You are on page 1of 13

นายพรชัย ประเสริฐกมลเทพ

รหัสนักศึกษา 5314850106 เลขที่ 106


สรุปสาระสำาคัญจากหนังสือ
ญาณวิทยา
ผูเ้ ขียน บุญมี แท่นแกูว

บท
ที่ 4

เอดมุนด์ ฮุสเซิร์ล

บุญมี แท่นแก้ว เขียนบทที่ 4 ต่างจากการเขียนบทอื่นๆ ใน


หนั งสือเล่มนี้ ค่อนข้างมาก แม้จะมีโครงสร้าง และเป้ าหมายใน
การเขียนเช่นเดียวกับบทอื่นๆ คือการแนะนำาและนำาเสนอพื้ น
ฐานทฤษฏีความร้้ต่างๆ อย่างย่นย่อ แต่เนื้ อหาในบทนี้ กลับ
บรรยายอย่างสลับซับซ้อนต่างจากบทอื่นๆ เนื้ อหาในบาง
ย่อหน้าแทบกล่าวได้ว่าเหมือนการ ‘แปลตรงตัว’ จากภาษา
ตะวันตก เนื่ องจากมีไวยากรณ์ท่ีไม่สมบ้รณ์และแตกต่างไปจาก
ภาษาไทย นอกจากนี้ ยังมีถ้อยคำาและสาระรวบยอดที่ลึกซึ้งเกิน
กว่าที่ผเ้ ริม
่ ศึกษาจะเข้าใจได้

อย่างไรก็ตามผ้้เขียนได้เริม
่ ต้นด้วยการบรรยายถึงเอ
ดมุนด์ ฮุสเซิร์ลว่า เป็ นบุคคลสำาคัญในวิชาปรัชญาลัทธิ
ปรากฏการณ์วิทยา (Phenomenology) ฮุสเซิร์ลศึกษาและ
สงสัยในอัตถิภาวะในแง่ประสบการณ์แล้วค้นพบว่าจิตมี
โครงสร้างอย่้ภายใต้อาณาจักรแห่งความ-จริง ความร้้ท่ีเป็ นจริง
จึงต้องอาศัยโครงสร้างเหล่านี้ อธิบายอย่างง่ายคือ จิตไม่อาจ
สร้างความร้้ได้หากปราศจากความเกี่ยวข้องกับโลกภายนอก
ซึ่งในประเด็นนี้ ก็ขัดกับหลักของลัทธิจิตนิ ยมนั ่นเอง เมื่อฮุส
เซิร์ลจับหลักได้ดังนี้ แล้ว เขาก็สร้างทฤษฎีความจริงของเขาเอง
ขึ้นมา

ฮุสเซิร์ลนำาทฤษฎีของเขาไปเปรียบเทียบกับศาสตร์สาขา
ต่างๆ แล้วจึงเริม
่ วิพากษ์วิจารณ์ท้ ังตรรกะคณิ ตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ เหตุผลนิ ยม โดยสรุปว่าตรรกะของศาสตร์เหล่านี้
ยังผิดเพี้ยน รวมถึงการวิจารณ์เดส์คาร์ตส์ว่ายอมจำานนต่อลัทธิ
จิตนิ ยมว่าเป็ นข้อม้ลแห่งประสบการณ์น้ ั น ก็เพื่อจะหาทาง
ลดละข้อวินิจฉัยเกี่ยวกับเรื่องโลกภายนอกเท่านั้ นเอง และการ
ยอมจำานนต่อพวกจิตนิ ยมนั้ นเป็ นความบกพร่องประการหนึ่ ง

2
ฮุสเซิร์ลพยายามยึดหลักของลัทธิอัตถิภาวนิ ยม แม้จะถ้ก
ต่อต้านอย่้เนื องๆ โดยเฉพาะเดส์คาร์ตมักโจมตีในประเด็น
ต่างๆ แต่ฮุสเซิร์ลก็แก้ได้อย่้เสมอ จึงยิ่งมัน
่ ใจในทรรศนะว่า
มนุ ษย์เป็ นผ้้คิด และสิ่งต่างๆ เกิดขึ้นหรือมีอย่้ได้ก็เพราะสิ่ง
เหล่านั้ นเกิดขึ้นในสำานึ กของมนุ ษย์นั่นเอง

