You are on page 1of 10

1

ข้ อสอบชุดที 1

ข้ อที 1 ข้ อใดมีคําสะกดผิด
1. นวัตกรรมนําไทยให้ ก้าวหน้ า
2. เชิญประชาปราณีตคิดสร้ างสรรค์
3. ให้ โลกทึง หนึง ตําบลหนึง ผลิตภัณฑ์
4. อเนกอนันต์คณ ุ ค่าสินค้ าไทย
ตอบ ข้ อ 2 เพราะ เชิญประชาปราณีตคิดสร้ างสรรค์ คําว่า "ปราณีต" ต้ องเป็ น "ประณีต" ถึงจะถูก
ข้ อที 2 คําในข้ อใดมีจํานวนพยางค์เท่ากัน
1. บัตรพลี ชุกชี กักขฬะ
2. พลขับ ชาติพนั ธุ์ นักษัตร
3. จิตนิยม ซอมซ่อ ปราชัย
4. ชนมายุ บราลี ผลผลิต
ตอบ ข้ อ 4
ข้ อที 3 คําในข้ อใดเป็ นคําซ้ อนเพือความหมายทุกคํา
1. เกียวข้ อง นําพา อัดฉี ด
2. ว่าจ้ าง สืบค้ น โค่นล้ ม
3. ชักจูง แข็งแกร่ง ซ้ อนเร้ น
4. กดขี จัดหา ขุน่ มัว
ตอบ ข้ อ 3
ข้ อที 4 คําว่า "เอง" ในข้ อใดทําหน้ าทีตา่ งจากข้ ออืน
1. ป๋ องหกล้ มตกลงไปในคูเอง
2. วิทย์ออกแบบและก่อสร้ างตึกนี =เอง
3. ฉันจะนําเอกสารนี =ไปให้ เจ้ านายเอง
4. คนทีมาเปิ ดประตูรัว= คือเจ้ าของบ้ านเอง
ตอบ ข้ อ 4 เพราะแต่ละข้ อ คําว่า "เอง" เป็ นคําขยายตัวคนพูดแต่ ในข้ อ 4 คําว่า "เอง" เป็ นคําทีไปขยายคนทีมา
เปิ ดประตูรัว= นัน ก็คือเจ้ าของบ้ านนัน เอง
ข้ อที 5 คําว่า "มา" ในข้ อใดเป็ นคํากริ ยา
1. เขาแก้ ปัญหามาตลอดปี
2. เขาเห็นรถมาตอนบ่าย
3. เขาสืบข่าวมาหลายวัน
4. เขาเอาจดหมายมาเมือวาน
ตอบ ข้ อ 2 เพราะ คําว่า "เห็นรถมา" เป็ นคํากริ ยา
ส่วนข้ ออืน
2
1.แก้ ปัญหามา = อาการนาม
3.สืบข่าวมา = อาการนาม
4.จดหมายมา = นามทัว ไป
ข้ อที 6 คําว่า "กับ" ในข้ อใดทําหน้ าทีตา่ งจากข้ ออืน
1. ศักดิกC ําลังเล่นตะกร้ อกับเพือนๆ
2. สุดามีความสุขกับการปลูกต้ นไม้
3. เดชไปต่างประเทศกับทีมงาน
4. วิภาดูแลนักเรี ยนกับสุนขั
ตอบ ข้ อ 4 เพราะ ประโยคทีวา่ "วิภาดูแลนักเรี ยนกับสุนขั " = วิภาดูแล น.ร กับสุนขั /สุนขั ไม่ได้ ดแู ลด้ วย
ส่วนแต่ละข้ อทีเหลือ นันเป็= นอาการนาม ทีไปขยาย ร่วมกับกรรมทังนั
= น=
เช่น 1.ศักดิกC ําลังเล่นตะกร้ อกับเพือนๆ /เพือนๆเขาเล่นด้ วย
2.สุดามีความสุขกับการปลูกต้ นไม้
3.เดชไปต่างประเทศกับทีมงาน /ทีมงานไปเทียวด้ วย

