You are on page 1of 4

นางสาววาสนา สตะจิตร รหัสนักศึกษา 63121880011 สาขาการประถม

ศึกษา

แบบฝึ กหัด
บทที่ 10
1. การเขียนโครงร่างการวิจัยมีความจำเป็ นหรือไม่ เพราะเหตุใด
ตอบ การเขียนโครงร่างการวิจัยเป็ นการเขียนเพื่อแสดงจุดมุ่งหมาย
และรายละเอียดของกิจกรรมที่นักวิจัยจะ ดำเนินการวิจัยโดยเขียนเพื่อ
ตอบคำถามสำคัญ 3 คำถามคือทำวิจัยอะไรทำไมจึงต้องทำวิจัยวิจัย
อย่างไรซึ่งการ เขียนเพื่อตอบคำถามเหล่า นีก
้ ็จะประกอบไปด้วยหัวข้อ
ต่างๆที่เป็ นองค์ประกอบสำคัญของโครงร่างการวิจัย ได้แก่ ความเป็ นมา
และปั ญหาการวิจัยวัตถุประสงค์การวิจัยประโยชน์และความสำคัญ
ขอบเขตการวิจัยนิยาม ศัพท์เฉพาะเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องวิธีา
เนินการวิจัยส่วน การเขียนรายงานวิจัยเป็ นการเขียนเพื่อตอบ คำถาม
เพิ่มเติมอีกสองคำถามคือทำวิจัยและได้ผลเป็ นอย่างไรและทำไมผลวิจัย
จึงเป็ นเช่นนัน
้ เป็ นการเขียน ผลการวิจัยและพัฒนาและการสรุปอภิปราย
ผลการวิจัยและพัฒนา

2. รายงานวิจัยประกอบด้วยเนื้อหา หัวข้ออะไรบ้าง
1. ชื่อเรื่อง
2. บทที่ 1 บทนำ
ความเป็ นมาและปั ญหาการวิจัย
นิยามศัพท์เฉพาะ
วัตถุประสงค์
ประโยชน์และความสำคัญ
ขอบเขตการวิจัย
3. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
แนวคิดที่เกี่ยวข้อง
กรอบแนวคิดในการวิจัย
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
4. บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย
ขัน
้ ตอนที่ 1 สังเคราะห์ สำรวจสภาพปั จจุบัน ปั ญหาและความ
ต้องการ
ขัน
้ ตอนที่ 2 ออกแบบ สร้าง และประเมินนวัตกรรม
ขัน
้ ตอนที่ 3 ทดลองใช้นวัตกรรม
ขัน
้ ตอนที่ 4 ประเมินผลและปรับปรุงนวัตกรรม
5. ส่วนท้าย ประกอบด้วย บรรณานุกรม และภาคผนวก

3. การสรุปผลและการอภิปรายผลมีความแตกต่างกันอย่างไร และมีวิธี
การเขียนอย่างไร
ตอบ การสรุป เป็ นการเขียนส่วนสรุปย่อในหัวข้อเกี่ยวกับ 1)
วัตถุประสงค์การวิจัย 2) วิธีการดำเนินการวิจัย และ 3) ผลการวิจัย ซึ่งก็
คือ การสรุปบางส่วนจากส่วนต่างๆ ที่เขียนนำเสนอ ผ่านมาแล้ว การ
เขียนส่วนสรุป เน้นที่ ใจความสำคัญคือประเด็นหลักๆ ของ 3 ส่วนที่กล่าว
โดยเฉพาะ ส่วนที่เป็ นผลวิจัยนัน
้ จะสรุปเฉพาะผล วิจัยตามขัน
้ ตอนทัง้ สี่
ชัน
้ ในลักษณะเน้นความเรียงโดยไม่นำค่าสถิติหรือตารางแสดงผลการ
วิเคราะห์ข้อมูลใดๆมาใส่ไว้ นิยามศัพท์เฉพาะ วัตถุประสงค์ ประโยชน์
และความสําคัญ ขอบเขตการวิจัย
การอภิปรายผลการวิจัย เป็ นการนำข้อค้นพบที่สำคัญๆ จากผลการ
ดำเนินงานวิจัย ในขัน
้ ตอนต่างๆ มาทำการ วิจารณ์ วิพากษ์ให้เหตุผล
และหลักฐานสนับสนุนการวิจารณ์วิพากษ์นน
ั ้ ว่า เพราะเหตุใดผลการค้น
พบจึงเป็ น เช่นนัน
้ และผงดังกล่าวได้รับการสนับสนับสนุนจากแนวคิด
ทฤษฎี ตลอดจนผลงานวิจัยเต็ม หรือคำกล่าวของ บุคคลใดๆ หรือไม่ การ
เขียนอภิปรายที่ดีนน
ั ้ ต้องกล่าวอ้างถึง ผลวิจัยก่อนแล้ว วิจารณ์ วิพากษ์
และหา หลักฐานเหตุผลสนับสนุนการวิจารณ์วิพากษ์ ตามลำดับ

