You are on page 1of 15

คำที่มาจากภาษา

ต่างประเทศ
านท 1
รวบรวมและบอกความหมายของคำภาษาต่
ํ าง
ประเทศที่ใช้ในภาษาไทย
านองเสนาะ
มฐ. ท 4.1ป.6/3
บทร
การยืมคำภาษาต่ างประเทศมาใช้ ในภาษาไทย ้

การยืมคำภาษาต่างประเทศมาใช้ในภาษาไทยทำให้ภาษามี อยกรองท
ความเจริ ญงอกงามและมีคำใช้มากขึ้น ลักษณะเช่นนี้ไม่
ี ้ งทางการทูต การค้าและวิทยาการต่างๆ มีการ
เป็ นการเสี ยหายประการใด ทั้งนี้เพราะมีการติดต่อระหว่างประเทศทั
รับความรู ้ซ่ ึ งกันและกัน รวมทั้งการถ่ายทอดวัฒนธรรมและศาสนา จึงมีคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทยหลาย
ภาษา ได้แก่ ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาเขมร ภาษาจีน คำชวา ่ คำมลายู คำภาษาอังกฤษ คำฝรั่งเศส คำโปตุเกส
คำภาษาอาหรับ เป็ นต้น เป็ นโวหารต่าง ๆ

สาเหตุที่มีการยืมคำภาษาต่ างประเทศมาใช้ ในภาษาไทย

ความสัมพันธ์ โดยทางถิน่ ฐาน ได้แก่ ลักษณะทางด้านภูมิศาสตร์ของผูพ้ ดู ภาษาทั้งสองอยูใ่ กล้ชิดกัน ประชาชนทั้ง


สองประเทศย่อมมีการติดต่อสื่ อสารซึ่ งกันและกัน ย่อมมีการแลกเปลี่ยนหรื อใช้ภาษาร่ วมกันได้ เช่น มอญ เขมร
จีน
ความสัมพันธ์ ทางการค้า การเจรจาในเชิงธุรกิจหรื อการโฆษณาสิ นค้าทุกประเภทจำเป็ นต้องใช้ภาษา ประเทศไทย
เป็ นศูนย์กลางการค้ามาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบนั มีชนชาติอื่น ๆ เข้ามาติดต่อค้าขาย ทำให้มีถอ้ ยคำในภาษาของ
ชนชาติน้ นั ๆ เข้ามาปะปนอยูใ่ นภาษาไทยเป็ นจำนวนมาก เช่น จีน มลายู โปตุเกส
ความสัมพันธ์ ทางการทูต การเจริ ญสัมพันธไมตรี ทางการทูต ในการอพยพโยกย้ายหรื อในการติดต่อทางการทูต
ย่อมทำให้ภาษาของเจ้าของถิ่นเดิมหรื อผูอ้ พยพโยกย้ายมาใหม่นำมาใช้ร่วมกัน เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส
ความสัมพันธ์ ทางการวัฒนธรรมและศาสนา ภาษาเป็ นส่ วนหนึ่งของวัฒนธรรม ซึ่ งวัฒนธรรมนั้นสามารถไหลได้
สามารถถ่ายทอดให้กนั และกันได้ ซึ่ งส่ วนมากแล้วประเทศที่มีวฒั นธรรมเจริ ญกว่าจะถ่ายทอดวัฒนธรรมไปยัง
ประเทศที่มีวฒั นธรรมด้อยกว่า
ความสัมพันธ์ ทางการศึกษา จากการที่คนไทยเดินทางไปศึกษายังต่างไปเทศ ทำให้ คนไทยมีโอกาสได้ใช้และพูด
ภาษาอื่น ๆ จึงนำภาษามาใช้ในภาษาของตน ซึ่ งการเดินทางไปต่างประเทศก็เช่นเดียวกันก็ยอ่ มมีโอกาสได้ใช้
ภาษาต่างประเทศ

ภาษาต่ างประเทศที่ใช้ ในภาษาไทย

ภาษาไทยรับอิทธิพลมาจากหลายประเทศ เช่น อังกฤษ จีน เขมร บาลี-สันสกฤต มลายู เป็ นต้น บางคำก็
จำเป็ นต้องตกแต่งแปลงรู ปตามสมควร บางคำก็ใช้คำทับศัพท์ไปเลย บางคำก็บญั ญัติคำไทยมาใช้แทน เป็ นต้น
2
คำไทยบัญญัติที่มีใช้ ในปัจจุบัน ได้แก่