1. คําศัพท์
การใช้ คาํ ราชาศัพท์
* ใช้ ทรง นําหน้ ากริ ยาธรรมดา เพือทําให้ คํากริ ยาธรรมดากลายมาเป็ นคํากริ ยาราชาศัพท์ สําหรับ
พระราชา และเจ้ านาย เช่น ทรงยินด ◌ี , ทรงขว้ าง , ทรงวาง , ทรงวิง , ทรงยิง ,ทรงกรุณา , ทรงสามารถ ,ทรง
กล่าว , ทรงอธิบาย , ทรงรับ , ทรงกระแอม , ทรงชุบเลี =ยง , ทรงฟั ง.
* ใช้ ทรง เป็ นสกรรมกริ ยา นําหน้ านามธรรมดาคือนําหน้ าคํานามทีไม่เป็ นคําราชาศัพท์สําหรับพระราชา
และเจ้ านายมีความหมายได้ หลายประการตามแต่นามอันเป็ นกรรมจะบ่งถึง เช่น ทรงศีล (รับศีล) , ทรงบาตร
(ตักบาตร) , ทรงธรรม (ฟั งเทศน์) , ทรงม้ า (ขีม้า) , ทรงรถ , ทรงปื น , ทรงสกี , ทรงดนตรี , ทรงเบ็ด , ทรงกีฬา ,
ทรงตะกร้ อ ,ทรงศร
* ห้ ามใช้ ทรง นําหน้ าคํากริ ยาราชาศัพท์ เมือกริ ยาเป็ นราชาศัพท์อยูแ่ ล้ ว ไม่นิยมคําว่าทรง นําหน้ าซ้ อนลง
ไปอีก ได้ แก่คําต่อไปนี = ตรัส , ดํารัส ประทับ (อยู่ , ยืน ,นัง ) เสด็จ (ไป) สรง , สรงนํ =า กริ ว= เสวย โปรด ( รัก ,ชอบ )
ประชวร บรรทม รับสัง สุบนิ ทอดพระเนตร (ยกเว้ นคําเดียวคือ ทรงผนวช เพราะนิยมใช้ กนั มาอย่างนี =)
คําราชาศัพท์ หมวดต่ างๆ
1. หมวดร่ างกาย
หน้ าผาก = พระนลาฎ แก้ ม = พระปราง
ตา = พระเนตร นิ =วหัวแม่มือ = พระอังคุฐ
จมูก = พระนาสิก นิ =วชี = = พระดัชนี
ปาก = พระโอษฐ์ นิ =วกลาง = พระมัชฌิมา
ฟั น = พระทนต์ นิ =วนาง = พระอนามิกา
เขี =ยว = พระทาฐะ นิ =วก้ อย = พระกนิษฐา
3
ลิ =น = พระชิวหา เล็บ = พระนขา
หู = พระกรรณ รักแร้ = พระกัจฉะ
ไหปลาร้ า = พระรากขวัญ ท้ อง = พระอุทร
บ่า = พระอังสะ สะดือ = พระนาภี
มือ = พระหัตถ์ สีข้าง = พระปรัศว์
หลัง = พระปฤษฎางค์ ตะโพก = พระโสณี
ตัก = พระเพลา เข่า = พระชานุ
เท้ าทังคู
= ่ = พระยุคลบาท ไต = พระวักกะ
ตับ = พระยกนะ ปอด = พระปั บผาสะ

2. หมวดเครื องอุปโภค บริ โภค


ตรา = พระราชลัญจกร กระโถนใหญ่ = พระสุพรรณราช
พานหมาก = พานพระศรี กระโถนเล็ก = พระสุพรรณศรี
หมวก = พระมาลา แว่นตา = ฉลองพระเนตร
ร่ม = พระกลด มีดโกน = พระแสงกรรบิด
ช้ อน = ฉลองพระหัตถ์ช้อน นํ =าหอม = พระสุคนธ์
ข้ าว = พระกระยาเสวย ยาถ่าย = พระโอสถประจุ
เหล้ า = นํ =าจัณฑ์ หม้ อนํ =า = พระเต้ า
ม่าน = พระวิสตุ ร ประตู = พระทวาร
ปิ น = พระจุฑามณี ปื น = พระแสงปื น