จากทรรศนะนี้ ทำาให้เกิดประเด็นสงสัยต่อไปอีกว่า เป็ นได้


หรือไม่ท่จ
ี ะแยก ‘ตัวตน’ของมนุ ษย์ออกจาก ‘สิ่งที่แวดล้อมตัว
ตน’ ของมนุ ษย์ ถ้าเช่นนั้ นแล้วก็จะสงสัยต่อว่า แล้วตัวตนมี
ความสัมพันธ์กับโลกภายนอกอย่างไร ความคิดทำานองนี้
แน่นอนว่าวางอย่้บนแนวคิดของลัทธิอัตถิภาวนิ ยม แล้วก็แพร่
กระจายไปยังสานุ ศิษย์ต่างๆ เช่น มาร์ติน ไฮเดกเกอร์ ผลงาน
ชิ้นสำาคัญเรื่อง ‘ความสนใจ’ และเรื่อง ‘ความเห็นแก่ตัวโดย
ธรรมชาติ’ กลายเป็ นจุดศ้นย์กลางทางปรัชญาของไฮเดกเกอร์
ในเวลาต่อมา

ในที่สุด ฮุสเซิร์ลก็ก่อตั้งสำานั กคิดชื่อว่า ปรากฏการณ์วิทยา


(Phenomenology) สำานั กนี้ มีทรรศนะว่า จิตหรือสภาวะที่เป็ น
นามธรรมอันเรียกว่าสำานึ กนั้ นมีความเป็ นจริงมากที่สุด และมี
ความสำาคัญยิ่งกว่าวัตถุหรือสสาร

ปรากฏการณ์วิทยา(Phenomenology) มีนิยามว่าเป็ น ‘วิธี


การทางปรัชญาที่บรรยายปรากฏการณ์เพื่อสร้างความร้้โดยตรง
จากการมีประสบการณ์น้ ันๆ’

3
เดิมทีก่อนยุคของปรากฏการณ์วิทยาของฮุสเซิร์ล ก็มีลัทธิ
ปรากฏการณ์นิยมอย่้แล้ว แต่ฮุสเซิร์ลเห็นว่าหลักการของ
ปรากฏการณ์วิทยาของตนนั้ น แตกต่างและจริงมากกว่าจึงตั้ง
ลัทธิใหม่โดยมีช่ ือว่า ‘ลัทธิปรากฏการณ์นิยมใหม่’ (New-
Phenomenalism) ภายใต้ความเชื่อที่ว่า ‘ปรากฏการณ์เท่านั้นที่
เราจะรับร้้ได้ ส่วนสิ่งที่เราเรียนร้้ว่าเป็ นจริงซึ่งปรากฏการณ์อย่้น้ ัน
ไม่มอ
ี ย่้จริงเลย หรือแม้จะมีอย่้ก็ไม่อาจรับร้้ได้

ผ้เ้ ขียนได้ยกคำากล่าวของฮุสเซิร์ลเกี่ยวกับปรากฏการณ์
วิทยาไว้ดังนี้

‘ปรากฏการณ์วิทยาเป็ นวิชาที่ใคร่ครวญ วิเคราะห์ วิจารณ์


ค้นหาปรากฏการณ์จนได้ข้อสรุปเป็ นหลักสำาคัญ ดังที่อิมมาน้
เอล คานท์ กล่าวว่า ปรากฏการณ์หมายถึง ประสบการณ์บาง
อย่าง แต่ถ้าไม่มีการชี้แนะ หรือแนะนำาแล้ว ปรากฏการณ์ก็
เป็ นเพียงการปรากฏของความจริงระดับต้นๆ เท่านั้ น เพราะ
ปรากฏการณ์เป็ นสภาวะที่ปราศจากร้ปร่าง เป็ นเพียงนามธรรม
ไม่ใช่รป
้ ธรรม ไม่ใช่สสาร’