คำภาษาต่ างประเทศ คำไทย


แบงค์ ธนาคาร
ออฟฟิ ศ ที่ทำงาน, สำนักงาน
แสตมป์ ดวงตราไปรษณี ยากร
รถเมล์ รถโดยสารประจำทาง
ลอตเตอรี่ สลากกินแบ่งรัฐบาล
บอร์ด ป้ ายนิเทศ
เซฟ ตูน้ ิรภัย
หลอดนีออน หลอดเรื องแสง
ฟรี ได้เปล่า, ให้เปล่า
เชียร์ สนับสนุน
ทีวี โทรทัศน์
โปสเตอร์ แผ่นป้ ายโฆษณา
โปรโมท จัดรายการ
เทป แถบบันทึกเสี ยง
แท็งก์ ถังเก็บน้ำ

อย่างไรก็ตาม มีคำบางคำที่ยงั ไม่ได้บญั ญัติคำไทยขึ้นมาใช้ เรี ยกว่า คำทับศัพท์ เช่น นอต เคมี
ฟุตบอล บาสเกตบอล ฟิ สิ กส์ ไมโครโฟน ฯลฯ

คำยืมภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษเป็ นภาษาในตระกูลอินโด-ยุโรเปี ยน มีวิภตั ติปัจจัย เช่นเดียวกับภาษาบาลี-สันสกฤต ภาษาอังกฤษได้
รับความนิยมใช้เป็ นภาษาเพื่อการสื่ อสารมากที่สุด มีประเทศต่าง ๆ ยอมรับภาษาอังกฤษเป็ นภาษาราชการ ภาษา
อังกฤษจึงกลาย เป็ นภาษาสากลของชาวโลก คนไทยได้ศึกษาภาษาอังกฤษเป็ นภาษาที่สองมาเป็ นเวลานาน จน
ภาษาอังกฤษเข้ามามีอิทธิพลต่อชีวิตของคนไทยมากขึ้น ทั้งในด้านการพูดและการเขียนสื่ อสารในชีวิตประจำวัน
โดยเฉพาะในปัจจุบนั คนไทยศึกษาความรู้และวิทยาการต่างๆ จากตำราภาษาอังกฤษ และสนใจเรี ยนรู ้ภาษา
อังกฤษกันมากขึ้น คำยืมจากภาษาอังกฤษจึงหลัง่ ไหลเข้ามาในภาษาไทยมากขึ้นทุกขณะ ทั้งในวงการศึกษา ธุรกิจ
การเมือง การบันเทิง เป็ นต้น
ในสมัยกรุ งศรี อยุธยา ไทยติดต่อค้าขายกับอังกฤษจึงรับคำภาษาอังกฤษเข้ามาใช้เรี ยกเทคโนโลยีต่าง ๆ โดย
ลักษณะการนำคำภาษาอังกฤษมาใช้ในภาษาไทยมีดงั นี้
3
๑. ใช้คำทับศัพท์ คือ การออกเสี ยงเหมือนคำภาษาเดิมโดยตรง เพราะยังไม่มีคำภาษาไทยใช้
๒. ใช้คำไทยที่บญั ญัติข้ ึนแทนคำภาษาอังกฤษ
๓. ใช้ท้ งั คำภาษาอังกฤษเดิมและศัพท์บญั ญัติ แบ่งเป็ น ๒ กรณี ดังนี้
๑) มีคำภาษาไทยใช้แล้ว แต่นิยมใช้ท้ งั ๒ ภาษา
๒) มีคำภาษาไทยใช้แล้ว แต่นิยมใช้คำภาษาอังกฤษเพราะความคุน้ เคย
๔. ใช้คำไทยแทรกเข้าไป
นอกจากนี้ไทยเรายังยืมคำภาษาอื่น ๆ มาใช้อีกหลายภาษา เช่น ภาษาชวา ทมิฬ เปอร์เซี ย โปรตุเกส พม่า
คำในภาษาไทยที่นำมาจากภาษาอังกฤษ
กรัม วิตามิน ลิตร ฟุต โอโซน ลินิน
อะลูมิเนียม เคมี วัคซีน เบนซิ น เซนติเมตร ไอศกรี ม
เมตร ลอตเตอรี่ ออฟฟิ ศ ดอกเตอร์ ดอลลาร์ ฟุตบอล
ก๊าซ แก๊ส เชิ้ต โน้ต เซ็น ช็อกโกแลต
เช็ค ฯลฯ

