You are on page 1of 114

001222 ภาษา สังคม และวัฒนธรรม

(Language, Society and Culture)

ผูส้ อน
ความหลากหลายของภาษา ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ประภาษ เพ็งพุ่ม
ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์
การปรับใช้ภาษาและภาวะหลายภาษา ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2566
ภาษา (Language)

ภาษาเป็ นสมบัตขิ องมนุษยชาติ มนุษย์ใช้ภาษาเพือ่ เป็ นเครือ่ งมือในการติดต่อสือ่ สาร


ระหว่างกัน ภาษาช่วยให้มนุษย์สามารถถ่ายทอดสิง่ ทีอ่ ยู่ในใจออกมาให้บคุ คลอื่นได้รบั รู้ ไม่ว่า
จะเป็ นข้อมูลความรู้ ความคิดเห็น หรือความรูส้ กึ ซึ่งเป็ นสิง่ ที่ซบั ซ้อน และต้องมีการเรียนรู้
และเลียนแบบตัง้ แต่วยั เยาว์
เป็ นสมบัติของมนุษยชาติ

เป็ นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร ภาษา เรียนรู้ เลียนแบบ

ความรู้

ความคิดเห็น ระบบสัญลักษณ์
ความเป็ นสมมติ
อารมณ์ ความรูส้ กึ
สิง่ มีชวี ิตประเภทอื่นบนโลก ล้วนสื่อสารด้วยสัญชาตญาณ
แม้มนุ ษย์จะเรียกการสื่อสารของสัตว์หลายชนิดว่าเป็ น “ภาษาสัตว์”
เช่น ภาษาผึง้ ภาษาลิง หรือภาษาแมวก็ตาม แต่สตั ว์เหล่านี้ ไม่สามารถ
เปล่งเสียงพูดซึ่งเป็ นเสียงในภาษา และสัตว์เหล่านี้ไม่สามารถเรียนรู้
ภาษาอื่นใดทีต่ ่างไปจากเผ่าพันธุ์
ดังนัน้ เมื่อกล่าวถึงภาษาและการศึกษาภาษา เราจึงไม่ได้
หมายรวมถึงการศึกษาภาษาของสัตว์ แต่จากัดเฉพาะภาษาของมนุ ษย์
เท่านัน้
ภาษาเป็ นสมบัติสาคัญของมนุ ษยชาติ ดังจะพบว่านับแต่
อดีต ชนชาติใดมีการพัฒนาสังคมของตนไปสู่ความเจริญ ชนชาติ นนั ้
ย่อมต้องปรากฏหลักฐานสาคัญทีแ่ สดงถึงความรุ่งเรืองให้แก่คนรุ่น
หลังได้เรียนรู้ และหลักฐานชนิดหนึ่งทีม่ กั ค้นพบก็คือ ภาษา
ภาษาจึงเป็ นหลักฐานทางวัฒนธรรมทีส่ าคัญอย่างหนึ่ งที่
นักวิชาการให้ความสาคัญเมื่อต้องการศึกษาถึงกลุ่มชาติ พนั ธุต์ ่าง ๆ

**ชาวสุเมเรียนเป็ นชนชนาติแรกในเมโสโปเตเมียที่
รูจ้ กั การเขียนหนังสือตัง้ แต่ 3000 ปี ก่อนคริสตกาล
โดยการประดิษฐ์อกั ษรรูปลิม่ หรือทีเ่ รียกว่า คูนิ
ฟอร์ม (Cuneiform) ภายหลังได้ดดั แปลงแก้ไข มีการ
คิดเครือ่ งหมายต่างๆ เพือ่ ใช้แทนภาพ
หลักศิลาจารึกหลักที่ 1 หรือศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหงมหาราช
ซึง่ พบที่เนินปราสาทเมืองโบราณสุโขทัย ต.เมืองเก่า อ.เมือง
ฯ จ.สุโขทัย บนศิลาปรากฏอักษรไทยสุโขทัย ภาษาไทย พ.ศ.1835
6
ภาษาในโลกนี้ ........โลกนี้ มีกี่ภาษา...?
➢ โลกนี้มกี ี่ภาษา นอกจากภาษาไทยทีเ่ ป็ นภาษาแม่แล้ว เคยอยากรูไ้ หมว่าคนบนโลกนี้ใช้
กี่ภาษาในการสื่อสารกัน

➢ ปัจจุบนั เราจาเป็ นต้องเรียนรูใ้ ห้ได้อย่างน้อย 2 ภาษา และสาหรับบางคนก็สามารถ


สื่อสารได้มากกว่า 3 ภาษาด้วยซ้า แต่นอกจากภาษาแม่และภาษาต่างชาติทจี่ าเป็ นต้อง
เรียนรูแ้ ล้ว โลกกลม ๆ ใบนี้ยงั มีภาษาทีผ่ คู้ นใช้ส่อื สารกันอยู่กี่ภาษาล่ะ ?
ประชากรโลกมีประมาณ 7.2 พันล้านคนและ
ปัจจุบนั มีใช้สื่อสารกันอย่างน้ อ ย 7,102 ภาษา

จาก https://education.kapook.com/view121517.html
ในปัจจุบนั โลกแบ่งตระกูล
ภาษา ตามรูปนี้ครับ มีปัจจัย
ที่มีผลทาให้ตระกูลภาษาคน
คนขาว กระจายไปทั ่วโลก
เป็ นเพราะ ยุคล่าอาณานิคม
หรือเพราะปัจจัยอื่นใด
จากจานวนภาษาทังหมด
้ มีภาษาแม่ทเี่ ป็ นภาษาประจาชนชาติอยู่ 23 ภาษา

ภาษาแม่ทงั ้ 23 ถูกใช้และสื่อสารโดยเจ้าของภาษาราว 4.1 พันล้านคนทั ่วโลก

❖ ภาษาแม่ (อังกฤษ: mother tongue, native language)


หรือ ภาษาทีห่ นึ่ง (first language, L1) คือ ภาษาทีบ่ ุ คคล
ใช้เป็ นภาษาหลักในการสื่อสาร ของตัวเองกับบุคคลใน
พืน้ ทีห่ รือประเทศเดียวกัน และเป็ นภาษาทีพ่ ดู ได้แต่กาเนิด
จัดเป็ นภาษาธรรมชาติ
วันภาษาแม่สากล หรือวันภาษาแม่นานาชาติ ตรงกับวันที่ 21 กุมภาพันธ์ของทุก
ปี โดยเกิดจากเจตนารมณ์ขององค์กรการศึกษาและวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือ
ยูเนสโก ที่ตอ้ งการจะสนับสนุนการอนุรกั ษ์และปกป้ องภาษาทุกภาษาของคน บน
โลก

เหตุเพราะเกิดเหตุการณ์เรียกร้องสิทธิและเสรีภาพในการใช้ภาษาบังคลา หรื อภาษา


เบงกาลี ซึ่งเป็ นภาษาแม่ของนักศึกษาชาวบังกลาเทศในประเทศปากีสถาน ณ วันที่
21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495 ซึ่งเหตุการณ์ดงั กล่าวก่อให้เกิดการบาดเจ็บและสูญเสีย
เพื่อให้มนุษยชาติตระหนักถึงพลังและความสาคัญของภาษาแม่ รวมถึงสิทธิทางภาษา
ของทุกกลุม่ ชาติพนั ธุ์บนโลกใบนี้ ยูเนสโกจึงได้กาหนดให้วนั ที่ 21 กุมภาพันธ์ของทุก
ปี เป็ นวันภาษาแม่สากล โดยเริ่มตังแต่
้ พ.ศ. 2543 เป็ นต้นมา

ศาสตราจารย์เกียรติคณุ ดร.สุวิไล เปรมศรีรตั น์ ประธานที่ปรึกษาศูนย์ศกึ ษาและฟื้ นฟู


ภาษา-วัฒนธรรมในภาวะวิกฤต ระบุว่า หากไม่มีแนวทางในการอนุรกั ษ์ฟื้นฟูภาษา
อย่างเป็ นรูปธรรมภายในศตวรรษที่ 21 ภาษาบนโลกนี้จะตายไปกว่า 90% ส่วนที่
เหลือประมาณ 10% ที่ไม่ตาย เพราะเป็ นภาษาประจาชาติ ภาษาที่มีการใช้ในโรงเรียน
ภาษาในการปกครอง ภาษาในสื่อมวลชน ภาษาแม่ หรือภาษาของชาติพนั ธุ์ ถือเป็ น
ทรัพยากรของประเทศ
ภาษาจีน คือ ภาษาที่คนใช้เป็ น
ภาษาแม่มากที่สดุ โดยมี
ประชากรกว่า 1,197 ล้านคนที่
สื่อสารกันด้วยภาษานี้ และ
ภาษาจีนยังถูกใช้กนั อย่าง
แพร่หลายใน 31 ประเทศทั ่วโลก
นับเป็ นภาษาที่ถกู ใช้มากเป็ น
อันดับ 4 ของโลก รองจากภาษา
อังกฤษ อาราบิก และฝรั ่งเศส
เป็ นภาษาแม่ที่มีคนใช้มากที่ สุด
เนื่ องด้วยจานวนประชากรใน
ประเทศที่มีมากที่สดุ ในโลก
นั ่นเอง
ภาษาที่ถ่ถูกกู ใช้ใช้เเป็ป็นภาษาแม่
ภาษาที นภาษาแม่มมากที
ากที่ส่สุดดุ รองจากจี ภาษาสเปน
รองจากจีนนคืคืออภาษาสเปน
(Spanish) โดยมี
(Spanish) คนใช้
โดยมี เป็ นภาษาแม่
คนใช้ เป็ นภาษาแม่ เกือเกืบอ400 ล้านคนทั
บ 400 ่วโลก
ล้ านคนทั่ วโลก

ภาษาสเปน (Spanish)
ภาษาสเปน (Spanish) เป็ นเป็ภาษาที
นภาษาที ่มีคนพู
ม่ คี นพู ดมากเป็
ดมากเป็ นอันอัดันบดัทีบ่ 4ที่ 4
และจั
และจัดดเป็เป็นน11ในใน66ภาษาทางการขององค์
ภาษาทางการขององค์กการสหประชาชาติ
ารสหประชาชาติภาษาสเปน
ภาษาสเปน
เป็เป็นนภาษาราชการของประเทศสเปน
ภาษาราชการของประเทศสเปนและเกื อบทุ
และเกื กประเทศในภู
อบทุ มิภมาคลาติ
กประเทศในภู ภิ าค น
อเมริ
ลาตินกาอเมริ
รวมทักางประเทศในทวี
้ รวมทังประเทศในทวี
้ ปแอฟริกปาด้ วย กภาษาสเปนมี
แอฟริ คนใช้ ทวั่ คโลก
าด้วย ภาษาสเปนมี นใช้ท ั ่ว
ประมาณ
โลกประมาณ 550 550
ล้ านคน
ล้านคน

Hola (โอ้ล่า) - สวัสดี Gracias (กร้าเซียส) - ขอบคุณ Adiós (อะดิโอ้ส) - ลาก่อน

Hasta luego (อ้าสต่ะ ลูเอ้โกะ) - แล้วเจอกันใหม่นะ Perdona (เปร์โด้น่ะ) – ขอโทษครับ หรือขออภัยครับ


ภาษาอังกฤษ เป็ นภาษาทีถ่ ูกใช้แพร่หลายมาก
ทีส่ ุดในโลก โดยประชากรจาก 110 ประเทศ มีคน
ใช้ ทั ่วโลกประมาณ 1.8 พันล้านคน แต่การ
นามาใช้ เป็ นภาษาแม่ยงั เป็ นรองภาษาจีนกลาง
ภาษาฮินดีและภาษาสเปน

ภาษาที่ประชากรโลกเรี
ระชากรโลกเรียยนรูนรู้ มม้ ากที
ากที่สส่ ดุ ุดคืคืออภาษาอั
ภาษาอังกฤษงกฤษโดยมี
โดย
คนเรี ยนภาษานี
มีคนเรียนภาษานี้ประมาณ
้ประมาณ1,500 1,500ล้ าล้นคนทัานคนทั ว่ โลก
่วโลกรองลงมาคื
รองลงมาอ
ภาษาฝรั ่งเศส่งเศส
คือ ภาษาฝรั มีคนเรี
มีคยนเรี
นทัยงหมด
้ นทังหมด
้ 82 ล้ า82นคนทั ว่ โลก ่วโลก
ล้านคนทั