ความต่างของปรากฏการณ์วิทยากับปรากฏการณ์นิยม
(เก่า) นั้ นอย่้ท่ีว่า ปรากฏการณ์นิยมไม่ยอมรับว่ามี ‘สิ่งที่มีอย่้
จริง’ เป็ นต้นเหตุให้เกิดปรากฏการณ์ พ้ดง่ายๆ คือเชื่อว่ามีแต่
ปรากฏการณ์เท่านั้ นที่เราจะรับร้้ได้ นอกจากนั้ นทุกอย่างเป็ น
เพียงมายา คือไม่มีอย่้จริง มันมีอย่้จริงก็เพราะเราไปยอมรับ

4
แต่ถ้าคิดให้รอบคอบแล้วก็จะเห็นว่าไม่มีอย่้แล้ว หายไปแล้ว
ไม่คงที่

ดังนั้ นจึงสรุปว่าความร้้ไม่อาจเผยตัวเองออกมาได้ เรา


สัมผัสไม่ได้ รับร้้โดยตรงไม่ได้ เพราะความร้้ไม่ใช่วัตถุตาม
ธรรมชาติ แต่เราจะร้ไ้ ด้ด้วยวิธีทางอ้อมคือ การอนุ มาน การเล่า
เรียน การอาศัยประสบการณ์ การคิด การฟั ง การฝึ ก การ
ทดลอง นั ่นคือเราต้องมีส่ ือกลาง ไม่ใช่จะเกิดความร้้ข้ ึนโดยตรง
จากผัสสะอย่างที่ลัทธิประจักษ์นิยมกล่าวอ้าง

แต่ปรากฏการณ์วิทยากลับมีมุมมองที่แตกต่างออกไป
โดยเชื่อว่า ที่ถ้กต้องคือ เราเป็ นฝ่ ายนำาความร้้ไปส่้ส่ิงที่ปรากฏ
ซึ่งเป็ นความจริงที่เรายังเข้าไปไม่ถึงหรือเรายังไม่ร้หรือร้้ไม่ได้
โดยสิ่งที่ปรากฏดังกล่าวนั้ นไม่จำาเป็ นต้องมีอย่้จริง เช่น ซานตา
ครอส ไม่ได้มีอย่้จริงแต่ก็เป็ นสิ่งที่ปรากฏได้และสร้างการรับร้้
ได้เป็ นต้น

ดังนั้ นความหมายก็คือ เราเกิดความร้้จากในตนได้ด้วย


การร้้ได้เอง จากนั้ นก็ค่อยๆ เอาตัวตนของเราที่ร้เพิ่มแล้ว ไป
รับร้้เพิ่มอีกทีละนิ ดทีละน้อยหรือมากๆ ก็แล้วแต่ ผลคือจะ
ทำาให้เราสะสมความร้้ข้ ึนเหมือนล้กหิมะที่กลิ้งจากยอดเขาลง
มายังเนิ นเขา ล้กบอลหิมะจะค่อยๆ ใหญ่ข้ ึนนั ่นเอง ทั้งนี้ เรา
จะต้องศึกษานิ ยามที่ฮุสเซิร์ลให้ไว้เพื่อเข้าใจว่ากระบวนการ
ความร้้ท่ีกล่าวมานี้ ไม่ใช่หลักของลัทธิประจักษ์นิยมอย่างไรบ้าง

5
ฮุสเซิร์ลให้นิยามของวิชาปรากฏการณ์วิทยาว่าเป็ นวิธี
พรรณนากระบวนการทางอัต-วิสัยหรือจิตวิสัย คืออาศัยตัวเรา
เป็ นเกณฑ์ เพราะต้องอาศัยความนึ กคิดของตนเองเป็ นหลัก
โดยมี ความเชื่ อว่ าสรรพสิ่ งทั้ งหลายในโลก เราจะร้้ ได้ ต้ อง
อาศั ยการรับร้้ หรือการพิ นิ จ ของผ้้ รับร้้เองเป็ นสำาคัญ จะอาศัย
สิ่งอื่น ผ้้อ่ ืนภายนอกตัวเราไม่ได้

