You are on page 1of 13

รายงาน

เรื่อง ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย

ภาษาคำไทยแท้

จัดทำโดย

เด็กหญิงภัทราวดี เชื้อขาวพิมพ์

และคณะ

ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๒/๙

เสนอ

คุณครูศิริลักษณ์ วังสุขี

รายงานเล่มนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชาภาษา
ไทย(ท๒๒๑๐๒)
ภาคเรียนที่ ๒ ปี การศึกษา๒๕๖๕

โรงเรียนนาแกสามัคคีวิทยา

ตำบลบ้างแก้ง อำเภอนาแก จังหวัดนครพนม

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครพนม

รายงาน

เรื่อง ภาษาต่างประเทศต่างในภาษาไทย

ภาษาคำไทยแท้

จัดทำโดย

๑.เด็กชายจิราวัฒน์ หงษามนุษย์ เลขที่ ๑

๒.เด็กชายธนพงษ์ ฤทธิธาดา เลขที่ ๔

๓.เด็กหญิงกมลฉัตร ทองสุข เลขที่ ๑๔

๔.เด็กหญิงชญาฎา จักรสาร เลขที่ ๑๙

๕.เด็กหญิงณัชชา วงค์ตาขี่ เลขที่ ๒๒


๖.เด็กหญิงภัทราวดี เชื้อขาวพิมพ์ เลขที่ ๒๗

ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๒/๙

เสนอ

คุณครูศิริลักษณ์ วังสุขี

รายงานเล่มนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชาภาษาไทย(ท๒๒๑๐๒)

ภาคเรียนที่ ๒ ปี การศึกษา ๒๕๖๕

โรงเรียนนาแกสามัคคีวิทยา

ตำบลบ้างแก้ง อำเภอนาแก จังหวัดนครพนม

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครพนม

คำนำ

รายงานฉบับนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชาภาษาไทย (ท๒๒๑๐๒) ศึกษา


เกี่ยวกับภาษาไทย ในรายงานเล่มนีจ
้ ะมุ่งศึกษา คำไทยแท้ ซึง่ รวบรวม
ความหมายของภาษา ลักษณะของภาษา หลักการสังเกต และตัวอย่างคำ
เพื่อให้ผู้สนใจได้ศึกษา

คณะผู้จัดทำหวังเป็ นอย่างยิ่งว่า รายงานฉบับนีจ


้ ะเป็ นประโยชน์แก่ผู้
อ่านไม่มากก็น้อย หากผิดพลาดประการใด ขออภัยมา ณ โอกาสนีด
้ ้วย

คณะผู้จัดทำ

สารบัญ

เรื่อง
หน้า

คำนำ

สารบัญ

ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย

-ความหมายของภาษาคำไทยแท้

- ลักษณะของภาษาคำไทยแท้

- ข้อสังเกต

-ตัวอย่างคำภาษาไทยแท้

-ตัวอย่างคำภาษาไทยแท้ที่ปรากฏในสื่อต่างๆ

บรรณานุกรม

ภาคผนวก

ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
ภาษคำไทยแท้

ภาไทยแท้ เป็ นภาษาตระกูลคำโดด ที่มีการใช้ที่ง่าย แต่เมื่อ อิทธิพล


การเปลี่ยนแปลง ทางด้าน เศษฐกิจ การค้า การเมือง ศาสนา หรือ
วัฒนธรรม เข้ามามีส่วนเกี่ยวก้อง ทำให้ภาษาไทยจำเป็ นต้องรับภาษาอื่นเข้า
มา ฉะนัน
้ ผู้ที่จะศึกษา ภาษาต่างประเทศในภาษาไทยจำเป็ นจะต้องรู้
ลักษณะของภาษาไทย เพื่อวิเคราะห์ภาษาไทยที่เป็ นภาษาของตนเอง ออก
จากภาต่างประเทศให้ได้

๑.ความหมายของภาษาคำไทยแท้
คำไทยแท้ เป็ นคำที่มีใช้ดงั ้ เดิมอยู่ในภาษาไทย มีลก
ั ษณะสำคัญที่
สังเกตได้ดังนี ้ เป็ นคำโดดมีเสียงวรรณยุกต์มีลักษณะนามใช้ไม่นิยมใช้ตัว
การันต์มักสะกดตรงตามมาตราไม่นิยมใช้พยัญชนะ ฆ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ
ธ ภ ศ ษ ฬ เป็ นคำโดด คือ เป็ นคำที่มีความหมายในตัวเอง เมื่อฟั งแล้ว
สามารถเข้าใจได้ในทันที