3. หมวดขัตติยตระกูล
ปู่ , ตา = พระอัยกา ย่า ยาย = พระอัยกี
ลุง (พีของพ่อ) = พระปิ ตุลา ป้า (พีของพ่อ) = พระปิ ตุจฉา
ลุง (พีของแม่) = พระมาตุลา ป้า (พีของแม่) = พระมาตุจฉา
อาชาย = พระปิ ตลุ า อาหญิง = พระปิ ตุจฉา
พ่อ = พระชนก แม่ = พระชนน
บุตรชาย = พระโอรส บุตรสาว = พระธิดา
หลาน = พระนัดดา เหลน = พระนัดดา
สามี = พระสวามี ภรรยา = พระมเหสี
พ่อตา = พระสัสสุระ แม่ยาย = พระสัสสุ
ลูกเขย = พระชามาดา ลูกสะใภ้ = พระสุณิสา
4
4. หมวดกริ ยา
ไป = เสด็จพระราชดําเนิน กิน = เสวย
นอน = บรรทม สบาย = ทรงพระสําราญ
ป่ วย = ทรงพระประชวร ตัดผม = ทรงเครื องใหญ่
◌่ อา่ นหนังสือ = ทรงพระอักษร ดู = ทอดพระเนตร
รัก = โปรด หัวเราะ = ทรงพระสรวล
กันร่
= มให้ = อยูง่ านพระกลด ให้ = พระราชทาน
5. หมวดคําทีใช้ กบั พระสงฆ์
เชิญ = นิมนต์ ไหว้ = นมัสการ
กิน = ฉัน นอน = จําวัด
สวดมนต์ = ทําวัตร โกนผม = ปลงผม
อาบนํ =า = สรงนํ =า ขอโทษ = ขออภัย
บิดา , มารดา = โยม ผู้หญิง = สีมา
ปวย = อาพาธ ตาย = ถึงแก่มรณภพ
ยา = โอสถ เรื อน , ทีพกั = กุ ฎิ
บวช = บรรพชา นักบวช = บรรพชิต
ความหมายของคําหรื อกลุ่มคํา
ความหมายของคําหรื อกลุม่ คําทีใช้ อยูใ่ นปั จจุบนั นี =โดยทัว ไปมีความหมาย2อย่างคือความหมายโดยตรง
และความหมายโดยนัย
ความหมายโดยตรง คือ คําแปลหรื อคําจํากัดความทีบญ ั ญัตไิ ว้ ในพจนานุกรมเป็ นความหมายตรงตัวเลย
เช่นคําว่า "เผา" ก็หมายถึง เอาไฟจุด เป็ นต้ น
ความหมายโดยนัย คือคําทีมีความหมายทีไม่ตรงับความหมายดังเดิ = ม
เช่น "แดดเผา" แปลว่าทําให้ เร่าร้ อน , "เผาขน" แปลว่า ระยะประชันชิ = ด เป็ นต้ น
***ลักษณะข้ อสอบ***จะออกมาเพือให้ เลือกตอบคําถามทีมีความหมายตรงกับคําขีดเส้ นใต้ ดงั ตัวอย่างต่อไปนี =
1. เด็กเกเรจนพ่อแม่ต้องบอกศาลา
ก. กล่าวโทษ ข. กล่าวตักเตือน
ค. นําไปไว้ ทีศาลา ง. เลิกเอาใจใส่
ตอบ ง.
2. เขาทังสองรั
= กกันอย่างดูดดืม
ก. ซาบซึ =ง ข. ชุม่ ชืน
ค. ละมุนละไม ค. อ่อนหวาน
ตอบ ก.
5
3. เธออย่าทําอะไรบุม่ บ่ามน่ะ
ก. หลงไหล ข. คลัง ไค้ ล
ค. ผลีผลาม ง. ไม่มีเหตุผล
ตอบ ค.