เมื่ออธิบายถึงจุดนี้ ฮุสเซิร์ลก็จึงโจมตีจต
ิ วิทยาเพราะพ้ด
ไปพ้ดมาจะโดนจิตวิทยารวบเอาปรากฏการณ์วิทยาเข้าไปเป็ น
สาขาย่อย โดยฮุสเซิร์ลอ้างหลักคิดว่าวิชาทั้งสองต่างกันตรงที่

‘จิตวิทยาจะศึกษา ค้นคว้าเพื่ออธิบายสาเหตุแห่ง
ปรากฏการณ์เบื้ องต้นและเกี่ยวกับการเกิด(คือหาเหตุก่อน แล้ว
ใช้วิธีศึกษาสำานึ กของคนโดยการสุ่มตัวอย่างเชิงประจักษ์แล้ว
ศึกษาจากตัวอย่างนั้ น แล้วก็สรุปเป็ นความร้้เกี่ยวกับสำานึ ก)
แต่ปรากฏการณ์วิทยาเป็ นการศึกษา วิเคราะห์ ใคร่ครวญ
วิจารณ์และพรรณนาสภาวะตามที่มันเป็ นอย่้ปกติ คือจะ
วิเคราะห์ พรรณาปรากฏการณ์ทางอัตวิสัยหรือจิตวิสัยโดยอาศัย
หลักฐานทางปรัชญาหรือญาณวิทยาโดยอิสระ จนเรียกได้ว่า
ปรากฏการณ์วิทยาเป็ น “ปฐมศาสตร์แห่งศาสตร์ท้ ังปวง” เลยที
เดียว’

จากปรัชญาของฮุสเซิร์ลนี้ เอง จึงมีการสืบทอดจนก่อให้


เกิดลัทธิใหม่คือ ลัทธิปฏิฐานนิ ยมทางตรรกะ (Logical

6
Positivism) ของคาร์นัพ(Carnap) และ เอ เจ แอร์(A.J. Ayer)
และเหล่าสาวกของเขาก็พัฒนาต่อจนกลายเป็ น ‘ลัทธิประจักษ
นิ ยมทางตรรกะ’ (Logical Empiricism) ในเวลาต่อมา

ฮุสเซิร์ลเป็ นต้นคิดทฤษฏีสำาคัญของลัทธิประจักษนิ ยม
ทางตรรกะ ที่เรียกว่า The Eidetic Theory of Knowledge
หมายความว่าความร้้เกิดในตัวบุคคล ไม่ต้องอาศัยโลกแห่ง
ความเป็ นจริงภายนอก ดังนั้ นลัทธิน้ ี จึงปฏิเสธอภิปรัชญาและ
ภววิทยาอย่างสิ้นเชิง

ด้วยเหตุน้ ี ฮุสเซิร์ลจึงกล่าวว่า มีปัจจัยอย่้ 3 ประการ


เพื่อให้เข้าถึงความจริงในปรากฏการณ์คือ

1. ผ้้ศึกษาจะต้องปฏิบต
ั ิจริง (ทำาด้วยตนเอง) เพื่อให้เกิด
ความร้้ ความเข้าใจด้วยตนเอง
(น่าสนใจว่า แล้วถ้าเกิดเราอยากร้้ว่าขาขาดมันเป็ นอย่างไร ฮุสเซิร์ล
จะแนะนำาเราอย่างไร)

2. ผ้้ศึกษาต้องอาศัยวัตถุหรือสิ่งของที่จะต้องศึกษาค้นคว้า
เพื่อให้เกิดความร้้อย่างแท้จริง

3. ผ้้ศึกษาต้องมีความพอใจ สนใจหรือตั้งใจอย่างจริงจัง ใน
การอยากร้้เรื่องนั้ น (เป็ นแฟนพันธ์ุแท้)