ภาษาอังกฤษ ยังเป็ นภาษาทีถ่ ูกใช้มากทีส่ ุดใน


อินเทอร์เน็ต (26.8%) รองลงมาคือ ภาษาจีนกลาง
(24.2%)
ภาษาอาราบิก (Arabic) หรือภาษาอาหรับ ใช้แพร่หลายรองจาก
ภาษาอังกฤษ คือ ทังหมด
้ 60 ประเทศ มีผใู้ ช้ท ั ่วโลกเป็ นอันดับที่ 6
ภาษาอาราบิก เป็ นภาษาราชการของประเทศในกลุ่มอาหรับทุกประเทศ จัดเป็ นภาษาที่
เก่าแก่ทสี่ ุดในโลก และเป็ นภาษาทีใ่ ช้เขียนคัมภีร์อลั กุรอ่านอีกด้วย ภาษาอาหรับมีคนใช้
ทั ่วโลกประมาณ 260 ล้านคน
ปาปัวนิวกินี
มีภาษาพูดมากทีส่ ุดใน
โลก โดยมีภาษาพื้นเมือง
ประมาณ 839 ภาษา
รองลงมาคือ
ภาษาอินโดนีเซีย
(707 ภาษาท้องถิน่ )
United Kingdom République française

Reino de España
ภาษาอั
ภาษาอังงกฤษ กฤษภาษาฝรั
ภาษาฝรั่งเศส
่ และภาษาสเปน
งเศส และภาษาสเปน
เป็ นภาษาที
ภาษาที่ถ่ถกู กู เผยแพร่
เผยแพร่ไปยั
ไปยังประเทศอื
งประเทศอืน่ ่นๆ ๆ
มากที่ส่สดุ ดุ เพราะอาณาจั
มากที เพราะอาณาจักกรที่ยิ่งใหญ่ และการ
ละการยึด
ยึดเอาประเทศต่
เอาประเทศต่าางง ๆ เป็ นอาณานิคมในอดีต
Western Punjabi, is a group of north-western Indo-Aryan
Percentage of native speakers of UN languages,
and percentage of non-UN language speakers
ภาษาทางการ 6 ภาษา
ในองค์ การสหประชาติ
ภาษาอังกฤษ ภาษาสากลของโลก
โดย LEE KUAN YEW
...สาเหตุที่ภาษาอังกฤษเป็ นภาษาที
ภาษาที่ ใ่ ใช้ช้กกันันอย่
อย่าางแพร่
งแพร่หหลายทั
ลายทั่ ว่ โลก

➢ ในระยะแรก ช่ วงศตวรรษที่ 17 และ 18 เป็ น


การเผยแพร่ ผ่านระบบจักรวรรดินิยมในอาณา ➢ ในช่ วงต่ อมา ถูกเผยแพร่ เพราะอังกฤษเป็ น
นิคม (ล่ าเมืองขึน้ ) ผู้นาในการปฏิวัติอุตสาหกรรม (ความเจริญ ?)

➢ ในยุคต่ อมา เป็ นผลจากการเป็ นผู้นาด้ านเศรษฐกิจ และมหาอานาจด้ านการเมืองของสหรัฐอเมริ กา


จึงทาให้ ภาษาอังกฤษกลายมาเป็ นภาษาหลักหรือเป็ นภาษาที่ 2 ในหลายประเทศ
❖ สาหรับประเทศที่ใช้ ภาษาสากล ❖ ภาษาจีนกลาง ไม่สามารถสามารถทดแทนภาษาอังกฤษในการเป็นภาษากลางของ
อื่น ๆ เป็ นต้ นว่ า ฝรั่งเศสหรือ โลกได้ จริงอยู่ที่ภาษาจีนกลางเป็นภาษาที่มีคนใช้ กันมากที่สุดในโลก แต่ส่วนใหญ่ก็
สเปนนัน้ กลับต้ องพบกับความ เป็ นคนที่อยู่ในประเทศจีน ในทางประวัตศิ าสตร์ ประเทศจีนไม่ใช่ประเทศนักล่าอาณา
นิคม จึงไม่มีประเทศอดีตอาณานิคมที่พูดภาษาจีนแบบเดียวกับประเทศนักล่าอาณา
ซับซ้ อนและยุ่งยาก
นิคมทัง้ หลาย
ประเทศที่ใช้ ภาษาอังกฤษเป็ นภาษา 2 ที่ดีท่สี ุดในโลก

หน่ วยงาน The EF English Proficiency Index


ประเทศที่มีภาษาใช้ในชาติมากที่สุดในโลก 8 อันดับ* ดังนี้

ปาปัวนิวกินี มี 832 ภาษา

เม็กซิโก
อินโดนีเซีย มี 731 ภาษา แคเมอรูน
ออสเตรเลีย
มีประเทศละ 300 ภาษา
ไนจีเรีย มี 515 ภาษา

อินเดีย 400 ภาษา บราซิลมี 234 ภาษา


มีภาษาราชการใช้ถงึ 15 ภาษา
*ข้อมูลโดยประมาณ
ภาษาที่อยู่ในภาวะใกล้ตาย
สาเหตุหลักของการทาลายล้างภาษาให้สนิ้ ไปจากโลก คือ สงครามและการฆ่าล้างเผ่าพันธุม์ นุ ษย์ การยึด
ครอง และภัยธรรมชาติอย่างรุนแรง เพราะมนุ ษย์จะเสียชีวิตไปเพราะสาเหตุเหล่านี้เป็ นจานวนมหาศาล
พร้อม ๆ กับภาษาทีพ่ วกเขาใช้ด้วย
เวิลด์วอตช์ ระบุว่า
➢ ขณะนี้ มีคนพูด “ภาษาอูดิฮ”ี ได้แค่ 100 คน
➢ ส่วน “ภาษาอะริคาปู” มีคนพูดได้น้อยยิง่ กว่า เพียง 6 คนเท่านัน้
➢ แต่ทนี่ ่ าตกใจทีส่ ุดเห็นจะเป็ นภาษาอียคั ทีม่ คี นพูดได้เพียงคน
เดียวในโลก คือคุณยายมารี สมิธ วัย 83 ปี อาศัยอยู่ในเมืองอันโช
เรจ รัฐอลาสกา เธอคือคนสุดท้ายทีพ่ ดู ภาษานี้ได้ และอี กไม่ถึง 10
ปี ขา้ งหน้าภาษาอียคั ก็จะสูญสิน้ ไปพร้อมกับการจากไปอย่างไม่มี
วันกลับของคุณยายวัยผูน้ ี้ (ข้อมูลเมื่อ 6 กันยายน 2008 ปัจจุบนั
ภาษาอียคั น่ าจะตายไปแล้ว พร้อมกับการจากไปของคุณยาย)
➢ เหตุการณ์แผ่นดินไหวครังรุ ้ นแรงที่สดุ ที่
เกิดขึน้ ในอินเดียในเดือ นมกราคม ต้อนรับปี
ใหม่ของปี 2544 โดยได้เกิดเหตุแผ่นดินไหว
้ นแรงขึน้ ในภาคตะวันตกของอินเดีย ทา
ครังรุ
ให้มีประชาชนที่พดู “ภาษากุดจี” ตายเป็ น
จานวนถึง ประมาณ 30,000 คน เหลือผู้พดู
ภาษานี้จริง ๆ เพียง 770,000 คน เท่านัน้
นับว่าเป็ นเหตุการณ์วิปโยคที่นอกจากจะสร้าง
ความเสียหายในด้านเศรษฐกิจแล้ว คงไม่มี
ใครคิดว่าจะส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อ
มรดกวัฒนธรรมของประชาชนในพืน้ ที่ด้วย
การฟื้ นฟูภาษาที่อยู่ในภาวะใกล้ตาย
➢ การสูญสิน้ ไปของภาษาพูดไม่ใช่เป็ นเรื่องใหม่ทเี่ พิง่ จะเกิดขึน้ แต่เชื่อว่ามีภาษานับพันภาษาได้หาย
สาปสูญไปก่อนหน้านี้แล้ว
➢ นักภาษาศาสตร์เชื่อกันว่า ภาษาพูดของมนุ ษย์ 3,400 - 6,120 ภาษา อาจจะสูญหายภายในปี 2643
หรืออีกประมาณเกือบ100 ปี ขา้ งหน้า ซึ่งก็เท่ากับจะมีภาษาพูดสูญหายไป 1 ภาษาในทุก 2 สัปดาห์

➢ อย่างไรก็ตาม นับว่าเป็ นเรื่องทีด่ ี เพราะมีหลายภาษากาลังง่อนแง่นใกล้สญ


ู ไป แต่ยงั มี 2 - 3 ภาษา ซึ่งก็
รวมทังภาษาจี
้ น, กรีก และฮิบรู อันเป็ นภาษาโบราณทีใ่ ช้กนั มามากกว่า 2,000 ปี กาลังจะฟื้ นคืนชีพรอด
พ้นจากการสูญหายไป เนื่องจากมีผคู้ นหันกลับมาพูดภาษาเหล่านัน้ แล้วอย่างน่ ายินดี
➢ แม้ว่าภาษาบางภาษากาลังใกล้ถึง "จุดจบ" แต่ก็ใช่ว่า เจ้าของภาษาจะไม่ดิ้นรนขวนขวายเพื่อรักษาภาษาพูด
ของเขาไว้ช ั ่วลูกชั ่วหลานต่อไป ในปี 2526 ชาวฮาวายได้จดั ตัง้ องค์กร "อะฮา ปูนานา ลีโอ" ขึน้ เพื่อพลิกฟื้ น
กอบกู้ภาษาพืน้ เมืองของพวกเขาทีเ่ คยใช้กนั อยู่ท ั ่วไปบนเกาะฮาวาย โดยจัดให้มกี ารเรียนการสอนในโรงเรียน
ของรัฐด้วย ว่ากันตามความเป็ นจริงแล้ว ภาษาพืน้ เมืองของชาวฮาวายก็เกือบเอาตัวไม่รอดแล้วเช่ นกัน เมื่อ
รัฐบาลสหรัฐฯ สั ่งห้ามไม่ให้สอนภาษานี้แก่เด็กนักเรียนในโรงเรียนบนเกาะฮาวายมาตัง้ ปี 2441 แล้ว
➢ อโลฮ่า! ภาษาฮาวายมีประวัติศาสตร์ทางวัฒนธรรมที่ลกึ ซึ้ง แต่จ นกระทั ่ง
เมื่อไม่นานมานี้มเี พียงไม่กี่พนั คนทีส่ ามารถใช้ภาษาได้อย่างคล่องแคล่ว
และพูดได้เป็ นประจา อย่างไรก็ตามมีความสนใจในภาษานี้อีกครัง้ เนื่องจาก
ภาษานี้ถูกทาให้เป็ นภาษาราชการของรัฐฮาวาย (พร้อมกับภาษาอังกฤษ)
ในปี 1978 คาภาษาฮาวายหลายคาได้ทาให้ภาษานี้กลายเป็ นคาพูด
ประจาวันของชาวฮาวายพืน้ เมืองและ Pidgin Hawaiian เป็ น แหล่งทีม่ า
ของคาสแลงทีส่ าคัญบนเกาะ การเรียนรูภ้ าษาฮาวายเพียงเล็กน้อ ยเป็ นวิธที ี่
แน่ นอนในการสร้างความประทับใจให้กบั ชาวพืน้ เมืองในครังต่ ้ อไปของคุณ
Le'ale’a! (ขอให้สนุ ก!)
ข้ อมูลจาก https://intrend.trueid.net/article/5-
%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B
8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%AA%E0%B8%B8%
Whynottravel
E0%B8%94%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%81-trueidintrend_56420
อันดับที่ 5
ภาษารัสเซีย เซียมีตวั อักษรเป็ นของตัวเอง
เรียกว่า ตัวอักษรซิรลิ ลิก ( Cyrllic) ออกเสียง
ตามตัวอักษร ซึง่ เป็ นข้อดี แต่ส่วนทีย่ ากอยู่ท ี่
โครงสร้างไวยากรณ์ทชี่ วนปวดหัวมาก ๆ
เปลีย่ นรูปแล้วแต่บริบท ซึง่ มีกฎมากมาย
ตามมาจนหลาย ๆ คนยอมแพ้ในแรกเริม่
แต่ภาษารัสเซียนัน้ มีประโยชน์ มาก ๆ เพราะสามารถ
ใช้ในหลายประเทศนอกรัสเซีย เช่น
กลุ่มประเทศโซเวียตเก่า จอร์เจีย อาร์เซอไบจาน
มอลโดว่า เบลารุส โปแลนด์บางส่วน
รวมไปถึงกลุ่มประเทศบอลติกอย่าง ลิทวั เนีย
ลัตเวีย เอสโตเนีย เป็ นต้น
หากสามารถพูดภาษาเหล่านี้ได้กจ็ ะทาให้มปี ระโยชน์
ต่อการงานเราแน่นอนในอนาคต
ภาษาไอซ์แลนด์ แม้ว่าจะมีรากศัพท์เดียวกับ
อันดับที่ 4 ภาษาอังกฤษ แต่ภาษาไอซ์แลนด์นนั ้ ยังคงใช้
คาโบราณอยู่มาก ทาให้ไม่สมั พันธ์กบั ภาษา
ในยุโรปส่วนใหญ่ซึ่งนัน้ ไม่ได้ใช้แล้ว หากไม่มี
การเชื่อมโยงกับภาษาอื่น ๆ เราก็จะใช้
เวลานานในการเรียนค่ะ ทังการออกเสี
้ ยงกับ
การเขียนดูไม่สมั พันธ์กนั ทาเอาคนเริม่ เรียน
เบื้องต้นนัน้ งงไปเป็ นแถบ ๆ แกรมม่าร์ที่
เปลีย่ นรูปแล้วแต่บริบท ซึ่งภาษากลุม่ ยุโรป
ส่วนใหญ่จะเป็ นแบบนี้ อาจจะยากสาหรับชาว
เอเชียทีไ่ ม่เปลีย่ นอะไรมาก ภาษาไอซ์แลนด์
ยังใช้แค่ในประเทศเท่านัน้ ทาให้การเรียนไม่
ต่อเนื่องหากเราไม่ได้ใช้จริง ๆ เหมือนภาษา
อื่น ๆ
อันดับที่ 3

