You are on page 1of 13

< Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec >

การเขียนแสดงความคิดเห็น
< Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec >

การเขียนแสดงความคิดเห็น
การเขียนแสดงความคิดเห็น หมายถึง การเขียนที่ประกอบด้วย
ข้อมูลอันเป็นข้อเท็จจริงกับการแสดงความคิดเห็นต่อเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
ความคิดเห็นควรจะมีเหตุผลและเป็นไปในทางสร้างสรรค์การเขียนแสดง
ความคิ ด เห็นมั กปรากฏในรู ปของบทความตามสื่ อ สิ่ งพิ ม พ์ ต่าง ๆ เช่ น
หนังสือพิมพ์ วารสาร นิตยสาร เป็นต้น
< Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec >

ประเภทของการแสดงความคิดเห็น
๑. การแสดงความคิ ด เห็ น เชิ ง วิ ช าการ เป็ น การแสดง
ความคิดเห็นเกี่ยวกับศาสตร์ต่าง ๆ เช่น
วิชาการแพทย์และอนามัย วิชาสังคมศาสตร์ เป็นต้น
๒. การแสดงความคิดเห็นโดยทั่ว ๆ ไป เช่น การวิจารณ์
เหตุการณ์ทางการเมือง การแสดงของวัยรุ่น การเล่นกีฬา รวมทั้ง
การเขียนบทความวิจารณ์ต่าง ๆ
< Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec >

หลักการเขียน
แสดงความคิดเห็น
< Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec >

หลักการเขียนแสดงความคิดเห็น
๑. การเลือกเรื่อง ผู้เขียนควรเลือกเรื่องที่เป็นที่สนใจของสังคม
หรือเป็นเรื่องที่ทันสมัย อาจเกี่ยวกับเหตุการณ์ทางการเมือง เศรษฐกิจ
สังคม ศาสนา ศิลปะ วิทยาศาสตร์ หรือข่าวเหตุการณ์ประจาวัน ทั้งนี้
ผู้เขียนต้องมีความรู้และเข้าใจเรื่องที่ตนจะแสดงความคิดเห็นเป็นอย่างดี
เพื่อที่จะแสดงความคิดเห็นอย่าง
ลึกซึ้ง
๒. การให้ข้อเท็จจริง ข้อมูลที่เลือกมานั้นจะต้องมีรายละเอียด
ต่าง ๆ เช่น ที่มาของเรื่อง ความสาคัญ และเหตุการณ์เป็นต้น
< Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec >

หลักการเขียนแสดงความคิดเห็น
๓. การแสดงความคิ ด เห็ น ผู้ เขี ย นอาจแสดงความคิด เห็ น ต่ อเรื่ องได้
๔ ลักษณะดังนี้คือ
๓.๑ การแสดงความคิด เห็น เพื่อตั้ง ข้อสังเกต เช่น การเติบโต
ของธุรกิจอินเทอร์เน็ต ความนิยมรับประทานอาหารเสริมสุขภาพ
๓.๒ การแสดงความคิดเห็นเพือ่ สนับสนุนข้อเท็จจริง เช่นหัวข้อ
เรื่อง การจัดระเบียบรถยนต์โดยสารของท่านนายกรัฐมนตรี พลเอก
ประยุทธ์ จันทร์โอชา
< Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec >

หลักการเขียนแสดงความคิดเห็น
๓. การแสดงความคิ ด เห็ น ผู้ เขี ย นอาจแสดงความคิด เห็ น ต่ อเรื่ องได้
๔ ลักษณะดังนี้คือ
๓.๓ การแสดงความคิดเห็นเพื่อโต้แย้งข้อเท็จจริง เช่น หัวข้อ
เรื่อง การกินยาลดความอ้วน
ของวัยรุ่น การเปิดเสรีการค้าน้าเมาของภูมิปัญญาชาวบ้าน
๓.๔ การแสดงความคิด เห็น เพื่อ ประเมิน ค่า เช่น หัวข้อเรื่อง
การวิจารณ์เรื่องสั้ น ที่ได้ รับ รางวัล วรรณกรรมสร้ างสรรค์ยอดเยี่ ยม
แห่งอาเซียนหรือรางวัลซีไรต์
< Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec >

หลักการเขียนแสดงความคิดเห็น
๔. การเรียบเรียง
๔.๑ การตั้ ง ชื่ อ ควรตั้ ง ชื่ อ เรื่ อ งให้ เ ร้ า ความสนใจผู้ อ่ าน และ
สอดคล้องกับเนื้อหาที่จะเขียน เพราะชื่อเรื่องเป็นส่วนที่ผู้อ่านจะต้อง
อ่านเป็นอันดับแรกและเป็นการบอกขอบเขตของเรื่องด้วย
๔.๒ การเปิดเรื่อง ใช้หลักการเขียนเช่นเดียวกันกับคานา และ
ควรเปิดเรื่องให้น่าสนใจ ชวนให้ผู้อ่านติดตามเรื่องต่อไป
< Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec >

หลักการเขียนแสดงความคิดเห็น
๔. การเรียบเรียง
๔.๓ การลาดับ ควรลาดับเรื่องให้มีความต่อเนื่องสอดคล้องกัน
ตั้ง แต่ต้น จนจบไม่ วกไปวนมา เพราะผู้ อ่านอาจเกิด ความสั บ สนจนไม่
สามารถแยกแยะได้ว่าส่วนใดเป็นข้อเท็จจริงและส่วนใดเป็นการแสดง
ความคิดเห็น
๔.๔ การปิด เรื่ อง ใช้ หลั กการเช่น เดียวกับ การเขียนสรุ ปและ
ควรปิดเรื่องให้ผู้อ่านประทับใจ
< Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec >

หลักการเขียนแสดงความคิดเห็น
๕. การใช้ภาษาควรใช้ภาษาอย่างสละสลวย ชัดเจน ไม่เยิ่นเย้อ
มีการใช้สานวนโวหารอย่างเหมาะสมกับเรื่องนอกจากนี้ยังต้องใช้ถ้อยคา
ที่สื่อความหมายได้ตรงตามอารมณ์และความรู้สึกของผู้เขียน ทั้งนี้พึง
หลีกเลี่ยงการใช้ถ้อยคาที่แสดงอารมณ์ รุนแรง ซึ่งอาจก่อให้เกิดความ
ขัดแย้งอย่างรุนแรงภายหลัง
< Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec >

การเขียนแสดงความคิดเห็น
๑. ต้ อ งทราบจุ ด ประสงค์ ว่าจะเขี ยนแสดงความคิด เห็ น เรื่ อ ง
อะไร ประเด็นไหน
๒. ทาความเข้าใจ ค้นคว้าหาประสบการณ์ ด้วยความเป็นไปได้
หรือความเป็ น จริ ง ในเรื่ อง เพื่อ แสดงความคิ ด เห็ น ได้ ดี มี ก ารติ ด ตาม
เรื่องราวอย่างต่อเนื่องให้มีข้อมูลเพียงพอก่อนการเขียนอ้างอิงประกอบ
ความคิดเห็น
๓. ควรพิ จ ารณาข้ อ ดี แ ละข้ อ บกพร่ อ ง น ามาเขี ย นอย่ า งมี
เหตุผลว่าดี หรือไม่ดีอย่างไร เพราะอะไร
< Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec >

การเขียนแสดงความคิดเห็น
๔. การปรับ ปรุง แก้ไข ควรเขียนเสนอความคิดเห็นว่าถ้าแก้ไข
แล้วจะได้รับผลดีอย่างไรบ้างเป็นการวิจารณ์เพื่อสร้างสรรค์
๕. ควรทาใจให้เป็นกลางไม่มีอคติในการวิจารณ์ เขียนให้ข้อคิด
พิจารณาด้วยความเป็นธรรม และมีหลักฐานอ้างอิง ไม่ใช้อารมณ์
๖. การเสนอเป็นข้อเขียนนั้น ทั้งข้อมูลและหลักฐานอ้างอิงควร
บอกที่ ม า และเวลาให้ ชั ด เจน เพราะเมื่ อ สถานการณ์ เ ปลี่ ย นไป
เหตุการณ์อาจเปลี่ยนไปด้วย จะไม่เป็นปัจจุบัน
< Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec >

You might also like