คำยืมภาษาจีน
ภาษาจีนมีรูปลักษณะภาษาเป็ นภาษาคำโดด เช่นเดียวกับภาษาไทยไม่มีเสี ยงควบกล้ำ มีเสี ยงสู งต่ำ มีการสร้างคำ
ขึ้นมาใช้ใหม่ มีโครงสร้างประโยคเช่นเดียวกัน การเรี ยงลำดับคำเข้าประโยคก็เช่นเดียวกับภาษาไทยต่างกันแต่วา่
ภาษาจีนเอาคุณศัพท์ไว้หน้านาม เอากริ ยาวิเศษณ์ไว้หน้ากริ ยาและมีเงื่อนไขอื่น ๆ อีกและมีลกั ษณะนาม ประเทศ
จีนมีเนื้อที่กว้างใหญ่ไพศาล ภาษาจีนจึงแตกต่างกันไปอย่างมากจนกลายเป็ นภาษาถิ่นต่าง ๆ ที่สำคัญคือ ภาษา
กวางตุง้ ภาษาจีนแคะ ภาษาฮกเกี้ยน ภาษาแต้จิ๋ว ภาษาไหหลำ ภาษาเซี ยงไฮ้ ภาษานิงโปหรื อเลี่ยงโผ และภาษาจีน
กลาง ซึ่ งเป็ นภาษาราชการปัจจุบนั นิยม เรี ยกว่า "ภาษาแมนดา-ริ น" ไทยและจีนเป็ นชนชาติที่มีความสัมพันธ์
เกี่ยวข้อง กันมาเป็ นเวลาอันยาวนานมากตั้งแต่ก่อนสมัยประวัติศาสตร์ไทยมาถึงสมัยปั จจุบนั ถ้อยคำภาษาจีนจึง
เข้ามาปะปนอยูใ่ นภาษาไทยมากมายจากหลายสาเหตุ ทั้งความสัมพันธ์ทางด้านถิ่นที่อยูอ่ าศัยตามสภาพภูมิศาสตร์
ความสัมพันธ์ทางด้านเชื้อชาติ ความสัมพันธ์ทางด้านประวัติศาสตร์ ความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรมและ
ประเพณี ความสัมพันธ์ทางด้านการค้า เป็ นต้น เรายืมคำภาษาจีนมาใช้หลายลักษณะ เช่น ทับศัพท์ทบั ศัพท์เสี ยง
เปลี่ยนไป ใช้คำไทยแปลคำจีน ใช้คำไทยประสมหรื อซ้อนกับคำจีนเป็ นต้น
ไทยยืมคำภาษาจีนมาใช้ผา่ นทางการค้าขายตั้งแต่สมัยโบราณ โดยคำยืมภาษาจีนมีลกั ษณะดังนี้
๑. เป็ นคำพยางค์เดียว
๒. ใช้เสี ยงวรรณยุกต์แยกความหมายของคำ
การอ่ านคำยืมภาษาจีน มีหลักดังนี้
๑. ออกเสี ยงให้ใกล้เคียงกับภาษาเดิม
๒. ปรับการออกเสี ยงให้เหมาะสมกับการออกเสี ยงของคนไทย
คำภาษาไทยที่ดดั แปลงมาจากภาษาจีน
อั้งโล่ ตะหลิว เกี๊ยว ปุ้ งกี๋ ลังถึง บะหมี่
เกาเหลา แป๊ ะซะ ก๋ วยเตี๋ยว เต้าส่ วน เต้าหู ้ เต้าทึง
เต้าฮวย พะโล้ เฉาก๊วย ตั้งฉ่าย กวยจับ๊ แฮ่ก๊ ึน
4
บะฉ่อ อั้งยี่ ฯลฯ