ภาษาฮังกาเรี ยน “เรียนหนึ่งเทอมตอนไปแลกเปลีย่ น
วัฒนธรรมทีบ่ ดู าเปสต์ ประเทศฮังการี บอกได้เลยว่า
สาหรับหนึ่งเทอมนัน้ แค่สามารถสังกาแฟได้่ ก็ถอื ว่าเก่ง
แล้ว” เพราะว่าภาษาฮังกาเรียนนัน้ แตกต่างจากภาษา
ประเทศรอบข้าง ไม่ได้มคี วามสัมพันธ์กบั กลุ่มภาษาทีใ่ ช้
รากศัพท์ละติน เช่น ภาษาฝรังเศส ่ อังกฤษ อิตา
เลียน ดังนัน้ คาศัพท์ต้องเรียนใหม่หมด จาใหม่หมด แถม
ยากมาก ๆ คือ กฎทีเ่ ติมคาศัพท์ prefix หน้ าคา หรือ
Suffix ด้านหลัง ทาให้คายาวไปเรือ่ ย ๆ แถมการเติมนัน้
ยังมีกฎทีต่ ้องให้เสียงสัมพันธ์กนั เป็ น Harmony คล้องจอง
สละสลวย คล้ายการร้องเพลง ภาษาฮังกาเรียนจึงทาให้
เป็ นภาษาทีแ่ ปลกประหลาด ยากสาหรับชาวเอเชีย และ
ชาวตะวันตกด้วยกัน
อันดับที่ 2

ภาษาอาหรับเป็ นทีใ่ ช้กนั อย่างกว้างขวางในแถบตะวันออกกลาง


และในคัมภีรอ์ ลั กุรอานของศาสนาอิสลาม ความยากคือ ภาษาเขียน
ของตัวเอง และเขียนจากขวาไปซ้าย ยังไม่นับเสียงทีม่ เี อกลักลักษณ์
ทาให้ชาวต่างชาตินนั ้ แยกแยะไม่ออก ต้องใช้การฝึกระยะเวลานาน
รากศัพท์ทไี่ ม่ได้มาจากภาษาละติน ทาให้ภาษาอาหรับนัน้ ยากสาหรับ
จะเรียนให้เก่ง ใช้เวลาค่อนข้างนานในการเรียน แต่ภาษาอาหรับ เป็ น
ภาษาพูดทีค่ นใช้เยอะอันดับ 5 ของโลกเชียว ถ้าพูดได้ตลาดงานจาก
ตะวันออกกลางตามตัวกันไปทางานเลย
อันดับที่ 1

ภาษาจีน นัน้ แค่ได้ยนิ ก็ขนลุกกับตัวอักษรเขียนเป็ นพัน


ๆ คาทีเ่ ราต้องจา สาหรับคนไทยนัน้ สิง่ ทีง่ ่ายก็คงเป็ น
โทนเสียงทีค่ ล้ายคลึงกับภาษาไทย แต่สาหรับ
ชาวตะวันตกนัน้ แค่ตวั อักษรให้จา แถมเจอระบบโทน
เสียงทีไ่ ม่ได้อยู่ในระบบของเขาเลยถือเป็ นความท้าทาย
มาก ๆ ภาษาจีนจึงยากมากสาหรับชาวตะวันตกทีจ่ ะ
เรียนให้ถึงขันเก่
้ ง ใช้เวลานานแถมยังไม่น่าดึงดูดเพราะ
ตัวเขียนทีเ่ ยอะ แถมยังยากในตอนเริม่ ต้นมาก ๆ
ภาษาสากลของโลกในอนาคต ...? ❖ ในปัจจุบนั การสื่อสารด้วยการส่งข้อความมีลกู เล่นต่าง
ๆ ทีถ่ ูกนามาประยุกต์ใช้ ไม่ว่าจะเป็ นการใช้อีโมติคอน
❖ ภาษาสากล ก็คือการสื่อสารที่ (หรือทีน่ ิยมเรียกสัน้ ๆ ว่า “อีโมจิ”), สติกเกอร์ หรือแม้แต่
อาศัยสัญลักษณ์เพื่อสื่อความคิด ภาพ เคลื่อนไหว (ไฟล์ GIF) เป็ นต้น โดยลูกเล่นต่าง ๆ
ความรูส้ กึ และความเข้าใจทั ่วโลก ทีไ่ ด้กล่าวมานัน้ ลูกเล่นทีค่ ลาสสิก และพบเห็นอยู่เป็ น
ประจา นั ่นก็คือ “อีโมติคอน หรืออีโมจิ” นั ่นเอง

❖ สติกเกอร์ (stickers) หรือ อีโมติคอน (Emoticon) เป็ นภาษาสัญลักษณ์ทคี่ ุ้นเคย ด้วยการใช้เพือ่ พูดคุยแทน
การพิมพ์เป็ นข้อความ และสัญลักษณ์เหล่านี้ก็พฒั นาไปไกลถึงขันมี
้ เสียงประกอบแล้วด้วย ชุดของสัญลักษณ์
ต่าง ๆ ทีม่ จี ุดประสงค์เพื่อแสดงสีหน้าและอารมณ์ของมนุ ษย์
❖ ทุกวันนี้อีโมจิได้กลายเป็ นมากกว่าแค่เครื่องมือสื่อสารเ แต่ยงั ใช้แสดงอารมณ์ ความรูส้ กึ และเป็ นเหมือน
‘ภาษาภาพ’ ยอดนิยมของผูค้ นบนโลกออนไลน์ไปแล้ว และทีส่ าคัญอาจกล่าวได้ว่าเราทุกคนล้วนเป็ นส่วนหนึ่ง
ของ “วัฒนธรรมอีโมจิ” ตัง้ แต่ลมื ตาตื่นจนกระทั ่งเข้านอนก็คงไม่ผดิ เพราะไม่ว่าจะหิวไส้กิ่ ว รีบไปทางานตอน
เช้า ง่วงยามบ่าย หรือแม้แอบนัดหมายส่งสัญญาณแบบลับเฉพาะคนรูใ้ จ หลายคนก็ยงั ทามันผ่านอีโมจิ
สาหรับ “อีโมติคอน หรืออีโมจิ”
ออกแบบ และมีการนามาใช้ครังแรกในประเทศ

ญี่ป่ นุ โดยคุณ Shigetaka Kurita เป็ นผูค้ ิดค้น
แต่เดิมนัน้ “อีโมจิ” มีความหมายว่า ตัวหนังสือ
ภาพ โดยมาจากคาว่า เอะ (絵, “ภาพ") ผสม
กับคาว่า โมจิ (文字, “ตัวหนังสือ") นั ่นเอง
...ไม่ว่าจะเป็ นใคร ชาติไหน ก็สามารถสื่อสาร
พูดคุยกันได้ แต่ก็น่าคิดต่อไปอีกว่า สัญลักษณ์
เหล่านี้จะมีความซับซ้อนในการสื่อสารได้ใน
ระดับไหน เพราะบางอย่างมันก็ไม่สามารถ
สื่อสารให้เข้าใจได้ง่าย ๆ ผ่านสัญลักษณ์เพียง
ตัวเดียว
สติกเกอร์ (Stickers) หรือ อีโมติคอน
(Emoticon) สามารถเป็ นภาษาสากลได้ใน
อนาคต........?????
ระวัง !!!!!!!
ความหมายของภาษา
❑ พจนานุกรมศั รมศัพท์ท์ภาษาศาสตร์
าษาศาสตร์ (ภาษาศาสตร์
(ภาษาศาสตร์ปประยุ
ระยุกกต์ต์)) ฉบั ราชบัณณฑิฑติ ตยสถาน
ฉบับบราชบั ยสถานพ.ศ.
พ.ศ.2553 ได้นาิ ย233-234)
2553(หน้ ามของคา
ว่ได้าน“ภาษา”
ิยามของไว้ภาษา
5 ลักษณะ
ไว้ 5 ลัดักงนีษณะ
้ ... ดังนี.้ ..

1.
1. ระบบสัญลักษณ์ท่มี นุษย์ย์ใช้ช้ส่อื สาร

ภาษา (Language)
ส่วนที่ไม่มคี ความหมาย
วามหมาย ส่วนที่มีความหมาย

เสียยงง มีมีจจานวนจ
เสี านวนจากัด (พยัญชนะ สระ วรรณยุกกต์ต์)) เป็ นส่วนซึ่งมีจานวนไม่รจู้ บ ได้แก่ คา วลี ประโยค
ประกอบกันนเป็เป็นนส่วนที่มีความหมายซึ่งงมีมีจานวนไม่
ประกอบกั านวนไม่รร้ จู จู้ บบ และสัมพันธสาร (ข้อความ)

ภาษามี 3 องค์ประกอบ ได้แก่ เสียง ไวยากรณ์ และ ความหมาย


ภาษาเป็ นส่วนหนึ่ งของวัฒนธรรม
ภาษาเหมือนวัฒนธรรมอื่น ๆ ภาษาต่างจากวัฒนธรรมอื่น ๆ

มีความเป็ นระบบ มีความเป็ นนามธรรมมากทีส่ ุด

เป็ นสิง่ ทีต่ ้องเรียนรู้ แยกมนุ ษย์ให้ต่างจากสัตว์ได้ดีทสี่ ุด

เปลีย่ นแปลงอยู่เสมอ มนุ ษย์เกิดมาพร้อมความสามารถ


ในสมองทีท่ าให้เรียนรูภ้ าษาใด ๆ ก็ได้
สามารถถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นได้
ภาษาเป็ นสิง่ สากล และเป็ นสมบัติของมนุ ษย์โดยทั ่วไป
ไม่เฉพาะเจาะจงว่าเป็ นของกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง
2. ระบบสัญลักษณ์ ทีม่ นุ ษย์ใช้ในการสื่อสารในสังคมใดสังคมหนึ่ ง โดยไม่มี
หลักฐานว่าใครเป็ นผูส้ ร้างขึน้ บางคนเรียกว่า “ภาษาธรรมชาติ” (natural
language) เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษา ฝรั ่งเศส ภาษาไทย ภาษามาเลย์
ภาษาญี่ป่ นุ
3. ภาษาทีม่ นุ ษย์จงใจสร้างขึน้ โดยมีวตั ถุประสงค์ทเี่ ฉพาะเจาะจง บางคน
เรียกว่า ภาษาประดิษฐ์ (artificial language) เช่น เอสเปอแรนโต
(Esperanto) ภาษาคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ เช่น ภาษาเบสิก ภาษาโคบอล
ภาษาฟอร์แทรน

ภาษาโคบอล (COBOL) ย่อมาจาก


Common Business Oriented
Language เป็ นภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาฟอร์แทรน (FORmula TRANstation : สาหรับใช้ในงานธุรกิจภาษาแรกของ
FORTRAN) จัดเป็ นภาษาระดับสูงที่เก่าแก่ท่สี ุด ได้รบั โลกถูกพัฒนาขึน้ ตังแต่
้ ปี พ.ศ.2505
การคิดค้นขึน้ เป็ นครัง้ แรก ราว พ.ศ.2497 โดยบริษทั พ.ศ. 2432 นิตยาสารภาษาเอสเปอรันโตฉบับแรก
ไอบีเอ็ม La Esperantisto ได้ตพี มิ พ์ในเมืองนูเรมเบิร์ก ประเทศเยอรมนี
และได้กอ่ ตังชมรมภาษาเอสเปอรั
้ นโตแห่งแรกของโลก
4. วิธภาษา (variety of language) คือรูปแบบเจาะจงรูปแบบหนึ่ง ๆ ของภาษาหรือกลุ่มภาษาซึ่งแตกต่างจาก
รูปแบบอื่นด้วยปัจจัยต่าง ๆ เกี่ยวกับผูใ้ ช้ เช่น ทีอ่ ยู่อาศัย ลักษณะทางสังคม หรือวัตถุประสงค์ในการใช้

ภาษากะเทย ภาษาวัยรุ่น
ภาษาผูช้ าย ภาษาเด็ก
ราชการ ภาษาย่อยสังคม
ภาษาเขียน ภาษาผูห้ ญิง ภาษาคนแก่ ภาษาโฆษณา