4. การเขียนข้อเสนอแนะมีหลักการเขียนอย่างไร
ตอบ ข้อเสนอแนะ การเขียนข้อเสนอแนะควรเขียนเป็ นสองส่วน คือ ส่วน
แรกเป็ น 3. บทที่ 2 เอกสารและงาน วิจัยที่เกี่ยวข้อง แนวคิดที่เกี่ยวข้อง
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ข้อเสนอแนะสำหรับการนำนวัตกรรมไปใช้ และส่วน
ที่ สองเป็ นข้อเสนอแนะที่เกี่ยวกับการดำเนินงานวิจัยและพัฒนาในครัง้
ต่อไปเช่นเดียวกับการอภิปรายผลวิจัย การเขียนข้อเสนอแนะที่ดีเขียนถึง
ข้อ ค้นพบเสียก่อนแล้วจึงค่อยเสนอแนะว่า จากข้อค้นพบดังกล่าวนีจ
้ ะทำ
อย่างไรได้บ้าง กรอบแนวคิดในการวิจัย นอกจากส่วนที่เพิ่มเติมในการ
เขียนรายงานวิจัยและพัฒนาแล้วส่วน อื่นๆ ที่ต้องปรับปรุงการ เขียนเพิ่ม
เติมก็คือ ส่วนที่เป็ นภาคผนวก ซึ่งอาจจะต้องเพิ่มเติมเกี่ยวกับข้อมูลดิบ
และ ผลการคำนวณ วิเคราะห์ข้อมูลนัน
้ เช่น การวิเคราะห์และผลการ
วิเคราะห์ค่าคุณภาพเครื่องมือนวัตกรรมและ ทำสถิติ ทดสอบต่างๆ
เป็ นต้น

5. การเผยแพร่งานวิจัยมีประโยชน์หรือคุณค่าอย่างไรบ้าง
ตอบ เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่ทำให้เกิดประโยชน์ได้จริง
โดยครูต้อง สร้างนวัตกรรมที่เป็ นสื่อ สิ่งประดิษฐ์ กิจกรรม หรือวิธีการ
จัดการเรียนการสอนแบบต่างๆ มา ดำเนินการจัดการเรียนรู้โดยใช้
กระบวนการวิจัยจนบังเกิดผลตามเจตนารมณ์ของหลักสูตร เพื่อพัฒนาครู
ผู้สอนให้มค
ี ุณภาพด้านการสอน
สูงขึน
้ เท่ากับช่วยยกระดับมาตรฐานวิชาชีพครูให้เป็ นที่ศรัทธาของ
นักเรียน ผู้ปกครอง และประชาชน ตลอดจนสามารถใช้เป็ น ผลงานทาง
วิชาการเพื่อขอตำแหน่งให้สูงขึน
้ เพื่อเป็ นการพัฒนาตัวผู้เรียนและสื่อการ
เรียนการสอนทำให้เกิดการเรียนรู้ใหม่ๆ เพื่อที่จะสามารถนำไปแก้ไข
ปั ญหาของเด็กในโรงเรียน

6. การเผยแพร่งานวิจัยสามารถดำเนินการได้ในลักษณะใดบ้าง
ตอบ 1.จำเป็ นต้องศึกษาผลการวิจัยเรื่องนัน
้ ให้ดี อ่านให้เข้าใจความ อ่าน
แล้วตีความ อ่านแล้วขยายความทัง้ ระดับตามตัวอักษร ระดับตีความเชิง
กายภาพ และระดับขยายความคิด เพื่อจะได้มีข้อมูลที่ถูกต้องชัดเจน โดย
เฉพาะข้อค้นพบจากการวิจัย

2. ในส่วนของผู้สอนควรนำวิธีและนวัตกรรมที่ใช้หรือค้นพบจากการวิจัย
ไปใช้ใน การเรียนการสอน อย่างสม่ำเสมอ และแลกเปลี่ยนงานวิจัยของ
ตนเองกับผู้อ่ น
ื เช่น การนำเสนอ ผลงานวิจัยในการ ประชุมวิชาการ การ
เข้าร่วมสัมมนา เป็ นต้น
3. ในด้านผู้บริหาร ควรกระตุ้นให้ครพัฒนาการเรียนการสอนด้วยการใช้
กระบวนการวิจัย เป็ นผู้นำในการทำวิจัย ส่งเสริมให้ครูค้นคว้าหาความรู้
ใหม่ๆ สนับสนุนและจัดให้มี การประชุมปฏิบัติการทางการวิจัยในชัน

เรียนอย่างต่อเนื่อง

You might also like