คำยืมภาษาเขมร
ภาษาเขมรเป็ นภาษาคำโดด จัดอยูใ่ นตระกูลมอญ-เขมร คำดั้งเดิมส่ วนใหญ่เป็ นคำพยางค์เดียวและเป็ นคำโดด ถือ
เอาการเรี ยงคำเข้าประโยคเป็ นสำคัญเช่นเดียวกับภาษาไทย แต่มีลกั ษณะบางอย่างต่างไปจากภาษาไทย ไทยกับ
เขมรมีความสัมพันธ์กนั มาเป็ นเวลาอันยาวนาน จึงทำให้มีการหยิบยืมถ้อยคำภาษาของกันและกัน ไทยยืมคำภาษา
เขมรมาใช้เป็ นจำนวนมาก ภาษาเขมรนอกจากจะใช้กนั ในประเทศกัมพูชาแล้ว ยังใช้กนั ในบรรดาคนไทยเชื้อสาย
เขมรทางจังหวัดต่างๆ บางจังหวัดทางภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือและภาคตะวันออกของประเทศไทยด้วย คำเขมร
เข้าสู่ ภาษาไทยโดยทางการเมือง ทางวัฒนธรรมและทางภูมิศาสตร์ เรายืมคำเขมรมาใช้โดยการทับศัพท์ ทับศัพท์
เสี ยงเปลี่ยนไป และเปลี่ยนเสี ยงเปลี่ยนความหมาย
ไทยกับเขมรมีการยืมคำมาใช้ต้ งั แต่สมัยโบราณ โดยคำยืมภาษาเขมรมีลกั ษณะดังนี้
๑. มักขึ้นต้นด้วย บัง บัน บำ และ บรร
๒. มักขึ้นต้นด้วยเสี ยงสระ อำ
การอ่ านคำยืมภาษาเขมร มีหลักดังนี้
๑. ออกเสี ยงตามรู ปคำ
๒. ออกเสี ยงพยางค์ที่ ๒ เหมือนมี ห นำ
คำภาษาไทยที่ดดั แปลงมาจากภาษาเขมร
กังวล ขจร ขยาย เผอิญ สำราญ จัด
กรวด กระทรวง กระเพาะ กระแส ธำมรงค์ จรวด
บรรจง เสวย สาแหรก เรี ยม ฯลฯ

คำยืมภาษาบาลีและสันสกฤต
ภาษาบาลีเป็ นภาษาในตระกูลอินโด-ยุโรเปี ยน รู ปลักษณะภาษาเป็ นภาษามีวิภตั ติปัจจัย คือจะต้องเปลี่ยนรู ปคำ
ตามเพศ พจน์ หรื อกาล ภาษาบาลีมีถิ่นกำเนิดในแคว้นมคธ ประเทศอินเดีย บางทีจึงเรี ยกว่า "ภาษามคธ" เข้ามา
ปะปนอยูใ่ นภาษาไทย เพราะสาเหตุจากการยอมรับนับถือศาสนาพุทธของคนไทยเป็ นสำคัญ
ภาษาสันสกฤตเป็ นภาษาในตระกูลอินโด-ยุโรเปี ยน รู ปลักษณะภาษาเป็ นภาษา มีวิภตั ดิปัจจัยเช่นเดียวกับภาษา
บาลี ชาวอินเดียถือว่าภาษาสันสกฤตเป็ นภาษาชั้นสู ง คัมภีร์ และบทสวดต่าง ๆ มักจะจารึ กเป็ นภาษาสันสกฤต
ภาษาสันสกฤตเข้ามาปะปนอยูใ่ น ภาษาไทยเพราะคนไทยเคยยอมรับนับถือศาสนาพราหมณ์ ซึ่ งบันทึกคำสอน
ด้วยภาษาสันสกฤตมาก่อน แม้จะยอมรับนับถือศาสนาพุทธเป็ นศาสนาประจำชาติแล้วก็ตาม แต่คนไทยก็ยงั ยึดถือ
ปฏิบตั ิในพิธีกรรมบางอย่างของศาสนาพราหมณ์มาจนถึงปั จจุบนั คนไทยจึงศึกษาภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต
ควบคู่กนั ไป