การสอน ทางการ
ภาษาแพทย์
วัจนลีลา วิธภาษา ทาเนียบภาษา
ประชุม กึ่งทางการ
ภาษากฎหมาย
สื่อ ไม่เป็ นทางการ กลาง ลาว ภาษาพระ
ภาษาถิ่น
พูด ละครทีวี ตลาด คาเมือง ปักษ์ใต้
5. ระบบการสื่อสารอื่น ๆ ที่ไม่ใช้สญั ลักษณ์
เหมือนในคาจากัดความที่ 1-4 เช่น ภาษามือ
(sign language) ภาษากาย ภาษารูปภาพ
ภาษาสัตว์
คาว่าภาษาข้างต้นมีความหมายกว้าง ตัง้ แต่ภาษาของมนุ ษยชาติ ทีเ่ กิดขึน้ อย่างเป็ นธรรมชาติ ภาษา
ทีม่ นุ ษย์ตงั ้ ใจประดิษฐ์ขนึ้ อย่างภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาในบริบทการใช้ และหมายรวมถึงภาษาสัตว์

ระบบสัญลักษณ์ในเชิงคาพูด หรือเชิงการเขียนที่
มนุ ษย์เท่านัน้ กาหนดขึน้
ใช้เป็ นเครื่องมือในการสื่อความหมายต่อกันและกัน

มีลกั ษณะทีท่ านายล่วงหน้าไม่ได้ ให้เหตุผลไม่ได้ว่า


ทาไมแต่ละชาติแต่ละภาษาจึงฟังเสียงต่ างกันไปได้
อุดม วโรตม์สิกขดิตถ์ (2545)

พระยาอนุ มนานราชธน คาในภาษาทีใ่ ช้กนั นัน้ เกิดขึน้ มาโดยทีไ่ ม่ทราบสาเหตุ


(2522) แล้วใช้ต่อ ๆ กันมา แม้จะมีคาทีเ่ กิดจากการเลียน
“ภาษา หมายถึง วิธที าความ เสียงธรรมชาติ แต่ก็พบน้อยมาก
เข้าใจ ระหว่างคนกับคน”
ชลธิชา บารุงรักษ์ (2558)

คุณสมบัติของภาษา
ภาษาเป็ นระบบสัญลักษณ์ทมี่ นุ ษย์สร้างขึน้ เพื่อสื่อความหมาย
ภาษามีระบบและกฎเกณฑ์ทแี่ น่ นอน
ภาษาเกี่ยวข้องกับบริบทซึ่งส่งผลโดยตรงต่อการตีความ
ภาษาเป็ นเรื่องทีต่ ้องเรียนรู้ ไม่สามารถเกิดขึน้ ได้โดยกาเนิดหรือสัญชาตญาณ
ภาษาเป็ นเรื่องของปฏิสมั พันธ์และมีความเป็ นพลวัต
ภาษาเปลีย่ นแปลงไปตามกาลเวลา ภาษามีผลิตภาวะทีส่ ร้างสรรค์ไม่จบสิน้
ภาษาทุกภาษามีลกั ษณะบางประการทีม่ อี ยู่ร่วมกัน เรียกว่า สากลลักษณ์ภาษา (language universal)
จากคุณสมบัตขิ องภาษาข้างต้นทาให้........

ภาษาพูด กิรยิ าท่าทาง


(spoken language)
การสัมผัส
ระยะห่าง
เป็ น
การนิ่งเงียบ
ภาษามือ ภาษา ภาษาเขียน
(sign language) (written language) วัตถุ ภาพ
กาลเทศะ

แม้สื่อความหมายได้ แต่ไม่จดั เป็ นภาษาเพราะขาดคุณสมบัติ ของภาษา


ภาษาเปรียบเหมือนสิ่งมีชีวิต
ภาษาจึงมีคุณสมบัติเหมือนสิง่ มีชวี ิต คือ เกิด เติบโต เจ็บ แก่ ตาย
การเกิดของภาษา โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในระดับคานัน้ จะมองเห็นการเกิดใหม่ของภาษาอย่างชัด เจน ดัง
ในภาษาอังกฤษ มีคาทีส่ ร้างขึน้ ใหม่ หรือ “Neologisms” ตามการเปลีย่ นแปลงของยุคสมัย เช่น พฤติกรรมการ
ใช้โทรศัพท์ของผูค้ นไม่ว่าจะเป็ น “การถ่ายรูป, เล่นเกม, อัพเฟซ, แชทไลน์, ดูไอจี, ส่องทวีตเตอร์” เหล่านี้
ก่อให้เกิดคาใหม่ ๆ ขึน้ หลายคา
Cellfish มาจากคาว่า cellphone + selfish แปลว่า คนทีพ่ ูดโทรศัพท์อย่างเห็นแก่ตวั โดยไม่สนใจคนรอบข้างหลายคน คงเคย
เห็นคนทีพ่ ูดโทรศัพท์เสียงดัง ๆ พูดโวยวาย หยาบคายอย่างไม่เกรงใจใคร หรือจะทาให้คนอืน่ เกิดความราคาญ ในสถานที่
ทีไ่ ม่ควร เช่น ในรถไฟฟ้ า ในโรงภาพยนตร์ เป็ นต้น
Selfie มาจากคาว่า self-portrait คือการถ่ายรูปตัวเองจากกล้องโทรศัพท์มอื ถือ หรือกล้องจากคอมพิวเตอร์ มีการพบว่ามีการใช้
ครังแรกในปี
้ พ.ศ. 2545 ทีป่ ระเทศออสเตรเลีย ซึง่ พจนานุ กรมของออกซ์ฟอร์ด (Oxford Dictioneries)
Youniverse มาจากคาว่า you + universe แปลว่า คนทีค่ ดิ ว่าตัวเองเก่งกาจหรือเด่นดัง จนใคร ๆ ก็ต้องยอม หรือให้ความสนใจ
เปรียบเทียบตัวเองเป็ นศูนย์กลางของจักรวาลต้องให้ใครต่อใครมาคอยเอาอกเอาใจให้ความสาคัญ
ปรากฏการณ
์ทางภาษา
▪ เมื่อฉันโดนเทเบอร
์นั้น ฉัน์สึ
รู กเงาะ
ที่มะนาวไปเองว์านก ตอนแรกก็
ลาไยแต ์ก็ตัดใจได
์กล์วยเพราะอ ์อย
์มมะนาวไปชอบคนแตงโมในที
ส ่สุด
ก็นกอีก ์ยยยยเงาะ
โอ ลาไย 5555
การเติบโตของภาษา เมื่อภาษาเกิดขึ ้นมาได้ระยะหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระดับคา โดยที่ คาคานัน้ มี
ปรากฏการณ์การใช้ อย่างแพร่หลายตามความเปลี่ยนแปลงทางสังคม จนเป็ นที่ร้ จู กั คุ้นเคยกันเป็ นอย่างดี เช่น
ภาษาไทย มีการใช้ คาที่เติบโต โดยใช้ กนั อย่างหลากหลาย ในโอกาสและสถานการณ์ ต่าง ๆ ทังที ้ ่เ ป็ นศัพท์
บัญญัติ และคาทับศัพท์
ตัวอย่างคาที่แสดงให้ เห็นการเติบโต เช่น โลกาภิวตั น์ วิสยั ทัศน์ ศตวรรษที่ 21 ชีวิตวิถใี หม่ เศรษฐกิจพอเพียง
กลยุทธ์ ขับเคลื่อน ข้ ามเพศ เข้ าถึง ภาคประชาชน อินเทอร์เน็ต คอมพิวเตอร์ แอปพลิเคชัน สตาร์ ทอัพ เซลฟี่
แอนิเมชัน คอมเมนต์ คอนเซ็ปต์ ดิจิทลั ดาวน์โหลด อัพโหลดอิเล็กทรอนิกส์ เน็ตเวิร์กโพรไฟล์ โซเชียลมีเดีย
โปรแกรม โปรเจกต์ รีโมท สมาร์ทโฟน ซอฟต์แวร์ ซับสไครบ์ อัปเดต เวอร์ชนั แอ็กชัน เป็ นต้น

การเติบโตของคาศัพท์ก็จะสะท้ อนให้ เห็นปรากฏการณ์ทางสังคมว่ามีแนวโน้ ม (trend) หรือมีความสนใจไป


ในเรื่องใด หรือกระแสใดเป็ นที่นิยมของคนในช่วงยุคสมัยนัน้ ๆ ดังตัวอย่างที่ยกมาก็สะท้ อนให้ เห็นว่าเทคโนโลยี
และคอมพิวเตอร์เป็ นสิ่งที่อยู่ในความสนใจของคนไทยในยุคนี ้ (พ.ศ. 2563)
การเจ็บของภาษา ความเจ็บป่ วยเป็ นธรรมดาของสิ่งมีชีวิต แม้ ภาษาจะไม่ใช่สิ่งมีชีวิต แต่ก็เป็ นเครื่องมือใน
การสื่อสารของมนุษย์ จึงย่อมมีอาการใช้ อย่างผิดปกติไป ทังจากการออกเสี
้ ยงหรือการเขียนคาผิด ตลอดรวมไป
ถึงการใช้ คาผิดความหมาย การเจ็บของภาษาไทยจะพบในระดับหน่วยเสียง และระดับคา

1) การไม่ออกเสียง “ร” ปั จจุบนั เสียง “ร” /r/ เป็ นปั ญหาที่สาคัญที่สดุ ในการออกเสียงภาษาไทย เช่น
ลัก (รัก) โลงเลียน (โรงเรียน) ลุกลาน (รุกราน) ล่าลวย (ร่ารวย)

2) การไม่ออกเสียงควบกลา้ พยัญชนะควบกล ้าในภาษาไทย มี 3 ตัว คือ ร /r/, ล /l/, ว /w/ โดยควบกล ้า


กับพยัญชนะต้น 7 ตัว คือ ก /k/, ข-ค /kh/, ป /p/, พ-ผ /ph/, ต /t/ รวมมีทงหมด
ั้ (ตามพยัญชนะ) 15 คู่