7
ในการศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ วิจัย ใคร่ครวญ ดังกล่าวนี้
เพื่อให้เข้าใจในปรากฏการณ์ได้สำาเร็จ จำาเป็ นอย่างยิ่งจะต้อง
อาศัยเครื่องมือหลัก 4 ประการคือ

1. วิชาสังคมศาสตร์

2. วิชาคณิ ตศาสตร์

3. วิชาศิลปะ

4. วิชาศาสนา

ด้วยเหตุท่ห
ี ลักคิดของปรากฏการณ์วิทยาเริม
่ จากการใช้ตัว
ตนภายในเป็ นจุดเริม
่ ของกระบวนการความร้้ ฮุสเซิร์ลจึงเน้น
ให้มนุ ษย์เปิ ดกว้าง ให้ยึดเสรีภาพในวิธีศึกษาให้มากที่สุด ก็
หมายความว่าเปิ ดรับศาสตร์อ่ ืนอย่างเต็มที่ในฐานะเป็ นเครื่อง
มือหรือวิธีทำา แต่ตรรกะหรือวิธีคิดต้องยึดตัวตนของเราเป็ นจุด
กำาเนิ ด

เมื่อฐานของการปฏิบัติเป็ นเช่นนี้ เวลาปรากฏการณ์นิยม


ศึกษาอะไร ผลลัพธ์จึงมักใกล้เคียงคาบเกี่ยวเอากับวิธีคิดของ
ศาสตร์อ่ ืนทั้งหลาย เช่น คณิ ตศาสตร์ ปฏิฐานนิ ยม ประจักษ์
นิ ยม จิตวิทยา ศาสนปรัชญา และอื่นๆ อย่้เสมอ จึงมักถ้ก
โจมตีจากศาสตร์ต่างๆ ว่าความร้้ท่ีเกิดเหล่านั้ น แท้จริงแล้วเกิด
จากวิธีคิดและวิธีปฏิบัติของผ้้อ่ ืน ฮุสเซิร์ลจึงเน้นว่าการ
ไตร่ตรองอย่างรอบคอบเป็ นสิ่งจำาเป็ นยิ่ง ส่วนหนึ่ งก็อาจเป็ น

8
เพราะถ้าไตร่ตรองไม่ดี ผลลัพธ์ก็อาจไหลไปเป็ นของศาสตร์อ่ ืน
เอาดื้ อๆ ก็เป็ นได้

ปรัชญาของฮุสเซิร์ลเอง ก็อาศัยหลักคำาสอนของเพลโต
บ้าง ของไลบ์นิซบ้าง จึงพยายามอย่างยิ่งที่จะสร้างตรรกะ
์ องตัวเองโดยใช้ทิศทางความร้้ของวิทยาศาสตร์ ทัศนะ
บริสุทธิข
ของเขาจึงเป็ นจิตนิ ยมพอๆ กับที่เป็ นวิทยาศาสตร์ ลัทธิ
จิตนิ ยมทางวัตถุของฮุสเซิร์ลจึงถ้กนำาไปใช้ใน ภววิทยา
วิเคราะห์ (Critical Ontology) ของนิ โคไล ฮาร์ตแมน (Nicolai
Hartman) รวมถึงใช้ในสำานั กสัจนิ ยมใหม่ (Neo-realism) ใน
อังกฤษและอเมริกาด้วย

ฮุสเซิร์ลพยายามที่จะปลดเปลื้ องปรัชญาของตนให้เป็ น
อิสระจากอาการถ้กปนเปื้ อนด้วยจิตวิทยา โดยพยายามใช้วิธี
อัตนั ย (Subjective Method) คือการตัดสินอะไร ชี้ขาดอะไร
ทำาอะไร ขึ้นอย่้กับตัวเราเอง วิธีน้ ี จะไม่มีการตั้งสมมติฐาน(ซึ่ง
จิตวิทยาต้องตั้ง) ในที่สุดก็พัฒนาปรัชญาโดยการกำาหนด ‘แก่น
์ ุตรภาพ”(Essentially of the
แท้ของวิญญาณบริสุทธิอ
Transcendentally Purified Consciousness) ขึ้นมา ส่งผลให้
วิธีการทางปรากฏการณ์วิทยาได้รบ
ั ความเชื่อถืออย่างกว้างขวาง
ในฐานะปรัชญา เพราะแทนที่จะคล้ายคลึง กลับกลายเป็ นตรง
ข้ามกับลัทธิประสบการณ์นิยม และเข้ากันได้ดีกับวิทยาศาสตร์