มักใช้เฉพาะคำศัพท์ทางศาสนาและวรรณคดี โดยคำยืมภาษาบาลีและสันสกฤตมีลกั ษณะดังนี้


๑. เป็ นคำหลายพยางค์
๒. ตัวสะกดไม่ตรงตามมาตรา
5
๓. นิยมใช้ตวั การันต์
๔. ประสมด้วยพยัญชนะ ฆ ฌ ญ ฎ ฏ ฑ ฒ ณ ธ ภ ศ ษ ฬ
๕. เป็ นคำที่มีพยัญชนะสะกด ๒ ตัว แต่ออกเสี ยงเพียงตัวเดียว
การอ่ านคำยืมภาษาบาลีสันสกฤต มีหลักดังนี้
๑. ไม่ออกเสี ยงสระที่กำกับอยูท่ ี่ตวั สะกด
๒. คำหลายพยางค์ ต้องออกเสี ยงพยัญชนะท้ายของพยางค์แรก
คำในภาษาไทยทีด่ ดั แปลงมาจากภาษาบาลี-สั นสกฤษ
กุมาร ทารก บุรุษ มนุษย์ ทูต โลก
วานร โอชา เยาว์ กตัญญู กนิษฐา กษัตริ ย ์
เชษฐา นิล กรรมการ เศวต อนันต์ บวร
สุ นทร พิศาล อาสนะ นายก ภิกษุ อาลัย
เทศน์ โฆษณา โกรธ กรุ ณา สุ จริ ต ทุจริ ต
อาจิณ ไศล ประมาท ประโยชน์ ประวัติ วาสนา
ศาสนา ตรุ ษ สมร อดิเรก อุปราช ฤกษ์
โบสถ์ นุช เณร อโหสิ อหิ วาต์ เคราะห์
สรรพ พักตร์ โอษฐ์ ทันต์ ฯลฯ

สาระเพิม่ เติม
การยืมคำจากภาษาต่างประเทศมาใช้ เป็ นวิธีเพิ่มคำวิธีหนึ่ง โดยไม่ตอ้ งบัญญัติศพั ท์ใหม่ข้ ึนใช้
การยืมคำจากภาษาต่างประเทศมาใช้ตอ้ งนำมาใช้ให้ถูกต้อง
ส่ วนใหญ่จะยืมคำมาจากภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาเขมร และภาษาบาลี -สันสกฤษ นอกเหนือจากนี้ มีการยืมมา
ใช้ไม่มากนัก

แบบฝึ กเรื่อง คำที่มาจากภาษาต่าง


ประเทศ
บกล้ำ
ตอนที่ ๑ เลือกคำตอบที่ถูกต้อง
คำในข้อใดมาจากภาษาเขมร
ภิกษุ
๒) พ่อ
๓) กังวล
๔) สติ
คำในข้อใดต่ างจากพวก
6
เมตร
๒) มอเตอร์ไซค์
๓) กอล์ฟ
๔) ออกซิ เจน
ข้อใดเขียนผิด
เทคโนโลยี
๒) เทป
๓) ลิฟท์
๔) แบงค์
คำใดเป็ นคำที่มาจากภาษาจีน
บุหงา
๒) โอชา
๓) กวยจับ๊
๔) โอษฐ์
“เตี่ยมีร้านขายติ่มซำ บะหมี่ และเฉาก๊วยหลายร้ าน” ข้อความนี้มีคำที่มาจากภาษาจีนกี่คำ
๑ คำ
๒) ๒ คำ
๓) ๓ คำ
๔) ๔ คำ
คำใดต่อไปนี้มาจากภาษาชวา
เต้าหู ้
๒) โฆษณา
๓) เก๋ ง
๔) ส่ าหรี

คำใดต่อไปนี้หมายถึง “เสือ”
ขาล
๒) กุมาร
๓) เฮง
๔) เซี ยมซี
“กรรมทั้งหมดที่เราทำไว้กบั ท่ าน เราขอ.....กรรมนั้นด้ วย” ควรเติมคำใดในช่องว่าง
แต๊ะเอีย
๒) คูปอง
๓) คารวะ
7
๔) อโหสิ
คำใดมาจากภาษาอังกฤษ
ปุ้ งกี๋
๒) วัคซี น
๓) กันดาร
๔) บรรเทา
ข้อใดหมายถึง “ผู้อยู่ครองเรือน”
ฆราวาส
๒) แก๊ง
๓) เช็งเม้ง
๔) เค้ก