3) การตัดเสียงสระประสมเสียงสัน้ ออกจากระบบภาษาไทย หนังสือหลักภาษา ไวยากรณ์ หรือ


ภาษาศาสตร์ภาษาไทย ยุคใหม่ จะระบุว่า สระประสมมี 3 เสียง คือ เอีย อัว เอือ โดยนักภาษาศาสตร์ ให้
เหตุผลว่า เพราะไม่มีคเู่ ทียบเสียงระหว่างเสียงสันและเสี
้ ยงยาว
การแก่ ของภาษา จะพบปรากฏการณ์นใี ้ นการใช้ ภาษาระดับคา คือเมื่อใช้ คาไปในช่วงระยะเวลาหนึ่ง คาเหล่านัน้ ค่อย ๆ หมดความนิยม
ลง จะด้วยหมดหน้ าที่ในการใช้ หรื อมีคาอื่นมาใช้ แทน หรื อเป็ นการใช้ คาของผู้สูงวัยซึง่ อาจจะทาให้ เด็กรุ่นใหม่ ไม่สามารถทาความเข้ าใจได้
เนื่องจากเป็นคาพ้ นสมัย ( Archaic Word) บางคาก็เกือบตายแล้ ว มีพบเฉพาะในเอกสารโบราณ หรือวรรณคดี เท่านัน้
เช่น กเฬวราก (ซากศพ) กลางคา่ (เวลากลางคืน) โกปินา(ผ้ าปิดของลับ) ขนอน (ที่ตงอากรการผ่
ั้ านเขต, ที่คอย) ขษณะ (ปัจจุบนั ใช้ “ขณะ”
หมายถึง ครู่ , ครั ง้ , คราว) เกิบ (เกือก, รองเท้ า) ชามอีโน (ชามขนาดใหญ่อย่างชามโคม) จิม้ ก้ อง (เจริญทางพระราชไมตรีเฉพาะกับประเทศจีน
โดยนาพระราชสาส์นและเครื่องราชบรรณาการไปถวายจักรพรรดิตามเวลาที่กาหนด ปรกติ 3 ปี ต่อครั ง้ , โดยปริยายหมายถึงนาสิ่งของเป็นต้น
ไปกานัลเพื่อเอาใจ หรื อนาสิ่งของไปกานัลผู้ที่สามารถให้ ประโยชน์ หรื อช่วยเหลือได้ มักเป็นผู้ใหญ่หรือผู้มี อานาจ)
ชั่วเบา(ชั่วระยะเวลานานตราบที่ยังไม่ได้ ถ่ายปั สสาวะ) ซาม(ปั จจุบนั ใช้ “ทราม” หมายถึง เลว) เฌอ (ไม้ , ต้นไม้ ) ชิน้ เช้ (คูร่ ัก) ดูกหัว (กะโหลก)
ตะแลงแกง (เครื่องหมายกากบาท, ทางสี่แยก, ที่สาหรับฆ่านักโทษ คือบริเวณทางสี่แยก) ตัวนับ(ตัวเลข) ฝีในท้ อง (วัณโรคที่เกิดในทรวงอก
หรื อในช่องท้ อง) นายประเพณี (หัวหน้ ารั กษาประโยชน์ ของวัดและบารุ งวัด) ปล้ นสะดม (ปล้ นโดยใช้ วิธีรมยาให้ เจ้ าของทรั พย์หลับสนิทไม่
รู้ สึกตัว) นักสนม (ภรรยาที่เป็นสามัญชนของพระมหากษัตริย์ ซึง่ ไม่ใช่เจ้ าจอม เจ้ าจอมมารดา หรือพระภรรยาเจ้ า ) ฝุ่นเมือง (ประชาชน,
พลเมือง, ไพร่ฟ้า)
ฟุน (ลุกฮือ ใช้ แก่ไฟ, โกรธเป็ นไฟ, โกรธจัด) มือสอง (เพชฌฆาตที่ลงดาบประหารชีวิตนักโทษเป็นคนที่ 2) โรงเยี่ยว (กระเพาะปั สสาวะ)
สาวใพ้ , สาวใภ้ (สะใภ้ ) วิลันดา (ชาวดัตช์ , ชาวฮอลันดา) ไสร้ (ปั จจุบนั ใช้ “ไซร้ ” เป็นคาสาหรับเน้ นความหมายของคาหน้ า มีความหมาย
ไปในทางว่า อย่างนัน้ , เช่นนัน้ , ทีเดียว) หนุ่มเหน้ า (กาลังสาว, กาลังหนุ่ม) หัวป่ าก์ (ปัจจุบนั ใช้ “หัวป่ า” หมายถึง คนทาอาหาร)หญิบ (สอง)
ราชญี (ราชินี)
การตายของภาษา ศ.ดร.สุวิไล เปรมศรีรัตน์ ผู้อานวยการศูนย์ศกึ ษาและฟื ้นฟูภาษาและวัฒนธรรมในภาวะวิกฤติ สถาบันวิจัยภาษา
และวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล อธิบายว่า ภาษาสามารถตายได้ และกาลังเกิดขึน้ ทัง้ ในประเทศไทยและในทุกประเทศ
ทั่วโลก นักภาษาศาสตร์ ได้ ประมาณการไว้ ว่าร้ อยละ 90 ของภาษาที่มีในโลกกาลังอยู่ในภาวะวิกฤติคอื ใกล้ ตาย และกลุ่ มที่น่ากลัวต่อการ
สูญสลายคือกลุ่มภาษาที่มีผ้ ูใช้ จานวนน้ อย ในประเทศไทยจากทัง้ หมด 70 กลุ่ม จากการศึกษาค้นคว้ าประมาณการว่ามี 14 กลุ่มที่ภาษาอยู่
ในภาวะวิกฤติ
ส่วนมากจะเป็ นกลุ่มทีไ่ ม่ใช่ภาษาตระกูลไท เช่น ภาษาในตระกูลออสโตรเอเชียติก เช่น ภาษาชอง กะซอง ซัมเร ภาษาเกนซิว (ซาไก)
ภาษามลาบรี หรือตองเหลือง ละเวือะ ละว้า (ก๋อง) อุรกั ลาโว้ย มอเกล็น สาเหตุสาคัญทีท่ าให้ภาษาตายมีอยู่หลายสาเหตุ แต่สาเหตุหลัก
คือ อิทธิพลจากภายนอก เช่น จากวัฒนธรรมภายนอก วัฒนธรรมโลก ภาษาโลกหรือภาษาอังกฤษ และสาเหตุทสี่ าคัญอีกประการหนึ่ง
คือ ทัศนคติหรือความคิดของเจ้าของภาษาและเจ้าของวัฒนธรรม เช่น มีความภูมใิ จต่อภาษาและวัฒนธรรมของตนเองหรือไม่ บางครังก็ ้
คิดว่าภาษาของตนเองด้อยกว่าภาษาอืน่ และคิดว่ากลุ่มภาษาใหญ่ดกี ว่า และมีความสาคัญมากกว่า ความคิดนี้เป็ นสิ่ งทีท่ าให้ภาษา
ถดถอยและอาจจะเลิกใช้ไปในทีส่ ุด ซึง่ เมือ่ เลิกใช้ภาษานัน้ ๆ ในบ้านเมือ่ ใดภาษาก็ตาย เพราะถ้าพ่อแม่ไม่ได้พูด กับลูก ลูกก็ไม่สามารถ
พูดกับของเขาได้ ภาษานัน้ ก็จะตายไปในทีส่ ุด
นักภาษาศาสตร์ระบุว่า ปั จจุบนั มีภาษากว่า 7,000 ภาษาทัวโลก
่ และ ตัง้ แต่ปี ค.ศ. 2000 เป็ นต้นมา ภาษาเกินกว่าครึง่ นัน้ มีความเสีย่ งที่
จะต้องสูญหายไปตลอดกาล โดยเฉลีย่ แล้ว ทุก 2 สัปดาห์ จะมีภาษาหายไปจากโลก 1 ภาษา เพราะว่าภาษาเหล่านัน้ ไม่มกี ารเขียน ไม่ม ี
การบันทึกหรือมีเอกสารอ้างอิงใด ๆ เลย เมือ่ คนทีพ่ ูดภาษานัน้ ๆ ได้ตายไป ภาษาเหล่านัน้ ก็ต้องหายไปด้วย โดยมี อตั ราการสูญเสีย
มากกว่า นก ปลา หรือพืชหายากในโลกเสียอีก
1

2
3
คณะรัฐมนตรี ในสมัย ฯพณฯ ชวน หลีกภัย เป็ นนายกรัฐมนตรี ได้มมี ติเมือ่ วันอังคารที่ 13
กรกฎาคม พ.ศ. 2542 เห็นชอบให้วนั ที่ 29 กรกฎาคม ของทุกปี เป็ นวันภาษาไทยแห่งชาติ
มีวตั ถุประสงค์ ดังนี้

1. เพือ่ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ภูมพิ ลอดุลยเดช ผู้ทรงเป็ นนักปราชญ์ และนัก


ภาษาไทย รวมทัง้ เพือ่ น้ อมราลึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ ของพระองค์ทไี่ ด้ทรงแสดงความห่วงใย และ
พระราชทานแนวคิดต่าง ๆ เกีย่ วกับการใช้ภาษาไทย
2. เพือ่ ร่วมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั เนื่องในพระราชพิธมี หามงคลเฉลิมพระ
ชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2542
3. เพือ่ กระตุ้นและปลุกจิตสานึกของคนไทยทัง้ ชาติให้ตระหนักถึงความสาคัญและคุณค่าของภาษาไทย ตลอดจน
ร่วมมือร่วมใจกันทานุ บารุงส่งเสริม และอนุ รกั ษ์ ภาษาไทย ซึง่ เป็ นเอกลักษณ์และเป็ นสมบัตวิ ฒ ั นธรรมอันล้าค่าของชาติให้คง
อยู่คชู่ าติไทยตลอดไป
4. เพือ่ เพิม่ พูนประสิทธิภาพในการใช้ภาษาไทย ทัง้ ในวงวิชาการและวิชาชีพ รวมทัง้ เพือ่ ยกมาตรฐานการเรียนการ
สอนภาษาไทยในสถานศึกษาทุกระดับให้สมั ฤทธิผลยิง่ ขึ้น
5. เพือ่ เปิ ดโอกาสให้หน่ วยงานต่าง ๆ ทัง้ ภาครัฐบาลและเอกชนทัวประเทศมี
่ ส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่
หลากหลาย เพือ่ เผยแพร่ความรูภ้ าษาไทยในรูปแบบต่าง ๆ ไปสู่สาธารณชนทัง้ ในฐานะทีเ่ ป็ นภาษาประจาชาติ และในฐานะที่
เป็ นภาษาเพือ่ การสือ่ สารของทุกคนในชาติ
ลักษณะของภาษา
ลักษณะร่วมของภาษา จะต้องมีองค์ประกอบ 3 ประการ คือ
- เสียง (Sound)
- แบบสร้าง (Structure)
- ความหมาย (Meaning)
ความดังระดับใดเป็ นอันตรายต่อการได้ยิน

โดยหูของคนปกติจะสามารถ
รับเสียงทีม่ คี วามดังของเสียง
ต่าสุด 0 เดซิเบล (decibel:dB)
และสูงสุด 120 dB
(ความถี่ของคลื่นเสียง ตัง้ แต่
20-20,000 เฮิรตซ์) ระดับ
เสียงทีม่ คี วามปลอดภัยใน
การได้ยนิ สาหรับมนุ ษย์ คือ
ความดังประมาณ 75 dB หรือ
น้อยกว่า
สากลลักษณ์ของภาษา
(language universal)
ลักษณะของภาษาแบ่งตาม การใช้ถ้อยคา - ไม่ใช้ถ้อยคา
- วัจนภาษา
- อวัจนภาษา
วัจนภาษา (Verbal Language) เป็ นระบบการสื่อสารด้วย
ระบบเสียงรวมถึงภาษาเขียนที่ใช้ส่อื ความหมายเป็ นตัวอักษร
เครื่องหมาย รหัส
ระบบเสียงในภาษาไทยประกอบด้วยเสียงแท้ (สระ)
เสียงแปร (พยัญชนะ) และเสียงดนตรี (วรรณยุกต์) รวมกัน
เป็ นพยางค์ คา กลุ่มคา ประโยค ข้อความ เรื่องราว
ตัวอย่างการสื่อสารด้วยวัจนภาษา

Page 66
Page 67
ล้อเลียน (Bully) เพื่อนลาว

Page 68
อย่ากลัวภาษาอังกฤษ อาจารย์อดัมจะว่าอย่างไร.....?

Page 69
อวัจนภาษา (Non-Verbal Language) แบ่งได้เป็ น 4 ประเภท
1. ภาษาสัญลักษณ์ เป็ นการสื่อความหมายแทนสิ่งใดสิ่งหนึ่ ง
เช่น มาจากตัว V คาว่า victory คือ ชัยชนะ

Page 70
Page 71
Page 72
2. ภาษาการกระทา แสดงออกเป็ นบุคลิกภาพ หรือการกระทาต่าง ๆ
เพื่อบ่งบอกถึงอารมณ์ ความรู้สึก หรือวัฒนธรรม

Page 73
มารยาทที่ ไม่ควรทา ในประเทศต่าง ๆ

• 1. นอร์เวย์: ไม่ควรห่อช่อดอกไม้ • 2. Russia : ไม่ซอื้ ดอกไม้จานวนคู่ให้เป็ น


ก่อนจะมอบให้คนอื่น และเวลาไป ของขวัญ เพราะเลขคู่จะใช้สาหรับคนตายแล้ว
บ้านคนนอร์เวย์ ควรนาของติดไม้ ช่อดอกไม้ที่เหมาะสมจะมี 1 ดอก 3 ดอก 5
ติดมือไปด้วย (ที่เยอรมันก็เช่นกัน) ดอก 7 ดอก 9 ดอก เป็ นต้น

Page 74
3. Brasil : ห้าม "OK" (Don't use the
"OK" Gesture) เพราะเป็ นการแสดง
อากัปกิริยาเทียบเท่าได้กบั “Fuck
You” ในอเมริกา (โชว์/ชูนิ้วกลาง)

สัญลักษณ์ เล็ก ๆ น้ อย ๆ แต่กเ็ คยทาให้เป็ นปัญหาระดับประเทศมาแล้ว สมัย ริชาร์ด นิกสัน (Richard


Nixon) เยือนบราซิล ในขณะที่ กาลังลงจากเครื่อง นิกสัน ได้ยกมือทาสัญลักษณ์ "โอเค" ต่อหน้ากล้อง
และประธานาธิบดี คนแรกของบราซิล ในการมาเยือนครัง้ นัน้ นิกสัน ได้รบั การต้อนรับด้วย ปัสสาวะ
อุจจาระ ตลอดทาง สาเหตุที่ OK ในบราซิลไม่สุภาพ ก็เพราะว่า การทามือ OK ใช้นิ้วโป้ งแตะกับนิ้วชี้ มัน
จะเกิดเป็ นรู ซึ่งชาวบราซิลถือว่ารูที่เกิดขึน้ จาก OK เปรียบกับ "รูทวาร" หรือภาษาบราซิลคือ Cu (กู)
เท่ ากับเป็ นการด่าด้วยภาษามือ เพราะฉะนัน้ ไปบราซิล ห้ามทาท่ า OK เด็ดขาด