การเลือกใช้ คาํ หรื อกลุ่มคํา


การเลือกใช้ คําหรื อกกลุม่ คํา คือการหาคําหรื อกลุม่ คํามาเติมลงในช่องว่างทีเว้ นไว้ เพือให้ ความหมาย
นันสอดคล้
= องกับเรื องหรื อเพือให้ เรื องมีความหมายทีชดั เจน ไม่กํากวม หรื อไม่ให้ ความหมายของเรื องเป็ นอย่าง
อืน
ตัวอย่างข้อสอบ
1. พิธีการสมโภชกรุงรัตนโสินทร์ 200 ปี ในเดือนเมษายน ศกนี = จะมีการ....ให้ ประชาชนได้ เห็นทัว ประเทศ
ก. ถ่ายเทป ข. ถ่ายทอด
ค. ส่งทอด ง. ถอดถ่าย
คําตอบ ข.
2. พระพุทธเจ้ ามิได้ ทรงมีพระประสงค์จะสอน ปรัชญา โดยตรง แต่ทว่าสอน.....เฉพาะทีทรงเล็งเห็นว่าจะมี....ต่อ
การพ้ นทุกข์เท่านัน=
ก. วิปัสสนา,โอกาส ข. ปรัชญา,ประโยชน์
ข. แก้ ปัญหา,ประโยชน์ ง. คนทัว ไป,โอกาส
ตอบ ข.
3. เราควรจะ...ได้ วา่ เรามีขมุ ควมคิดทีประมาณค่ามิได้ ...อยูใ่ นพระไตรปิ ฎก
ก. ดีใจ,ช้ อน ข. ดีใจ,บรรจุ
ค. ภูมิใจ,ซ่อน ง. ภูมิใจ,บรรจุ
ตอบ ง.
4.แต่....ลํ =าค่านี =ดูเหมือนจะมีสภาพเช่นเดียวกับ....ธรรมชาติของประเทศเรานัน เอง
ก. ขุมความคิด,ขุมทรัพย์ ข. สมบัติ,ขุมทรัพย์
ค. ขุมทัพย์,ทรัพยากร ง. ขุมทรัพย์,สมบัติ
ตอบ ค.
5. คือพวกเราได้ รับผลประโยชน์กนั เพียง....เราขาดเครื องมือ และผู้เชียวชาญ สําหรับ....เอาทรัพยากรทีเรามีอยู่
เพือนํามาใช้ ประโยชน์ให้ เต็มที เพือความเจริ ญของประเทศ
ก. เล็กน้ อย,ขุดคุ้ย ข. เล็กน้ อย,ขุดค้ น
ค. ผิวเผิน,ช่วยไม่ได้ ง. ผิวเผิน,ขุดคุ้ย
ตอบ ข.
6
2. การเขียน
การเขียน คือ การแสดงความรู้/ความคิด/ความรู้สกึ และความต้ องการของผู้เขียนเป็ นลายลักษณ์อกั ษร
เพือให้ ผ้ รู ับสามารถอ่านเข้ าใจได้ รับทราบความรู้ ความคิด ความรู้สกึ และความต้ องการเหล่านัน=
***ข้ อสอบการเขียนจะทดสอบในเรื องการเรี ยงความและการเขียนประโยคตามหลักภาษาโดยจะกําหนด
ข้ อความ/ประโยคหรื อบทความแล้ วให้ ตอบคําถามโดยเลือกข้ อความทีกําหนดให้ ซงึ เป็ นข้ อความทีถกู ต้ องตาม
หลักภาษาหรื อใส่เครื องหมายเลขกํากับหัวข้ อแล้ วให้ เรี ยงเลขทีกํากับมาให้ ถกู ต้ อง***
การเรี ยงความ หลักในการทําข้ อสอบ ควรพิจารณาดังต่อไปนี =คือ
หลักการพิจารณาข้ อความ
1.ความหมายของคํา ในความหมายอย่างเดียวกันต้ องเลือกดูคําทีมีความหมายแจ่มแจ้ งทีสดุ เช่นคําว่า
"สวย" กับ "งาม" มีความหมายใก้ ลเคียงกัน คําว่า "งาม" น่าจะเหมาะกับประโยค ทีสอืความหมายถึงการมีจิตใจดี