๒.ลักษณะของภาษาคำไทยแท้

๒.๑ คำไทยแท้มีพยางค์เดียว
เช่น  คำใช้เรียกเครือญาติ พ่อ แม่พี่ น้อง ป้ า ฯลฯ
คำใช้เรียกชื่อสัตว์ ช้าง ม้า วัว ควาย ฯลฯ
คำใช้เรียกธรรมชาติ ดิน น้ำลม ไฟ อุ่น ฯลฯ
คำใช้เรียกเครื่องใช้ มีด ตูค
้ รก ไห ช้อน ฯลฯ
๒.๒ คำไทยแท้มักมีตัวสะกดตรงตามมาตรา
เช่น แม่กก ใช้  ก  เป็ นตัวสะกด เช่น รัก ฉาก จิก  ปี ก จุก ลูก ฯลฯ
แม่เกย  ใช้  ย  เป็ นตัวสะกด เช่น ชาย ขาย เคย โกย คุ้ย คอย ฯลฯ
แม่เกอว  ใช้  ว  เป็ นตัวสะกดเช่น ข้าว คิว้ เหว แก้ว เลีย
้ ว เปลว ฯลฯ

๒.๓ คำไทยแท้จะไม่พบพยัญชนะต่อไปนี ้ ฆ ณ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ธ ศ ษ ฬ
มีคำยกเว้นบางคำ  เช่น  ฆ่า  เฆี่ยน  ระฆัง  ศอก  ศึก  ใหญ่หญ้า


๒.๔ คำไทยแท้มักมีรูปวรรณยุกต์กำกับ
เช่น ปา = ขว้าง ขาว = ชื่อสีชนิดหนึ่ง ป้ า = พีส
่ าวของพ่อหรือของแม่
ข้าว = อาหารประเภทหนึ่ง

๒.๕ คำไทยแท้มีลักษณะนามใช้
ลักษณะนามบอกชนิด   เช่น รูป ใช้ กับภิกษุ  สามเณรเล่ม ใช้กับ หนังสือ 
เกวียน  เทียน  เข็ม
ลักษณะนามบอกหมวดหมู่   เช่น ฝูง ใช้กับวัว  ควาย  ปลา  นก
กองใช้กับทหาร  ลูกเสือ  อิฐ  ทราย  ผ้าป่ า

๒.๖ คำไทยแท้ไม่นิยมใช้ตัวการันต์
ลักษณะของตัวการันต์ มักเป็ นคำที่ยืมมาจากภาษาต่างประเทศ  เพราะใน
ภาษาไทยจะไม่นิยมใช้ตัวการันต์   เช่น  โล่ เสา อิน จัน วัน เท่
๒.๗ คำไทยแท้ไม่นิยมใช้พยัญชนะบางตัวที่เขียนยากเช่น   ฆ  ณ  ญ  ฎ  ฏ
ฐ  ฑ  ฒ   ฌ  ธ   ภ   ศ    ษ   ฬ     และสระ  ฤ   ฤา      ยกเว้นคำไทย
แท้บางคำ ดังนี ้ เฆี่ยน ฆ่า ฆ้อง ระฆัง หญิง ศึก ใหญ่อำเภอ

๒.๘การใช้ ใอ และ ไอ ในภาษาไทย


คำที่ออกเสียง อัย ใช้รูปไม้ม้วน ( ใ ) มีใช้ในคำไทยเพียง  ๒๐  คำเท่านัน

นอกนัน
้ ใช้ประสมด้วยสระ“ไอ” ไม้มลายทัง้ สิน
้ แต่จะไม่ใช้รูป “อัย” หรือ
“ไอ ” เลยคำไทยแท้ที่ใช้ “ใอ” เช่น ไม้ม้วน ๒๐ คำ สำหรับคำที่ใช้ อัย กับ
ไอย นัน
้ รับมาจากภาษาบาลีสันสกฤต

๓.ข้อสังเกต

๓.๑  เป็ นภาษาคําโดด


คําไทยแท้ส่วนมากเป็ นคําพยางค์เดียว พูดง่าย ๆ ก็คือ เป็ นคําที่มี
ความหมายสมบูรณ์ในตัวเอง ฟั งแล้วสามารถเข้าใจได้ทันที ไม่ต้องแปล ไม่
ต้องผันคําเพื่อบอกเพศ พจน์ หรือกาล เช่น พ่อ แม่ ช้าง ม้า วัว ควาย หัว หู
ตา ปาก ซึง่ เพื่อน ๆ จะสังเกตได้ว่า ส่วนใหญ่ เป็ นคําพยางค์เดียว 
แต่ทุกกฎย่อมมีข้อยกเว้นเสมอ จะมีคําไทยแท้บางคําทีมีหลายพยางค์ ซึ่งมี
สาเหตุ ๓ ประการด้วยกัน ได้แก่