Page 75
4. China : ห้ามให้ "ร่ม" หรือ "นาฬิกา" เป็ นของขวัญ เพราะ "นาฬิกา" ใน
ภาษาจีนจะออกเสียง "ซี่วจง" ซึ่งไปคล้ายกับ คาว่า "ซุ่ยจง" ที่แปลว่า ดูใจ
ครังสุ
้ ดท้าย มันเป็ นเรื่องอัปมงคลอย่างมาก ส่วน "ร่ม" จะออกเสียงคล้ายกับ
คาที่มีความหมาย "กระจัดกระจาย" ซึ่งเป็ นความหมายไม่ดี คนจีนเลยไม่
ชอบจริง ๆ แล้วของต้องห้าม ที่ไม่ควรให้ชาวจีนเป็ นของขวัญ ยังมี สาลี่ ที่
เหมือนการแช่ง ผ้าเช็ดหน้ า ที่คนจีนถือเพราะมันเป็ นผ้าไว้ซบั น้ าตา

Page 76
• 5. Vietnam : ห้ามรับของมือเดียว (โดยเฉพาะ • 6. Hungary : ห้ามชนแก้วเบียร์ หรือ
มือซ้าย) มีหลายประเทศที่มีข้อห้าม หรือธรรม เหล้า เป็ นวัฒนธรรมที่ สืบเนื่องมาจาก
เนี ยมปฏิบตั ิ ข้อนี้ เพราะ "มือซ้าย" เป็ นมือ ประวัตศาสตร์สมัยออสเตรียที่ บกุ มา
ทาสงครามกับฮังการี และในครัง้ นัน้
สาหรับชาระล้าง เป็ นมือสกปรก จึงไม่ควรรับ ออสเตรียเป็ นฝ่ ายชนะ และได้ประหาร
สิ่งของใด ๆ หรือหากจะใช้ ต้องใช้พร้อมกัน ชี วิตแม่ทัพของฮังการี และฉลองด้วย
สองมือในการรับของ การดื่มเบียร์ มีการชนแก้วกันอย่าง
สะใจ ทาให้ชาวฮังการีเกลียดการ
ชนแก้วและเป็ นธรรมเนี ยมปฏิบตั ิ
มาจนถึงทุกวันนี้

Page 77
เพราะเขาอาจเป็ น Host ที่ แปลว่าผู้
ชวนชวนนัง่ กินนัง่ ดริ๊งค์ คอยคุยเป็ น
เพื่อนให้หญิงสาวผ่อนคลายหรือรู้สึก
สนุก มักปรากฏตัวตอนกลางคืน มี
ลักษณะเด่นคือไว้ผมยาว ๆ ปลาย
เป็ ดนิด ๆ ทาผมฟูให้ดหู วั ทุย กันคิ้ว
ชอบใส่สูทหรือโค้ตยาว ๆ หน้าตา
ไม่ได้ดดู ีมาก แต่ดมู นั ใจในตัวเองสุด
ๆ หากคนแบบนี้ เข้ามาทักหรือมาชม
ว่าคุณน่ ารัก อย่าเคลิ้มจนหลงไป
7. ญี่ปนุ่ : อย่าดีใจถ้ามีหนุ่มหล่อมาทัก นัง่ ดริ๊งค์ที่ร้านกับเขาเชียว เพราะ
นอกว่าจะเสียค่าค็อกเทลแก้วละเป็ น
พันแล้วยังต้องเลี้ยง Host อีกด้วย

Page 78
3. ภาษาวัตถุและสภาพแวดล้อม เป็ นอวัจนภาษาที่ สื่อความหมายในตัวเอง
ช่วยให้รู้และเข้าใจสถานภาพ ความรู้สึกนึ กคิดและสังคมของบุคคล เช่น เวลา สถานที่
เสื้อผ้า เครื่องประดับ การแต่งกาย ช่องว่างระหว่างผู้พูด/ผู้ฟัง ความเป็ น / ไม่เป็ นทางการ
เป็ นต้น

Page 79
การแต่ งกายของนิสิต กาลเทศะและความเหมาะควร
Page 81
4. อวัจนภาษาเขียน คือลักษณะต่าง ๆ ของตัวอักษรหรือลายมือ
ที่เขียน ลายเซ็น มีความเป็ นระเบียบเรียบร้อย ขาดระเบียบ สะอาด
หรือสกปรก
นี่ ก.็ ..ลายมืออออออ......
ลายมือหมอ

Page 85
การปรับใช้ภาษาและภาวะหลายภาษา

ความหลากหลายของภาษาและชาติพัน์ในประเทศไทย
ธุ

ความสัมพัน์เชิ
ธ งเชื้อสายหรือตระกูลภาษา คุณสมบัติและหน
์าที่ของภาษาในสังคมไทย
1. ความหลากหลายของภาษาและชาติพนั ธุใ์ นประเทศไทย
ประเทศไทยเป็ นดินแดนทีม่ คี วามหลากหลายชับซ้อนของทางภาษาและชาติพนั ธุ์ มีภาษาทัง้ หมด 70
กลุ่มภาษา โดยแต่ละกลุ่มนัน้ อยู่ในตระกูลภาษา 5 ตระกูล คือ ไท ออสโตรเอเชียติก จีน-ทิเบต, ม้ง-เมีย่ น และ
ออสโตรเนเชียน
ภาษาต่าง ๆ นัน้ มีความสัมพันธ์เชิงสังคมเป็ นระดับชัน้ กล่าวคือ ภาษาไทยมาตรฐานอยูใ่ น ระดับ
สูงสุด เป็ นภาษาที่ใช้ในการศึกษาและสื่อสารมวลชน รองมาได้แก่ภาษาไทยถิน่ ด้านภูมภิ าค ได้แก่ ภาษาคาเมือง
ภาษาลาวอีสาน ภาษาปักษ์ใต้ และภาษาไทย (กลาง) ซึง่ ใช้เป็ นภาษากลางของคนกลุ่มชาติพนั ธุย์ ่อย ต่าง ๆ ใน
พืน้ ที่ ส่วนภาษาของชุมชนท้องถิน่ จัดเป็ นภาษาพลัดถิน่ ภาษาในเมือง ภาษาตามแนวชายแดน และภาษาในวง
ล้อม
คนกลุ่มชาติพนั ธุส์ ่วนมากมักจะสามารถใช้ภาษาสองภาษาหรือสามภาษาในสถานการณ์ที่ต่างกัน
อิทธิพลของโลกภิวตั น์และนโยบายภาษาของประเทศมีส่วนทาให้ภาษาต่าง ๆ อยู่ในภาวะถดถอย ในขณะนี้มอี ย่าง
น้อยถึง 14 ภาษาที่กาลังอยู่ในภาวะวิกฤตใกล้สูญ แต่อย่างไรก็ตามมีความพยายามจากบางกลุ่มชนทีย่ งั มีพลังและ
ความพยายามทีจ่ ะสงวนรักษาภาษาของตนไว้ ส่วนในเขตชายแดนยังมีกลุ่มชาติพนั ธุข์ นาดใหญ่ยงั คงต่อสูด้ นิ้ รนที่
จะดารงตนอย่างมีศกั ดิตรี์ ในสังคมไทย
ความสัมพัน์เชิ
ธ งเชื้อสายหรือตระกูลภาษา
2. ซึ่งแบ
่งเป
่นตระกูลใหญ
่ๆ ่
ได 5 ตระกูล ่แก
ได ่
01 ตระกูลไท 24 กลุ่ม