ตอนที่ ๒ เขียนคำอ่านต่อไปนี้
วัคซี น อ่านว่า ..........................................................................
ดอลลาร์ อ่านว่า ..........................................................................
ลิตร อ่านว่า ..........................................................................
ลิฟต์ อ่านว่า ..........................................................................
ลอตเตอรี่ อ่านว่า ..........................................................................
แบงก์ อ่านว่า ..........................................................................
ดอกเตอร์ อ่านว่า ..........................................................................
เต็นท์ อ่านว่า ..........................................................................
คอนเสิ ร์ต อ่านว่า ..........................................................................
ไกด์ อ่านว่า ..........................................................................

ใบงาน เรื่อง คำที่มาจากภาษาต่าง


ประเทศ
บกล้ำ
ตอนที่ ๑ เปลี่ยนคำที่พิมพ์ตวั หนาให้เป็ นตัวหนาให้เป็ นคำไทยบัญญัติ

ฉันนัง่ รถเมล์ไปโรงเรี ยน ..................................................................


คุณพ่อกำลังทำงานในออฟฟิ ศ ..................................................................
คุณแม่ไปฝากเงินที่แบงก์ ..................................................................
พี่แนนมีอาชีพเป็ นไกด์ ..................................................................
8
คุณอาขับรถเร็ วมาก ฉันกลัวแกเบรกไม่ทนั ............................................................
น้องมอมชอบนัง่ มอเตอร์ไซค์ ..................................................................
ผมเชียร์นกั กีฬาทีมชาติไทย ..................................................................
น้องเจอเหรี ยญ ๕ บาท ที่ฟุตปาธ ..................................................................
สุ มาลีส่งการ์ดอวยพรวันเกิดให้เพื่อน ..................................................................
เราต้องติดแสตมป์ ทุกครั้งเมื่อส่ งจดหมาย .............................................................

ตอนที่ ๒ นำคำที่กำหนดให้เติมลงในช่องว่างให้ถูกต้องตามภาษาที่มาของคำ

กระทรวง เซ็งลี้ ศาสนา ฟุตบอล ตงฉิ น


บู๊ ขจร ดอกเตอร์ ปั ญญา ทะเลาะ
สุ ภาษิต บรรจง ซาลาเปา โทษ ไอศกรี ม
ช็อกโกแลต หลงจู๊ เกลอ ฟุต กษัตริ ย ์

ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน
....................................................... ....................................................
....................................................... ....................................................
....................................................... ....................................................
....................................................... ....................................................
....................................................... ....................................................

ภาษาเขมร ภาษาบาลี-สั นสกฤษ


....................................................... ....................................................
....................................................... ....................................................
....................................................... ....................................................
....................................................... ....................................................
....................................................... ....................................................
เฉลย แบบฝึ ก เรื่อง คำที่มาจากภาษาต่ างประเทศ

ตอนที่ ๑
๓)
๒. ๒)
๓. ๑)
๔. ๓)
9
๕. ๔)
๖. ๔)
๗. ๑)
๘. ๔)
๙. ๒)
๑๐. ๑)

ตอนที่ ๒
วัก – ซี น
๒. ดอน – ล่า
๓. ลิด
๔. ลิบ
๕. ล้อด – เตอ – รี่
๖. แบ๊ง
๗. ด๊อก – เต้อ
๘. เต๊น
๙. คอน – เสิ ด
๑๐. ไก๊

เฉลย ใบงาน เรื่อง คำที่มาจากภาษาต่ างประเทศ

ตอนที่ ๑
รถโดยสารประจำทาง
๒. สำนักงาน
๓. ธนาคาร
10
๔. มัคคุเทศก์
๕. หยุด
๖. รถจักรยานยนต์
๗. ให้กำลังใจ
๘. บาทวิถี
๙. บัตร
๑๐. ดวงตราไปรษณี ยากร

