You are on page 1of 5

คำไทยแท้และคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ

คำไทยแท้ – บาลี – สันสกฤต - เขมร - จีน - อังกฤษ


(ชั้น ม.2 ภาษาไทยบ้านครูมุก อ.ทีป)

คำภาษาไทยแท้
๑. คำไทยแท้ จ ะต้ อ งเป็ น คำพยางค์ เ ดี ย วหรื อ ที ่ เ รี ย กว่ า “คำโดด” ได้ แ ก่ คำที ่ อ อกเสี ย งพยางค์ เ ดี ย ว
มีความหมายในภาษา ได้แก่กลุ่มคำที่มีลักษณะดังต่อไปนี้

๒. คำไทยแท้จะไม่มีเครื่องหมายทัณฑฆาต หรือ การันต์ (อ์) เช่น กัน มัน เงิน เป็นต้น

๓. คำไทยแท้จะสะกดตรงตามมาตรา คือ มีเสียงสะกดในมาตราใดก็ใช้ตัวนั้นสะกด (แม่กก. กด กบ. กง กม กน เกย


เกอว)
๕. คำไทยที่ใช้ตัว “ศ” มีเพียงคำว่า ศึก ศอก เศิก เศร้า เท่านั้น

หลักสังเกตคำที่มาจากภาษาบาลี

1. เสียงสระในภาษาบาลีมี ๘ เสียง คือ อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ


2. พยัญชนะตัวสะกดตัวสามในภาษาบาลี เมื่อนำมาใช้ในภาษาไทยบางที่ตัดออกเสียตัวหนึ่ง เช่น นิจจ =
นิจ เขตต = เขต ยุตติ = ยุติ รัชชกาล = รัชกาล วิชชา = วิชา
3. พยัญชนะวรรค ฏะ นิยมตัดตัวสะกดเดิมแล้วใช้ตัวตามสะกดแทน
.
4. บาลีนิยมใช้ ฬ เช่น กีฬา โอฬาร อาสาฬหบูชา
5. สังเกตการใช้ ณ ในภาษาบาลีจะใช้ ณ นำหน้าพยัญชนะวรรค ฏะ (ฏ ฐ ฑ ฒ ณ) เช่น กัณฑ์ บัณฑิต
6. คำที่ใช้พยัญชนะซ้อน ๒ ตัว .
7. ใช้รูปพยัญชนะซ้อน
8. คำส่วนใหญ่ที่ขึ้นต้นด้วย ปฏิ

หลักสังเกตคำที่มาจากภาษาสันสกฤต
1. สระในภาษาสันสกฤตมี ๑๔ เสียง ได้แก่ อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ เอ เอา
2. พยัญชนะสันสกฤตม ๓๕ ตัว (ตามพยัญชนะวรรคของบาลี) รวม ศ ษ
3. ตัวสะกดตัวตามไม่มีหลักเกณฑ์ที่แน่นอนตายตัวเหมือนภาษาบาลี เช่น อัคนี มุกดา นิตยา อาทิตย์
4. นิยมใช้ ฑ เช่น ครุฑ กรีฑา
5. ใช้ ศ ษ เช่น ศีรษะ เกษตร รัศมี พิศวาส อัศจรรย์ สันโดษ (ยกเว้น ศึก ศอก เศิก เศร้า เป็นคำไทยแท้)
6. คำในสันสกฤตใช้ ร (รอ เรผะ) ใช้ในภาษาไทยเป็น รร (รอหัน) เช่น ครภ์ = ครรภ์ ธรม = ธรรม
7. สันสกฤตใช้ ร เป็นตัวควบกล้ำ เช่น สงกรานต์ มาตรา สตรี เคราะห์ ปรีดา
8. คำภาษาสันสกฤตมักมีตัวสะกดเป็นตัวควบกล้ำ เช่น สมัคร บุตร เนตร
9. คำภาษาสันสกฤตมักมีตัวการันต์อยู่หลังพยัญชนะที่เป็นตัวสะกดที่ไม่ต้องการออกเสียง

10. คำภาษาสันสกฤตมักใช้ตัว ร เป็นตัวการันต์


11. คำที่ใช้รูปพยัญชนะซ้อน

ตารางช่วยจำ

แบบฝึกหัด
กีฬา บรรทุก ต้นไม้ ระฆัง สัจจะ ปฏิบัติ ปฏิสนธิ ศีรษะ บรรณารักษ์ ทฤษฎี อัคคี เด็ก บัลลังก์ สวน อักษร ฤทธิ์
ครุฑ มะม่วง มะนาว
คำไทยแท้ ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต
ภาษาเขมร
1. มักมีพยัญชนะต้นลักษณะเหมือนคำควบกล้ำ บางคำอ่านออกเสียงเรียงกันโดยออกเสียง อะ พยางค์แรก
เช่น
บางคำอาจอ่านออกเสียงแบบอักษรนำ
2. มักมีพยัญชนะ จ ร ล ญ เป็นตัวสะกด เช่น คำว่า อำนาจ ควร กังวล อัญเชิญ * *
3. มักมีคำพยางค์แรกประสมสระ อำ เช่น คำว่า ตำหนิ ทำเนียบ ชำนาญ
4. คำที่มาจากภาษาเขมรไม่มีรูปวรรณยุกต์ เช่น คำว่า สรง ฉลาด
ตัวอย่างคำที่มาจากภาษาเขมร
เจริ ญ เผชิ ญ โปรด ประมู ล สมควร ตำบล เสด็ จ กระทรวง แถลง บรรทั ด กราบ กำลั ง เจริ ญ โฉนด ประชุม
แผนก ระเบียบ บวช เฉลย สะเทิน เสบียง กรรแสง ขจร พนม ถวาย ประกวด เพ็ญ เชลย สนอง สงบ