9
ธรรมชาติไม่แพ้การที่คณิ ตศาสตร์เข้ากันได้ดีกับวิทยาศาสตร์ทุก
แขนงเช่นกัน

ผ้เ้ ขียนใช้คำาว่า ‘วิญญาณบริสุทธิ’์ อาจทำาให้เข้าใจยาก


เพราะลึกเกินไป และด้เป็ นเทว-นิ ยมมากเกินไป แต่ผ้สรุปเชื่อ
ว่า หากแปลว่า ‘สำานึ กอันบริสุทธิเ์ หนื อโลกียะทัศน์’ ก็น่าจะ
ตรงความหมายและเข้าใจง่ายขึ้น ดังนั้ นจะขอใช้คำาว่าสำานึ ก
แทนคำาว่าวิญญาณตั้งแต่จด
ุ นี้ ไป และผ้้เขียนก็มิได้อธิบายว่า
‘สำานึ กบริสุทธิเ์ หนื อโลกียะทัศน์’ นั้ นเป็ นอย่างไร และเหตุใด
หลักคิดนี้ จึงแจ้งเกิดให้กับปรากฏการณ์วิทยาในฐานะปรัชญา
อันยิ่งใหญ่ได้ จึงจะขออธิบายเพิ่มเติมดังนี้

ลัทธิปรากฏการณ์นิยม(เก่า) เชื่อมัน
่ ในโลกสำานึ ก แต่มีข้อ
จำากัดในการอธิบายโลกียะ อันเป็ นโลกวัตถุ ทั้งๆ ที่ความร้้ก็
เกิดจากหลักประสบการณ์นิยมเช่นกันกับโลกทางสำานึ ก ใน
ขณะที่ลัทธิประสบการณ์นิยมก็เชื่อมัน
่ ในการใช้ผัสสะเป็ นหลัก
จนไม่อาจอธิบายโลกในสำานึ กได้เช่นกัน

ดังนั้ นแนวคิดเรื่องอุตรภาวะ(ภาวะเหนื อโลก)ในโลกที่


ปรากฏอย่้กับตาจึงถือว่าสำาคัญมาก เพราะสามารถยืนยันการมี
อย่้ของสิ่งที่ซ่อนเร้นจากผัสสะได้ ในขณะเดียวกันก็อธิบายโลก
สำานึ กว่าเชื่อมโยงกับโลกที่เราเห็นกับตาได้อย่างไร

วิธีการทางปรากฏการณ์วิทยา (Phenomenological Method)

10
เจตคติของปรากฏการณ์วิทยาคือ ‘ความมุ่งมัน
่ ของสำานึ ก
(Intentionality of Consciousness) หรือเรียกอีกอย่างว่า การ
พุ่งไปของเจตสำานึ ก อันเป็ นวิธีการบรรยายปรากฏการณ์ตาม
ความร้้โดยตรงอันได้จากปรากฏการณ์น้ ั น ซึ่งจำาเป็ นต้องอาศัย
วัตถุหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ งที่เรามุ่งหมายเอาเป็ นหลัก’ ดังนั้ นวัตถุ
จะปราศจากผ้้คิดคำานึ งไม่ได้ วิธีการทางปรากฏการณ์วิทยาจึง
มีกฏเกณฑ์ดังต่อไปนี้

1. การลดปรากฏการณ์วิทยาลง (Phenomenological
Reduction) กล่าวคือ อย่าพึ่งตัดสินใจใดๆ เกี่ยวกับความ
จริงหรือความมีอย่้ของวัตถุ และพยายามอย่ายึดติดใน
์ ะอาด เช่น ประสบการณ์ของแต่ละ
เรื่องความบริสุทธิส
บุคคลที่เขายึดมัน
่ กันเป็ นปกติ