ตอนที่ ๒
ภาษาอังกฤษ
ฟุตบอล ดอกเตอร์ ไอศกรี ม ช็อกโกแลต ฟุต
ภาษาจีน
เซ็งลี้ ตงฉิน บู๊ ซาลาเปา หลงจู๊
ภาษาเขมร
กระทรวง ขจร ทะเลาะ บรรจง เกลอ
ภาษาบาลี – สันสกฤษ
ศาสนา ปัญญา สุ ภาษิต โทษ กษัตริ ย ์

แบบทดสอบเรื่อง คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
บกล้ำ
คำชี้แจง ๑. แบบทดสอบเป็ นแบบปรนัยมีท้ งั หมด จำนวน ๑๐ ข้อ ๑๐ คะแนน
๒. ให้นกั เรี ยนทำเครื่ องหมายกากบาท ( X ) ในลงช่องตัวเลือก ก ข ค และ ง
ที่ถูกต้องเพียงตัวเลือกเดียวลงในกระดาษคำตอบ

๑. เหตุใดจึงมีการยืมคำภาษาต่างประเทศมาใช้ในภาษาไทย
ก. เพราะในปัจจุบนั มีคนนิยมใช้กนั มาก
ข. เพราะมีวิทยากรเข้ามาเผยแพร่ ในประเทศไทย
ค. เพราะมีการติดต่อระหว่างประเทศทั้งด้านการทูต การค้าขาย
11
ง. เพราะภาษาต่างประเทศมีมากจึงต้องนำมาใช้ในประเทศไทยบ้าง

๒. ข้อใดเป็ นคำที่มาจากภาษาต่างประเทศทุกคำ
ก. เกาเหลา ข้าวเปล่า
ข. บันได แก้วน้ำ
ค. ทุเรี ยน มะขาม
ง. กัลปั งหา กีตาร์

๓. ข้อใดเป็ นคำที่มาจากภาษาอังกฤษทุกคำ
ก. คอนเสิ ร์ต แท็กซี่ นอต
ข. เกียร์ ดีเซล จับกัง
ค. ทีวี บัดกรี ชอล์ก
ง. จาระบี เรดาห์ สักหลาด

๔. ข้อใดเป็ นคำที่มาจากภาษาจีนทุกคำ
ก. โบตัน๋ กุยช่าย เท็มปุระ
ข. คะน้า ท้อ สึ นามิ
ค. ก๋ วยเตี๋ยว โจ๊ก โอเลี้ยง
ง. จับเลี้ยง ซาโยนาระ โหวงเฮ้ง

๕. “กัปตันทีมฟุตบอลของไทยได้รับแรงเชียร์จากแฟนคลับอย่างแน่นอน” มีคำที่มาจากภาษาอังกฤษกี่คำ
ก. ๔ คำ
ข. ๕ คำ
ค. ๖ คำ
ง. ๗ คำ
๖. “ก๋ งของฉันชอบกิน แป๊ ะซะ พะโล้ ก๋ วยจับ๊ แต่ไม่ชอบกิน เต้าทึง เต้าหู ้ เต้าส่ วน” ชื่ออาหารที่กล่าวถึงมาจาก
ภาษาใด
ก. ไทยแท้
ข. จีน
ค. ชวา
ง. เขมร

๗. ประโยคใดมีคำที่มาจากภาษาจีน
ก. อย่าลืมปิ ดไฟทุกครั้งก่อนนอน
ข. ฉันไม่ชอบเดินคนเดียวตอนเย็น
ค. คุณครู บอกให้จดั โต๊ะและเก้าอี้ให้เรี ยบร้อย
12
ง. มีพระห้อยคอแล้วรู้สึกเป็ นสิ ริมงคล

๘. คำว่า “นีออน” เป็ นคำที่มาจากภาษาใด


ก. จีน
ข. ญี่ปนุ่
ค. เขมร
ง. อังกฤษ

๙. “นายทรงกลดเป็ นนักเรี ยนที่ได้รับโควตาจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่” คำที่ขีดเส้นใต้ เป็ นคำที่มาจากภาษาใด