เรื่องคำภาษาจีน
คำที่มาจากภาษาจีนมีลักษณะ ดังนี้
๑. คำที่มาจากภาษาจีนส่วนใหญ่มีพยัญชนะต้นเป็นอักษรกลาง
๒. มักประสมสระเสียงสั้น เช่น /เอียะ/ /อัวะ/
๓. มักมีรูปและเสียงวรรณยุกต์ตรีและจัตวาเป็นส่วนใหญ่
ตัวอย่างคำที่มาจากภาษาจีน
อาหาร : ซาลาเปา เฉาก๊วย ก๋วยเตี๋ยว พะโล้ โอเลี้ยง เก๊กฮวย
ผักผลไม้ : กุยช่าย แปะก๊วย ขึ้นฉ่าย คะน้า ไช้เท้า ตั้งโอ๋
ของใช้ : กอเอี้ยะ ซาเล้ง เก้าอี้ โต๊ะ เอี๊ยม เข่ง
คำเรียกญาติ : เตี้ย เฮีย ก๋ง เจ๊ ตี๋ ม่วย (หมวย)
คำอื่น ๆ : ปาหี่ ซินแส โหงวเฮ้ง ฮวงจุ้ย ก๊ก
เรื่องคำภาษาอังกฤษ

หลักสังเกตคำที่มาจากภาษาอังกฤษ มีลักษณะดังนี้
1. เป็นคำหลายพยางค์
2. มีคำที่มีเสียงควบกล้ำบางตัวที่ไม่มีในภาษาไทย เช่น บล (bl) ดร (dr) ฟล (fl) ฟร (fr) ทร (tr) จึงทำให้ไทยมี
คำที่มีเสียงควบกล้ำใช้เพิ่มขึ้น เช่น คำว่า เบรก ฟรี
3. มักจะเติมไม้ทัณฑฆาต (อ์) ที่พยัญชนะตัวสุดท้าย หรือพยัญชนะที่อยู่ระหว่างคำเพื่อไม่ให้ออกเสียง เช่น คำว่า
เกียร์ ฟิล์ม
4. มีตัวสะกดที่ภาษาไทยไม่มี เช่น ฟ ล ซ ช ส ศ เมื่อไทยนำมาใช้จะเปลี่ยนการออกเสียง ให้ง่ายขึ้น เช่น ball
ไทยจะเปลี่ยนเสียง ล เป็นเสียง น อ่านว่า บ็อน
golf ไทยจะเปลี่ยนเสียง ฟ เป็นเสียง บ อ่านว่า ก๊อบ
gas ไทยจะเปลี่ยนเสียง ส เป็นเสียง ต อ่านว่า แก็ด

ผักผลไม้ : พลัม กีฬา : เทนนิส ดนตรี : เปียโน อาหาร : ซุป สลัด ของใช้ : คัตเตอร์
บรอกโคลี แอปเปิล แบดมินตัน ฟุตบอล ไวโอลิน กีตาร์ แซ็ก แฮมเบอร์เกอร์ ชอล์ก โซฟา เน็กไท
แคร์รอต วอลเลย์บอล สเกต โซโฟน ฟลูต แซนด์วิช กาแฟ เชิ้ต

บัญญัติศัพท์ การแปลศัพท์ คำทับศัพท์


ทบทวนคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ

ไทย (ท.) บาลี (ป.) สันสกฤต (ส.) จีน (จ.) อังกฤษ (อ.) เขมร (ข.)
ที่ คำ ตอบ ที่ คำ ตอบ ที่ คำ ตอบ

๑ อัชฌาสัย ๑๑ กำยาน ๒๑ ใหม่

๒ โปรด ๑๒ ปรารถนา ๒๒ ประมูล

๓ มะม่วง ๑๓ เดิน ๒๓ เมตตา

๔ กรีฑา ๑๔ ปาหี่ ๒๔ ศาสตร์

๕ อัศจรรย์ ๑๕ ควร ๒๕ โอเลี้ยง

๖ วิตามิน ๑๖ หลาน ๒๖ เศร้า

๗ กีฬา ๑๗ เผชิญ ๒๗ กระทรวง

๘ ก๋วยเตี๋ยว ๑๘ ภริยา ๒๘ สุกี้ยากี้

๙ ปัจจุบัน ๑๙ เสด็จ ๒๙ กิโมโน

๑๐ ตำบล ๒๐ อังกะลุง ๓๐ วอลเลย์บอล

You might also like