2. การลดอุตรภาพลง (Transcendental Reduction) ลดภาวะ


ที่เหนื อโลกียวิสัยลง หมายถึงให้พิจารณาใคร่ครวญสิ่งที่
ก่อความร้้อย่างถี่ถ้วนรอบคอบ โดยอย่าพึ่งคำานึ งว่าจะจริง
หรือมีเหตุผลรองรับหรือไม่ แต่ต้องคำานึ งว่า ‘สำานึ ก
์ ริงหรือไม่’ หลักคิดอย่างนี้ นี่ เองที่
เหนื อโลกียะนี้ บริสุทธิจ
กลายเป็ นพื้ นฐานปรัชญาในลัทธิอัตถิภาวนิ ยมอย่างกว้าง
ขวางในเวลาต่อมา

มาถึงจุดนี้ ก็สำาคัญเช่นกัน จึงจะขอเปลี่ยนคำาอธิบายเกี่ยว


กับส่วนนี้ ของผ้้เขียนซึ่งผ้้สรุปเห็นว่าเข้าใจยากเกินไป ดังนี้ คือ

11
วิธีวิทยา ‘การลดทอน’ ของฮุสเซิร์ลนี้ มีผ้ให้ความหมาย
ว่าเป็ น ‘การใส่วงเล็บ’ ให้กับโลกภายนอกตัวผ้้ศึกษา เพื่อจะได้
จำากัดขอบเขตไว้ เพื่อเปิ ดโอกาสให้ศึกษาเฉพาะประสบการณ์
์ องสำานึ ก การใส่วงเล็บหรือการลดทอนนี้ ไม่ใช่การลด
บริสุทธิข
ทอนโลกภายนอกเพื่อสำารวจแต่โลกสำานึ ก แต่เป็ นการเปลี่ยน
ทัศนคติในการมองโลกจากเดิมที่มองไปที่วัตถุ กลายเป็ นมอง
ไปที่สำานึ กแทนนั ่นเอง
ผ้เ้ ขียนสรุปเกี่ยวกับปรากฏการณ์วิทยาไว้ว่า แม้วา่ นั ก
ปรากฏการณ์วิทยาไม่ค่อยสนใจศึกษาทางภววิทยาหรือ
อภิปรัชญาเลย จนกลายเป็ นการละเลยความจริงที่เขาเผชิญอย่้
ในชีวิตประจำาวันก็ตาม แต่ปรัชญาและวิธีวิทยาของ
ปรากฏการณ์วิทยาก็เป็ นประโยชน์อย่างมหาศาลต่อมนุ ษย์ คือ
การสร้างพลังคิดต่อนั กปรัชญาสายอัตถิภวนิ ยมแบบ อเทวะ
เช่น มาร์ติน ไฮเดกเกอร์ และอีกหลายคน จนก่อเกิดสุดยอด
แนวคิดที่มีพลังอันมหึมาที่ว่า ในสมองของเรามีโครงสร้างที่เรา
ไม่ร้วา่ จะทำาอย่างไรจึงจะแก้ปัญหาต่างๆ ได้ เราจึงต้องหาหลัก
ยึดไปก่อน หลักที่ว่านั้ นก็คือ การส่งเสริมเสรีภาพส่วนบุคคล
มนุ ษย์เกิดมาเพื่อเสรีภาพ แต่ละคนมีเสรีภาพ เพราะฉะนั้ น
อะไรที่ส่งเสริมเสรีภาพส่วนบุคคล ก็จงถือว่าสิ่งนั้ นใช้ได้และมี
คุณค่าควรแก่การ-ยึดถือ หลักการนี้ แพร่หลายจากเยอรมันไป
ส่้อังกฤษและอเมริกา ในที่สุดโลกก็ได้รจ
้ ักลัทธิเสรีนิยมใน

12
ฐานะหลักการเมืองการปกครอง มิใช่เป็ นเพียงหลักปรัชญาอีก
ต่อไป
_________________________________________________

13

You might also like