02 ตระกูลออสโตรเอเชียติก 22 กลุ่ม

03 ตระกูลออสโตรเนเชียน 3 กลุ่ม

04 ตระกูลจีน ทิเบต 21 กลุ


์ม

05 ตระกูลม้ง เมี่ยน 2 กลุ่ม


ภาษาตระกูลไท (Tai language family)
มีจานวน 24 กลุ่มภาษา ภาษาในตระกูลนี้
เป็ นภาษาพูดของคนส่วนใหญ่ของประเทศ และเป็ น
กลุ่มภาษาที่มกี ารกระจายทัวไปในส่
่ วนต่าง ๆ ทัว่
ประเทศ นอกเหนือจากในประเทศไทยยังพบผูพ้ ดู
ภาษาตระกูลไท ในลาว พม่า อินเดีย เวียดนาม และ
จีน รวมทัง้ บางหมู่บา้ นในตอนเหนือของประเทศ
มาเลเซีย เฉพาะในประเทศไทยมีผพู้ ดู ภาษาใน
ตระกูลนี้เป็ นจานวนร้อยละ 92 ของประชากรใน
ประเทศ ได้แก่ภาษาต่าง ๆ เหล่านี้
การกระจายตัวของผู
์พูดกลุ
์ม
ภาษาตระกูลไท
1. กะเลิง 7. ไทยโคราช 13. ปักษ์ใต้ 19. ลาวแง้ว
Kaloeng Thai Korat Southern Thai Lao Ngaew
2. คาเมือง / ยวน 8. ไทยตากใบ 14. ผู้ไท 20. ลาวตี้
Khammuang/Yuan Thai Takbai Phu Thai Lao Ty
3. ซ่ง ไทดา 9. ไทยเลย 15. พวน 21. ลาวเวียง
Tai Dam Thai Loei Phuan Lao Wiang
4. ญ้อ 10. ไทลื้อ 16. ยอง 22. ลาวหล่ม
Nyaw Tai Lu Yong Lao Lom
5. ไทขึน 11. ไทหย่า 17. โย้ย 23. ลาวอิสาน
Tai Khun Tai Ya Yoy Lao Isan
6. ไทยกลาง 12. ไทใหญ่ 18. ลาวครัง่ 24. แสก
Central Thai Tai Yai, Shan Lao Khrang Saek
ภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก (Austroasiatic Language family)
มีจานวน 22 กลุ่มภาษาหลัก โดยทัวไปเชื ่ ่อกันว่า กลุ่มชนที่พดู ภาษใน
ตระกูลออสโตรเอเชียติกเป็ นกลุ่มชนดัง้ เดิมในกาคพืน้ ดินเอเชียอาคเนย์ (Mainland
Southeast Asia) ภาษาออสโตรเอเชียติกในเอเชียอาคเนย์ทงั ้ หมดมีประมาณ
150 ภาษา กระจายอยู่ในบริเวณกว้าง ทัวดิ ่ นแดนเอเชียอาคเนย์
ภาษาเหล่านี้มคี ณ ุ ค่าอย่างยิง่ ด้านประวัตศิ าสตร์และ
ความเข้าใจในมนุษยชาติของดินแดนแถบนี้
ภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติกที่พบในประเทศไทย
ในปัจจุบนั ทัง้ หมดเป็ นภาษากลุ่มมอญ-เขมร
มีทงั ้ กลุ่มเล็กกลุม่ น้อยและกลุ่มใหญ่กระจายอยู่ทวทุ ั่ ก
ภูมภิ าคของประเทศมีผพู้ ดู เป็ นจานวนร้อยละ 4.3
ของประชากรในประเทศ ได้แก่
8. ซัมเร Samre 16. มอญ Mon
9. โซ่ So 17. มัล-ไปรย์ (ลัวะ/ถิ่น)
1. กะซอง Kasong 10. โช่ (ทะวึง) Mal-Pray (Lua/Tin)
2 กูย-กวย (ส่วย) Kuy/Kuay So (Thavueng) 18. มลาบรี (ตองเหลือง)
3. ขมุ Khmu 11. ญัฮกุร (ชาวบน) Mlabri (Tongluang)
4. เขมรถิ่นไทย Thailand Khmer Nyah Kur Chaobon) 19. ละเม็ด (ลัวะ) Lamet
(Northern Khmer ) 12. เญอ Nyoe (Lua)
5. ชอง Chong 13. บรู / ข่า Bru 20. ละเวือะ (ละว้า/ลัวะ)
6 ซะโอจ (ซุองุ ) Sa-oc (Chung) 14. ปลัง (สามเต้า, ลัวะ) Lavua (Lawa/Lua)
7. ซาไก (เกนซิว) Sakai (Kensiw) Plang (Samtao. Lua) 21. ว้า (ลัวะ) Wa (Lua)
15. ปะหล่อง (ตาละอัง) 22. เวียดนาม (ญวน/แกว)
Palaung (Dala-ang) Vietnarnese
ภาษาตระกูลจีนทิเบต (Sino-Tibetan language family)
มีจานวน 21 กลุ่มภาษาหลัก ประกอบไปด้วยกลุ่มภาษาจีน ซึ่งผู้
พูดมีบรรพบุรษุ อพยพมาจากส่วนต่าง ๆ ของจีน และมักตัง้ ถิน่ ฐานอยู่ในเขต
ตัวเมืองหรือตลาดทัวประเทศ
่ ยกเว้นกลุ่มจีนฮ่อ ซึ่งตัง้ ถิน่ ฐานอยู่เขตภูเขาใน
ภาคเหนือส่วนต่อกับพม่าและจีน
ภาษาในกลุ่มภาษาจีนมีทงั ้ หมด 7 กลุ่มภาษา และมีกลุ่มภาษา
ทิเบต-พม่า จานวนทัง้ สิน้ 14 กลุ่มภาษา ผูท้ ่พี ดู ภาษาทิเบต-พม่า เป็ นชน
กลุ่มใหญ่ทางตอนเหนือของเอเชียอาคเนย์ตดิ ต่อกับจีน มีจานวนภาษากว่า
200 ภาษา สาหรับในประเทศไทยพบในเขตภาคเหนือและตะวันตกเป็ น
ส่วนมาก ภาษาในตระกูลนี้มผี พู้ ดู เป็ นจานวนร้อยละ 3.1 ของประชากรใน
ประเทศ
กลุ่มภาษาจีน กลุ่มภาษาทิเบต – พม่า
1. กวางตุ้ง Cantonese 1. กะยา Kaya 8. โปว Pwo Karen
2. แคะ/ฮักกา Hakka 2. กะยอ Kayo 9. พม่า Burmese
3. แต้จิ๋ว Teochiu 3. จิงโพ/คะฉิ่น 10. ละหู่/มูเซอ Lahu
4. แมนดาริน/จีนกลาง Mandarin Jingpaw/Kachin 11. ละว้า/ก๋อง
5. ไหหลา Hinanese 4. บเว Bwe Lawa/Gong
6. ฮกเกี้ยน Hokkian 5. บิซู Bisu 12. ลิซ/ู ลีซอ Lisu
7. ฮ่อ Yannanese 6. ปะกายอ Sgaw Karen 13. อะข่า/อีก้อ Akha
(Western Mandarin) 7. ปะด่อง Padaung 14. อึมปี Mpi
ภาษาตระกูลออสโตรเนเชียน หรือมาลาโยโพลีเนเชียน
(Austronesian or Malayo-Polynesian language family)
มีจานวน 3 กลุ่มภาษาหลัก กลุ่มชนที่พดู ภาษาออสโตรเนเชียน
ส่วนมากเป็ นกลุ่มชนพืน้ เมืองทีอ่ ยู่ในขตหมูเ่ กาะทางตอนใต้ของเอเชียอาคเนย์
ได้แก่ มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิ ลปิ ปิ นส์ เป็ นต้น ภาษาตระกูลนี้ ในประเทศไทย
พบในเขตภาคใต้เป็ นส่วนมาก มีผพู้ ดู เป็ นจานวนร้อยละ 0.3 ของประชากรใน
ประเทศ ได้แก่
1. มลายูถนิ่ /นายู Melayu/Nayu/Yawi
2. มอเก็น/มอเกล็น Moken/Moklen (ชาวเล)
3. อูรกั ละโวย Urak Lawoy (ชาวเล)
ภาษาตระกูลม้ง-เมีย่ น (หรือแม้ว-เย้า)
(Hmong-Mien or Miao-Yao language family)
มีจานวน 2 กลุ่มภาษหลัก กลุ่มม้ง-เมี่ยน หรือ
แม้ว-เย้า เป็ นกลุ่มชนที่ตงั ้ ถิน่ ฐาน อยู่ทางตอนเหนือของ
เอเชียอาคเนย์ ในประเทศไทยพบในกาดเหนือเป็ นส่วนมาก
มีผพู้ ดู เป็ นจานวนร้อยละ 0.3 ของประชากรในประเทศ
1. ม้ง/แม้ว (ม้งดา, ม้งขาว) Hmong/Meo
2. เมี่ยน/เย้า Mien/Yao
3. คุณสมบัติและหน้ าที่ของภาษาในสัง คมไทย
ภาษาทีใ่ ช้พดู ในสังคมไทยมีเป็ นจานวนมาก และอยู่ในตระกูลต่ าง ๆ
กัน ซึ่งมีคุณสมบัติต่างกันและทาหน้าทีต่ ่างกันในสังคมไทย ดังนัน้ เราจึงสามารถ
จาแนกหรือจัดกลุ่มภาษาต่าง ๆ ทีใ่ ช้พดู ในประเทศไทย โดยใช้ “เกณฑ์
คุณสมบัติ”และ “เกณฑ์ หน้ าที่” ได้ดงั นี้
1. ภาษาในสังคมไทยจาแนกตามเกณฑ์คณ ุ สมบัติ
1.1 คุณสมบัติ
คุณสมบัติทนี่ ักภาษาศาสตร์สงั คมใช้เป็ นเกณฑ์ในการจาแนก
ประเภทภาษาโดยทั ่วไปมี 4 ประการ คือ
- ความเป็ นมาตรฐาน (standardization),
- ความเป็ นเทศ (autonomy),
- ความมีประวัติอนั ยาวนาน (historicity),
- และความมีชวี ิต (vitality)
ความเป
์นมาตรฐาน (standardization)
หมายถึง การที่ภาษาใดภาษาหนึ่ง่รั
ได บการจัด ระเบียบโดยการจัดทา
พจนานุกรม และตาราไวยากรณ ่ ซึ่งกาหนดระเบียบของการใช
่ภาษานั้น ๆ และ
มีการเรียนการสอนอย่างเป
่นทางการ มีการสร ่างตัวอักษร และกาหนดกฎเกณฑ ่
ของการสะกดคาและการอ ่านภาษาใดหรือวิธภาษาใดมีคุณสมบัติดังกล่าวนี้ถือ
่ามี
ว ความเป ่นมาตรฐานหรือ่นภาษามาตรฐาน
เป
ความเป
์นเอกเทศ (autonomy)
หมายถึง การที่ภาษาใดภาษาหนึ่งมีความเป
่นตัวของตัวเอง ่เป
ไม่น
สมาชิก่อยหรื
ย อภาษาย่อย (dialect) ของภาษาใด ภาษาไทยถิ่น่าง
ต ๆ ่มี
ไม
ความเป
่นเอกเทศ เพราะเป ่นภาษาย ่อยของภาษาไทย ในทางตรงข ่าม ภาษา
กะเหรี่ยง ภาษาขมุ ภาษาม
่ง ถึงแม
่จะมีสถานภาพด ่อยกว่าภาษาถิ่นในประเทศ
ไทย แต
่ก็มีความเป
่นเอกเทศ
ความมีประวัติอันยาวนาน (historicity)
หมายถึง การที่ภาษาใดภาษาหนึ่งถูก่ในสั
ใช งคมมาเป ่นเวลานาน หรือ
อีกนัยหนึ่พู
่งผู ดภาษานั้น ๆ สามารถสืบกลับไปหาบรรพบุรุษของตนในอดีตอัน
ยาวนานได ่ คุณสมบัตินี้มักอยู
่คู
่กับเอกลักษณ ่ของเจ
่าของภาษา ในแง ่สังคม
การเมือง ศาสนา หรือลักษณะอื่น ๆ ทางชาติพัน่ด ่วย
ธุ คุณสมบัต่อนีิข ้แยกความ
แตกต่างระหว ่างภาษาที่เพิ่งเกิดหรือที่มนุษ่สร
ย่างขึ้น กับภาษาธรรมชาติที่อ่คู ยู่
สังคมมาเป่นเวลานาน
ความมีชีวิต (vitality)
คุณสมบัต่อสุ
ิข ด่าย
ท หมายถึงการที่ภาษาใดภาษาหนึ่งมี่พู ผู ดที่ยังมี
ชีวิตอยู
่่พูผู ดในที่นี้หมายถึ่ที
งผู ่ภาษานั
่ใช ้น่นภาษาแม
เป ่ ภาษาที่ตายแล ่ว ่นเช
บาลี สันสกฤต ่มีไม คุณสมบัต่อนี
ิข ้ เพราะไม ่มีใครใช
่ตั้งแต
่เริ่มหัดพูดภาษาที่
สูญพัน่ไปแล
ธุ ่ว ่นภาษาอิ
เช นเดียนแดงบางภาษาในอเมริกา ก็่มี ไม คุณสมบัต่อนี ิข ้
2. ประเภทของภาษาจาแนกตามเกณฑ์คณ ุ สมบัติ
คุณสมบัตทิ งั ้ 4 ประการทีก่ ล่าวข้างต้น เมือ่ นามาเป็ นเกณฑ์จาแนกภาษาต่าง ๆ
เราจะได้ประเภทของภาษา 7 ประเภท ดังตารางข้างล่างนี้
ตาราง ประเภทของภาษาจาแนกตามคุณสมบัต ิ 4 ประการ

คุณสมบัติ ประเภทภาษา ตัวอย


์างภาษา
มาตรฐาน เอกเทศ ประวัติ มีชีวิต
+ + + + ภาษามาตรฐาน ไทย, อังกฤษ, เยอรมัน
+ + + - ภาษาคลาสสิก ละติน, สันสกฤต
+ + - - ภาษาประดิษ์ฐ เอสเปรันโต, ภาษาคอมพิวเตอร

- + + + ภาษาท
์องถิ่น ์ง,
ม ปกากะญอ
- - + + ภาษาย
์อย อีสาน,์านนา

- - - + ภาษาครีโอล Hawaiian Cle. Jamaican Cle.

- - - - ภาษาพิดจิ้น สถานการณ
์เฉพาะ, หมู
์เกาะ
เกณฑ์ดงั กล่าวถือเป็ นสากลและสามารถนามาจาแนกภาษาในสังคมได้ออกเป็ น
7 ประเภท ได้แก่
(1) ภาษามาตรฐาน (standard language) มีคณ ุ สมบัตคิ รบทุกข้อ
(2) ภาษาคลาสสิก (classical language) มีคณ ุ สมบัตเิ หมือนภาษามาตรฐาน
ทุกอย่างยกเว้นความมีชวี ติ
(3) ภาษาประดิษฐ์ (artificial language) ไม่มชี วี ติ และไม่มปี ระวัตคิ วามเป็ นมา
แต่มคี วามเป็ นมาตรฐาน และความเป็ นเอกเทศ
(4) ภาษาท้ องถิ่น (vernacular language) เกือบเหมือนภาษามาตรฐาน
ต่างกันตรงทีภ่ าษาท้องถิน่ ไม่มคี วามเป็ นมาตรฐาน
(5) ภาษาย่อย (dialect language) มีประวัตคิ วามเป็ นมาและมีชวี ติ แต่ไม่ม ี
ความเป็ นมาตรฐาน และความเป็ นเอกเทศ
(6) ภาษาครี โอล (cleole) มีคณ ุ สมบัตอิ ย่างเดียวคือความมีชวี ติ
(7) ภาษาพิดจิน (pidgin) ไม่มคี ณ ุ สมบัตใิ ดเลย เกิดขึ้นอย่างฉับพลันด้วยความ
จาเป็ นในการสือ่ สาร
เมื่อ่เกณฑ
ใช ่ดังกล
่าวกับภาษาในสังคมไทยแล ่ว สามารถแสดงตัวอย
่าง “ภาษาใน
สังคมไทยจาแนกตามเกณฑ ่คุณสมบัติ” ดังนี้
ประเภท ตัวอย์างภาษาในสังคมไทย
ภาษามาตรฐาน ภาษาไทยมาตรฐาน, ภาษาที่เรียนเป ่นภาษาต่าง
ประเทศ ่น เช ภาษาอังกฤษ, ภาษาจีน
ภาษาคลาสสิก ภาษาบาลี และ สันสกฤต
ภาษาประดิษ์ฐ ภาษาเบสิก, ภาษาฟอร ่แทรน, ภาษาคอมพิวเตอร ่ต
่าง ๆ
ภาษาท
์องถิ่น ภาษาม ่ง, กระเหรี่ยง, เขมร, มาเลย
่, ไทใหญ

ภาษาย
์อย ภาษาไทยถิ่นภาคต ่าง ๆ, ภาษาย่อยสังคม ่น
เช ภาษาผู
่หญิง,
ภาษาเด็ก, ภาษาคนมีการศึกษา
ภาษาครีโอล ยัง่พบหลั
ไม กฐานว
่ามีในประเทศไทย
ภาษาพิดจิ้น ภาษาอังกฤษของคนขายของแผงลอย, ภาษาของผู ่ใช
่แรงงาน
ที่มีนายจ
่างเป ่นชาวต
่างประเทศ, คนขับแท็กซี่
ภาษาครีโอล (อังกฤษ: creole language) เป็ นภาษาธรรมชาติทพี่ ฒั นาหรือ
ดัดแปลงมาจากการผสมกันของภาษาตัง้ แต่สองภาษาขึน้ ไป ซึ่งแตกต่างกับ
ภาษาพิดจินทีม่ คี วามซับซ้อนของไวยากรณ์น้อยลงมากเมื่อเทียบกับภาษาที่
นามาดัดแปลง ภาษาครีโอลมีความซับซ้อนทางภาษามากกว่าภาษาต้นตอ
เพราะได้รบั อิทธิพลจากทังสองภาษา
้ ทังยั
้ งมีระบบไวยากรณ์ทคี่ งที่ มีคาศัพท์
จานวนมาก และมีผพู้ ดู เป็ นภาษาแม่ ซึ่งทาให้ภาษาครีโอลแตกต่างจาก
ภาษาพิดจินพอสมควร