๓.๑.๑ การกร่อนเสียง


หมายถึง การที่คําเดิมเป็ นคําประสม ๒ พยางค์เรียงกัน เมื่อพูดเร็ว
จะทําให้พยางค์แรกมีการกร่อนเสียงลงไป เช่น มะขาม สมัยก่อนคนเรียก
หมากขาม อะไร สมัยก่อนคนเรียก อันไร 

๓.๑.๒ การแทรกเสียง
หมายถึง การเติมพยางค์ลงไประหว่างคํา ๒ พยางค์ ทําให้เกิดเป็ นคํา
หลายพยางค์  เช่น ลูกตา เปลี่ยนเป็ น ลูกกะตา   ลูกท้อน เปลี่ยนเป็ น ลูก
กระท้อน เป็ นต้น
๓.๑.๓ การเติมพยางค์หน้า
หมายถึง การเติมพยางค์ลงไปหน้าคําพยางค์เดียว หรือ สองพยางค์
แล้วทําให้เกิดเป็ นคําหลายพยางค์ เช่น ทํา เปลี่ยนเป็ น กระทํา  เดี๋ยว
เปลี่ยนเป็ น ประเดี๋ยว เป็ นต้น

๓.๒ คำไทยแท้มีตัวสะกดตรงตามมาตรา
หมายถึง อักษรที่นํามาเขียนเป็ นตัวสะกด จะตรงกับมาตราตัวสะกด
โดยตัวสะกดไทยมีทงั ้ หมด ๘ มาตรา ได้แก่ แม่กก กบ กด กน กม เกย เกอว
และ กง ยกเว้นคำว่า "ดูกร" และ "อรชร" ที่แม้จะสะกดด้วย ร เรือ แต่ก็
ถือว่าเป็ นคำไทยแท้
สามารถยกตัวอย่างคำไทยแท้ตามมาตราตัวสะกด ดังนี ้

๓.๓ ไม่มีการเปลี่ยนรูปคําเพื่อแสดงสัญลักษณ์ทางไวยากรณ์
ภาษาไทยจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปคํา แต่จะอาศัยคําขยายมา
ประกอบ โดยจะวางไว้หลังคําที่ถูกขยาย เช่น สวย เป็ น สวยมาก หรือถ้าจะ
บอกจํานวนคนเป็ นพหูพจน์ จะไม่มี คนเติม s เหมือนในภาษาอังกฤษ แต่
เราจะเติมคําว่าหลาย  ๆ ลงไปเพื่อแสดงความเป็ นพหูพจน์แทนการเปลี่ยน
รูปคํา 

๓.๔ มีเสียงวรรณยุกต์ เช่น ปา ป่ า ป้ า ขาว  ข่าว ข้าว

๔.ตัวอย่างคำภาษาไทยแท้
เช่น ผัก รัก มาก ลาก จาก ดับ คับ สูบ ทุบ ยุบ พบแม่ มัด รัด ฟั ด จุด สด
ชดวัง มุง ลุง ชั่ง นางเรียน ลาน ฝั น ปาน ผม ลม สม ปูม เข้ม งมหาย ควาย
สาย นาย สวย ผิว ดาว แมว ข้าว เหว  ฉาก   จิก   ปี ก   จุก   ลูก   โบก
ตัก   เด็ก   เปี ยก

๕.ตัวอย่างภาษาคำไทยแท้ที่ปรากฏในสื่อต่างๆ
เ ช ่น ห น งั ส ือ เ ร ีย น ส ม ุด เ ร ีย น รายงาน โ ฆ ษ ณ า แ ล ะ ข ่า ว ใ น
หนังสือพิมพ์(อาจมีคำภาษาต่างประเทศอยู่ในนัน
้ แต่ส่วนใหญ่จะเป็ นภาษา
ไทย)

บรรณานุกรม

jamtima.blogspot. (๒๕๖๑). คำไทยแท้. (ออนไลน์) สืบค้นจาก :


http://jamtima.blogspot.com/2018/09/blog-post.html?
m=1. สืบค้นวันที่๑๑ มกราคม
๒๕๖๖.

startdee. (๒๕๖๓). คำไทยแท้ชน


ั ้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๓วิชาภาษาไทย.
(ออนไลน์) สืบค้นจาก :
https://blog.startdee.com/ม 3-ภาษาไทย-คำไทยแท้. สืบค้นวัน
ที่๑๑ มกราคม ๒๕๖๖.

trueid.(๒๕๖๔).คำไทยแท้คืออะไร.(ออนไลน์) สืบค้นจาก :
https://intrend.trueid.net/bangkok/
trueidintrend_205811.สืบค้นวันที่๑๑ มกราคม ๒๕๖๖.
ภาคผนวก

You might also like