเจนขึน้ และ
อยากจะอ่านหนังสือนัน้ ทัง้ ฉบับ
 การวิจกั ษณ์วรรณคดี เป็ นการเข้าถึงวรรณคดีอย่างถ่องแท้ใน
ทุกด้านทุกมุม หาคุณค่าและรู้จกั ความดีงามของวรรณคดีเพื่อให้เกิด
ความซาบซึ้งเป็ นการพิจารณาแง่งามของวรรณคดี ว่าตอนใดมีความ
ไพเราะ มีคติลึกซึ้งกินใจ มีความหมายคมคายแฝงอยู่ ทำความเข้าใจ
เรื่องนัน้ มีองค์ประกอบอะไรบ้าง และค้นหาทัศนะของกวีว่าต้องการ
แสดงอะไร วรรณคดีเรื่องนัน้ มีองค์ประกอบอะไรบ้าง ฉะนัน้ วรรณคดี
วิจกั ษณ์จึงเป็ นการทำความเข้าใจผลงานของกวี ค้นหาข้อดีและข้อ
บกพร่อง การวิจกั ษณ์จึงเป็ นส่วนหนึ่ งของการวิจารณ์ เพราะผูอ้ ่านจะ
ต้องวิเคราะห์แยกแยะส่วนต่างๆ ของวรรณคดี เพื่อจะได้ทำความ
เข้าใจวรรณคดีนัน้ ได้อย่างถี่ถ้วน
 วรรณกรรมวิพากษ์ การวิพากษ์จดั เป็ นเรื่องของ
แต่ละบุคคลหรือที่เรียกว่าเป็ น อัตวิสยั การวิพากษ์ต้อง
อาศัยข้อเท็จจริงและเหตุผลในการตัดสินคุณค่าของ
วรรณคดีว่าดีหรือไม่ ชอบหรือไม่ชอบ การวิพากษ์มกั จะมา
คู่กบั การวิจารณ์เสมอ
 วรรณกรรมวิจารณ์ คือ การพิจารณางานชิ้นนัน้ ๆ อย่าง
ละเอียด พิจารณาองค์ประกอบ การอธิบายความ การตีความ และ
แสดงความคิดเห็น บอกข้อดีข้อเสียเกี่ยวกับวรรณกรรมนัน้ ๆ ได้
อย่างมีเหตุผล วรรณกรรมวิจารณ์เป็ นการวิเคราะห์วิจารณ์อย่างมี
ระเบียบแบบแผน การวิจารณ์วรรณคดีมีได้หลายแนวทาง เช่น
วิจารณ์วรรณคดีในแนวจิตวิทยา แนวสังคม แนวปรัชญา เป็ นต้น
๑. วิเคราะห์ คือ แยกแยะส่วนต่างๆ ออกดูให้ถถ่ี ว้ นทีส่ ดุ ทีจ่ ะ
ทำได้ โดยแยกแยะไปตามรูปแบบของงานัน้ ๆ เช่น บทละครรำ
สำหรับใช้ในการแสดงละครนอก อาทิ พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่
๒ เรือ่ งสังข์ทอง ก็จะดูวา่ เนื้อเรือ่ งเป็ นอย่างไร ลักษณะนิสยั ของ
ตัวละครแต่ละตัวเป็ นอย่างไร วิธบี รรยายเรือ่ งอาศัยแบบฉบับใด
กลอนดีหรือไม่ ทีเ่ ราว่าดีเพราะเหตุใด
๒. การอธิบายความ หมายถึงการอธิบายให้ความกระจ่างในสิง่
ทีไ่ ด้วเิ คราะห์ เป็ นการบรรยายข้อเท็จจริงทีส่ ามารถตรวจสอบได้
จากตัวบทวรรณกรรมนัน้ ๆ เช่น การอธิบายถึงคุณลักษณะต่างๆ
โดยอาศัยหลักเกณฑ์ของการวิจารณ์
๓. วินิจฉัยสาร หรือ วินิจสาร คือการตีความ (Interpretation) การ
ตีความเป็ นสิง่ ทีสำ
่ คัญทีส่ ดุ สำหรับการอ่านหนังสือ เราจำเป็ นต้องเข้าใจ
สาร ของผูส้ ร้างวรรณคดี ต้องศึกษาขนบประเพณีหรือแบบแผนทาง
วรรณคดีของแต่ละชุมชน ทัง้ ยังต้องทำความเข้าใจบริบทของสังคมใน
แต่ละสังคมและแต่ละยุคสมัย เช่น ทำความเข้าใจวัฒนธรรม ประเพณี
ความเชือ่ การเมือง ภาษาทีน่ ิยมใช้ของคนในสังคมในยุคสมัยเดียวกับที่
สร้างวรรณกรรม นอกจากนี้ยงั ต้องมีความรูอ้ ่นื ๆประกอบด้วย เช่น ความรู้
ทางภูมศิ าสตร์ ประวัตศิ าสตร์ เป็ นต้น เมือ่ มีความรูเ้ รือ่ งเหล่านี้แล้ว ก็นำ
ความรูน้ นั ้ มาประมวลแล้วจึงพยายาม วินิจสารหรือตีความว่าผูเ้ ขียนจงใจ
ส่งสารอะไรมายังผูอ้ ่าน หรือวรรณคดีเรือ่ งนัน้ บอกอะไรแก่ผอู้ ่าน
๔. การประเมินค่า เป็ นขัน้ ตอนสำคัญของการวิจารณ์
เป็ นการลงความเห็นว่ามีขอ้ เด่นด้อยอย่างไร พร้อมให้เหตุผล
ประกอบ การประเมินค่าวรรณกรรมต้องมีความเป็ นกลาง
ปราศจากอคติ

You might also like