ป้ ายภาษาแอนที เลียนครี โอลที่ เขียนว่า


Lévé pié aw / Ni ti moun ka joué
la! หมายถึง "ขับช้า ๆ / มีเด็ก ๆ เล่นตรงนี้ !"
ภาษาพิดจิน (อังกฤษ: pidgin language) หรือ พิดจิน เป็ นภาษาทีม่ ี
คาศัพท์และความซับซ้อนของไวยากรณ์น้อยซึ่งใช้ส่อื สารกันในระหว่าง
กลุ่มคนเพียงไม่กี่กลุ่มทีใ่ ช้ภาษาไม่เหมือนกัน โดยคาศัพท์และหลัก
ไวยากรณ์ส่วนใหญ่มกั ยืมมาจากภาษาอื่นหลายภาษา การใช้ภาษาพิด
จินอาจพบได้ในบางสถานการ เช่น การค้าขาย หรือการสื่อสารกัน
ระหว่างกลุ่มด้วยภาษาอื่นๆ ทีต่ ่างไปจากภาษาของประเทศทีต่ นอาศัยอยู่
ซึ่งใช้ภาษาไม่เหมือนกัน โดยภาษาพิดจินมักไม่มผี นู้ ามาพูดเป็ นภาษาแม่
แต่จะเรียนรูเ้ ป็ นภาษาทีส่ องตามสถานการณ์แทน
2. ภาษาในสังคมไทยจาแนกตามเกณฑ์ห น้ าที่
ภาษาต่าง ๆ มีหน้ าทีท่ างสังคมต่างกัน หน้าทีท่ างสังคมหมายถึงบทบาท
ของภาษาในสังคม หรือการทีค่ นในสังคมใช้ภาษาต่าง ๆ ทากิจกรรมอะไร ในสังคมใด
สังคมหนึ่งอาจจาแนกตามหน้าทีท่ างสังคมได้เป็ น ประเภทต่างๆได้ 10 ประเภทดังนี้
(ดัดแปลงมาจากของ Stewart, 1968)
(1) ภาษาราชการ (official language) ภาษาราชการหมายถึงภาษาทีใ่ ช้
ในกิจกรรมระดับชาติ เช่นในการประชุมรัฐสภา การประกาศทางราชการ ในวงการ
ต่าง ๆของรัฐ ในหนังสือราชการทีเ่ ป็ นทางการต่าง ๆ และในสือ่ มวลชนทุกประเภท
ในสังคมไทยภาษาทีท่ าหน้าทีเ่ ป็ นภาษาราชการ ได้แก่ภาษาไทยมาตรฐาน
(2) ภาษาเมืองหลวง (capital language) ภาษาเมืองหลวงคือภาษาทีใ่ ช้
ในอาณาบริเวณเมืองหลวงของประเทศ ไม่จาเป็ นต้องเป็ นภาษาเดียวกับภาษา
ราชการ ในประเทศอินเดียภาษาเมืองหลวงได้แก่ภาษาฮินดี ซึง่ ใช้โดยคนส่วนใหญ่ใน
กรุงนิวเดลลี แต่ภาษาราชการของอินเดียใช้ทงั ้ ภาษาฮินดีและภาษาอังกฤษ
ในสังคมไทยภาษาเมืองหลวงได้แก่ภาษาไทยกรุงเทพ ซึง่ เป็ นภาษาที่เป็ น
พื้นฐานของภาษาไทยมาตรฐาน
หลายคนเข้าใจว่า ภาษาไทยกรุงเทพ กับ ภาษาไทย
มาตรฐาน เป็ นภาษาเดียวกัน อันทีจ่ ริงแล้วความเข้าใจดังกล่าวไม่ผดิ
เพราะเมื่อพิจารณาลักษณะเนื้อหาของภาษาทังสองแล้ ้ ว จะเห็นได้ว่าแทบ
เป็ นสิง่ เดียวกัน แต่จะกล่าวว่าภาษาไทยกรุงเทพกับภาษาไทยมาตรฐาน
เป็ นภาษาเดียวกันโดยสมบูรณ์ก็ไม่ถูกต้องนัก นักภาษาศาสตร์จงึ ใช้ช่อื
ทังสองส
้ าหรับการมองภาษา ทีเ่ หลื่อมลา้ กันจากสองมิติ คือในแง่ถิ่น
หรือพืน้ ที่ เรียกว่าภาษาไทยกรุงเทพ แต่ในแง่บทบาทประจาชาติความ
ยอมรับ หรือความสาคัญ เรียกว่าภาษาไทยมาตรฐาน
(3) ภาษาภูมิภาค (provincial language) หมายถึง ภาษาระดับภาคทีใ่ ช้ในต่างจังหวัดซึง่ ไม่ใช่เขตเมือง
หลวง หลายประเทศทีเ่ ป็ นสังคมหลายภาษามักมีภาษาหลายภาษาทีท่ าหน้าทีเ่ ป็ นภาษาภูมภิ าค ซึง่ แตกต่างจากภาษา
เมืองหลวง ในสังคมไทยภาษาภูมภิ าค ได้แก่ภาษาไทยถิน่ เหนือ ภาษาไทยถิน่ อีสาน ภาษาไทยถิน่ ใต้ ภาษาไทยถิน่
กลาง ภาษาไทยถิน่ อืน่ ๆ ระดับจังหวัดก็จดั อยู่ในประเภทนี้ดว้ ย
(4) ภาษานานาชาติ (international language) หมายถึง ภาษาทีท่ าหน้าทีเ่ ป็ นภาษากลาง (lingua franca)
สาหรับสือ่ สารกับประเทศอืน่ หรือชาวต่างประเทศทีอ่ ยู่ในประเทศ
แทบจะกล่าวได้เลยว่าทุกสังคมในโลกใช้ภาษาอังกฤษเป็ นภาษานานาชาติ รวมทัง้ สังคมไทยด้วย
(5) ภาษากลางในประเทศ (Local lingua franca) คือภาษาทีท่ าหน้าทีเ่ ป็ นสือ่ กลางในการติดต่อสือ่ สาร
ภายในประเทศ ในสังคมไทยภาษาทีท่ าหน้ าทีน่ ้ ไี ด้แก่ภาษาไทยมาตรฐาน ซึง่ ทาหน้าทีค่ ล้ายภาษาอังกฤษ แต่เป็ นระดับ
ภายในประเทศ กล่าวคือไม่ว่าจะเป็ นคนไทยกลุ่มชาติพนั ธุ์ใด หรือมาจากท้องถิน่ ใด เมือ่ มาประชุมกัน หรือติดต่อค้าขาย
กันโดยทีไ่ ม่รภู้ าษาของกันและกัน เขาเหล่านัน้ จะใช้ภาษาไทยมาตรฐานสือ่ ความกัน นอกจากนัน้ ภาษาประจาภาคต่าง
ๆก็ทาหน้ าทีน่ ้ เี ช่นเดียวกัน แต่ในระดับทีต่ ่ากว่า เช่นภาษาไทยถิน่ ภาคอีสาน หรือภาษาลาวจะทาหนาทีเ่ ป็ นภาษากลาง
ของผู้คนกลุ่มชาติพนั ธุ์ต่าง ๆในภาคอีสาน
6) ภาษาเฉพาะกลุม่ (group language) หมายถึง ภาษาทีใ่ ช้ส่อื สารเฉพาะคน
ในกลุ่มชาติพนั ธุเ์ ดียวกัน โดยเฉพาะภายในบ้าน หรือภายในชุมชนของตน ภาษาไทยถิน่
ทุกภาษา ภาษาย่อยของภาษาไทยต่างๆ และภาษาชนกลุ่มน้อยทัง้ หลายทาหน้าทีน่ ี้ทงั ้ สิน้
เช่น ภาษาจีนต่าง ๆ ภาษาชาวเขา เช่น ม้ง เย้า ลีซอ กะเหรีย่ ง ภาษาตระกูลมอญ-เขมร
เช่น กูย มลาบรี (ผีตองเหลือง) ญัฮกูร์ หรือ ชาวบน เป็ นต้น
(7) ภาษาการศึกษา (educational language) หมายถึง ภาษาทีใ่ ช้เป็ นสื่อใน
การเรียนการสอนทีโ่ รงเรียน มหาวิทยาลัย และสถาบันการศึกษาอื่น ๆ ในสังคมส่วนใหญ่
ภาษาทีท่ าหน้าทีเ่ ป็ นภาษาการศึกษา กับภาษาราชการ มักเป็ นภาษาเดียวกัน เช่น
สังคมไทย ภาษาไทยมาตรฐานทาหน้าทีท่ งั ้ สองอย่าง แต่บางสังคมอาจเป็ นคนละภาษาก็
ได้ เช่นในประเทศมาเลเชีย ภาษาการศึกษาอาจเป็ นภาษามาเลย์องั กฤษ หรือจีน แล้วแต่
สถาบัน แต่ภาษาราชการต้องเป็ นภาษามาเลย์
(8) ภาษาสอนเป็ นวิชา (school-subject language) คือภาษาทีส่ อนในโรงเรียนหรือ
สถาบันต่างๆ เพื่อให้ผูเ้ รียนเรียนเป็ นภาษาทีห่ นึ่ง ภาษาทีส่ องหรือภาษา ต่างประเทศ ใน
สังคมไทยภาษาทีส่ อนเป็ นวิชามีหลายภาษา ทัง้ ภาษาไทยมาตรฐานเอง และภาษาตะวันตกกับ
ตะวันออก เช่น ภาษาอังกฤษ ฝรังเศส ่ เยอรมัน อิตาเลียน สเปน โปรตุเกส รัสเชีย ญี่ปุ่น จีน
เกาหลี เวียดนาม มาเลย์ เขมร บาลี และ สันสกฤต เป็ นต้น
(9) ภาษาศาสนา (religious language) คือ ภาษาทีใ่ ช้ในกิจกรรมทางศาสนาใน
สังคมไทย ภาษาศาสนาทีส่ าคัญ ได้แก่ ภาษาบาลี ใช้ในกิจกรรมพุทธศาสนา เช่น พิธกี รรมที่
ศักดิสิ์ ทธิและเป็
์ นทางการ ภาษาไทยมาตรฐานก็ทาหน้าทีน่ ี้ดว้ ย แต่ไม่เป็ นทางการเท่าภาษาบาลี
ภิกษุมกั ใช้ภาษาไทยในการเทศน์สงสอนฆราวาส
ั่
นอกจากนัน้ ภาษาอังกฤษ ภาษาอารบิก และภาษาจีน อาจทาหน้าทีเ่ ป็ นภาษาศาสนา
ด้วย ในกิจกรรมทางศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม และศาสนาพุทธนิกายมหายานหรือแบบจีน
ตามลาดับ
(10) ภาษาวรรณกรรม (literary language) หมายถึงภาษาทีใ่ ช้
เขียนวรรณกรรม หรือผลงานทีต่ ีพมิ พ์เผยแพร่ ในสังคมไทย ภาษาไทย
มาตรฐานทาหน้าทีน่ ี้ ภาษาอังกฤษก็ทาหน้าทีน่ ี้ด้วยในวรรณกรรมบาง
ประเภท ภาษาประจาภาค เช่น ภาษาอีสาน ก็อาจทาหน้าทีน่ ี้ด้วย เช่น ใน
วรรณกรรมท้องถิ่นของอีสาน เป็ นต้น

❖จะสังเกตได้ว่าในจานวนภาษาทังหมดในสั
้ งคมไทย ภาษาไทยมาตรฐาน
ทาหน้าทีม่ ากทีส่ ุด โดยเฉพาะหน้าทีท่ สี่ าคัญ เช่นเป็ น ภาษาราชการ
ภาษาการศึกษา ภาษากลางในประเทศ ภาษาวรรณกรรม และแม้แต่
ภาษาศาสนา ส่วนหน้าทีอ่ ่นื ๆ ก็แบ่งกันไปในภาษาอื่น ๆ ดัง สรุป
ประเภทของภาษาตามหน้าที่ ดังนี้
สรุป ภาษาในสังคมไทยจาแนกประเภทตามหน้ าที่

ประเภทตามหน้ าที่ ภาษาในสังคมไทย


ภาษาราชการ ภาษาไทยมาตรฐาน
ภาษาเมืองหลวง ภาษาไทยกรุงเทพ
ภาษาภูมภิ าค ภาษาไทยถิน่ ประจาภาคทัง้ สี่ และภาษาไทยถิน่ ประจาจังหวัด
ภาษานานาชาติ ภาษาอังกฤษ ภาษาจีนแมนดาริน (ใช้บา้ ง)
ภาษากลางในประเทศ ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาประจาภาค
ภาษาเฉพาะกลุ่ม ภาษาไทยถิน่ ภาษาย่อยของไทยและภาษาชนกลุ่มน้อยต่าง ๆ
ภาษาการศึกษา ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาอังกฤษ (ใช้บา้ ง)
ภาษาสอนเป็นวิชา ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาต่างประเทศต่าง ๆ
ภาษาศาสนา ภาษาบาลี ภาษาไทยมาตรฐาน
ภาษาวรรณกรรม ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาอังกฤษ ภาษาไทยถิน่ ประจาภาค
(ใช้บา้ ง)

You might also like