ก. อังกฤษ
ข. จีน
ค. เขมร
ง. ญี่ปนุ่

๑๐. ชื่อกีฬาประเภทใดเป็ นคำที่มาจากภาษาอังกฤษ


ก. เทควันโด
ข. เปตอง
ค. ฟุตบอล
ง. ตะกร้อ

เฉลยแบบทดสอบ เรื่อง คำราชาศัพท์และระดับภาษา


บกล้ำ









13

มฐ. ท 4.1
แนวข้อสอบ O-net
ป.6/3
ย้อนหล ัง 4 ปี ปี
คำภาษาต่างประเทศคำใดที่มีความหมายต่างจากคำอื่น (ข้อสอบโอเน็ต ปี ๒๕๕๘ ข้อ ๒๔)
ภมร
วิหค
บุหรง
ปั กษา

ข้อความต่อไปนี้ มีคำภาษาจีนและคำภาษาอังกฤษจำนวนเท่าใด (ข้อสอบโอเน็ต ปี ๒๕๕๙ ข้อ ๒๑)

เมื่อวันศุกร์สปั ดาห์ที่แล้ว ห้างสรรพสิ นค้าแห่งหนึ่งโฆษณาว่า สิ นค้าทุกยีห่ อ้


ลดราคาถึง ๖๐ เปอร์เซ็นต์ มีอาหาร ผลไม้ และเครื่ องดื่มให้กินฟรี เช่น ก๋ วยเตี๋ยว บะหมี่
ทุเรี ยน มังคุด โอเลี้ยง ฯลฯ นอกจากนี้ ยงั มีทีมดารามาร้องเพลงและนำเล่นเกมต่าง ๆ

คำภาษาจีน ๓ คำ / คำภาษาอังกฤษ ๓ คำ
คำภาษาจีน ๔ คำ / คำภาษาอังกฤษ ๓ คำ
คำภาษาจีน ๕ คำ / คำภาษาอังกฤษ ๔ คำ
คำภาษาจีน ๖ คำ / คำภาษาอังกฤษ ๔ คำ
14

คำบาลี สันสกฤต ข้อใด มีความหมายเหมือนกันทุกคำ (ข้อสอบโอเน็ต ปี ๒๕๖๐ ข้อ ๒๓)


สุ ริยา อาทิตย์ อัมพร
นภา อัศว จันทรา
กันยา นารี ธารา
คชา หัตถี กุญชร

ข้อใดไม่มีคำภาษาต่างประเทศ (ข้อสอบโอเน็ต ปี ๒๕๖๑ ข้อ ๒๒)


วันหนึ่งฉันไปเที่ยวป่ า
เพลินชมพฤกษาคชาพาชี
อีกบุหงาฝูงปลาและราชสี ห์
มองดวงจันทร์ที่อยูใ่ นอัมพร
จงใช้ ข้อความต่ อไปนี้ ตอบคำถามข้ อ ๕
งานวันเกิดคุณพ่อในปี นี้ คุณแม่ทำอาหารหลายอย่างเช่น ซุปผักโขม ผัดหมี่
ทะเล สเต๊กปลา ไก่อบ และยังมีของหวานเป็ นไอศกรี ม เฉาก๊วย และเต้าฮวย

ข้อความข้างต้นมีคำภาษาอังกฤษและคำภาษาจีนอย่างละกี่คำ (ข้อสอบโอเน็ต ปี ๒๕๖๑ ข้อ ๒๓)


ก. คำภาษาอังกฤษ ๒ คำ คำภาษาจีน ๒ คำ
ข. คำภาษาอังกฤษ ๒ คำ คำภาษาจีน ๓ คำ
ค. คำภาษาอังกฤษ ๓ คำ คำภาษาจีน ๓ คำ
ง. คำภาษาอังกฤษ ๓ คำ คำภาษาจีน ๔ คำ
15

มฐ. ท 4.1
เฉลย แนวข้อสอบ O-
ป.6/3
ก. ภมร
ค. คำภาษาจีน ๕ คำ / คำภาษาอังกฤษ ๔ คำ
ง. คชา หัตถี กุญชร
ก. วันหนึ่งฉันไปเที่ยวป่ า
ค. คำภาษาอังกฤษ ๓ คำ คำภาษาจีน ๓ คำ

You might also like