และมีคณ ุ ธรรม ส่วนคําว่า "สวย" หมายถึงรูปร่างหน้ าตาภายนอก ซึง คําว่า "งาม" จะมีความหมายทีลกึ ซึ =งกินใจ
กว่า เป็ นต้ น
2.การประหยัดคํา เราต้ องใช้ คําให้ ถกู ทีและเหมาะสมกับฐานะบุคคลปั จจุบนั มักจะใช้ คําผิดๆ ส่วนมากป็
นคําราชาศัพท์หรื อศัพท์ทีใช้ มานานแล้ ว เช่น คําว่า "มหาศาล" นันแต่ = ก่อนใช้ แต่กบั พระมหากษัตริ ย์ และ
พราหมณ์ แต่ปัจจุบนั ยังนํามาใช้ แม้ แต่ลมุ่ โจร
3. หลักความใก้ลชิ ด ต้ องวางคําขยายให้ ถกุ ต้ องตามตําแหน่งหน้ าทีมิเช่นนันจะทํ = าให้ ความหมายกํากวม
เช่น ไหมเป็ นสินค้ าสําคัญซึง ได้ มาจากตัวหนอนเล็กๆ ประโยคนี =ควรแก้ เป็ น ไหมซึง ได้ มาจากหนอนตัวเล็กๆเป็ น
สินค้ าสําคัญ
4. ฐานแห่งนําหนัก ประโยคหนึง ๆถ้ าแบ่งเป็ น 3 ตอน ใจความสําคัญมักจะอยูต่ อนท้ าย รองลงมาเป็ นต้ น
ประโยค ส่วนกลางประโยคจะมีความสําคัญมากทีสดุ
เช่น
ยกมืขึ =นไม่เช่นนันจะตาย
=
ชนชาวไทยร่วมชาติขิงข้ าพเจ้ าทังหลายจงตื
= นเถิด
5. เหตุผล ต้ องพิจารณาจากหลักเหตุผลถ้ าข้ อความใดผิดหลักความเป็ นจริ งก็ใช้ ไม่ได้ เช่น ประโยคทีวา่
เด็กคนนันเก่ = งจังเลยแค่ 5-6 เดือนก็วิงได้ แล้ ว ซึง เป็ นไปไม่ได้
6.ไวยากรณ์ หรื อหลักของภาษา เราต้ องดูวา่ คําทีใช้ ถกู ต้ องและมีความหมายกลมกลืนในประโยคหรื อไม่
เช่น
คําว่า "สมควร" ควรเชือมกับคําว่า "แก่" เช่นประโยคต่อไปนี =
"เขาจะต้ องทดลองปฎิบตั ริ าชการจนหัวหน้ าเห็นว่าเขามีความสามารถ สมควรแก่ ตําแหน่ง"
"สมเด็จพระบรมพิตรพพระราชสมภารเจ้ าตังพระราชหฤทั = ยทรงพระราชวิจารณ์ราชกิจดดยสมควรแก่
ประเทศชาติ โดย สมควรแก่ กาลสมัย
คําว่า "สม" ควรเชือมกับคําว่า "กับ" ดังนี =
"เปรี ยบสตรี มีกลุ ชาติ มารยาทน่าชม สมกับ หญิง"
"ท่านต้ งปฎิบตั ิหน้ าทีให้ สมกับ เป็ นครู"
7

คําปฎิเสธซ้ อนกันไม่ควรใช้ มิเช่นนันจะกลายเป็


= นคําบอกรับไป เช่น
"ห้ ามไม่ให้ เก็บดกไม้ " กลายเป็ น "ให้ เก็บดอกไม้ ได้ "
"มิใช่ลําเอียงก็เปล่า" กลายเป็ น "ลําเอียง"
7. การใช้ถ้อยคําให้ถูกต้องตามความนิ ยม ต้ องดูตามความเหมาะสม
ประโยคทีใช้ ตามภาษาอังกฤษ ไม่ควรใช้ เช่นคําว่า "จับหวัด" เพราะภาษาไทยใช้ ว่าว่า "เป็ นหวัด"
ประโยคทีมีคําภาษาบาลี เช่นคําว่า "อันว่าข้ าพเจ้ านี =มีความทุกข์" ก็ไม่ควรใช้ เพราะคําว่า "อันว่า" ไม่เป็ นทีนิยม
และบรรยายเป็ นตัวอักษรไม่ได้
ประโยคว่า "ฉันจะไปตัดเสื =อ" ควรใช้ "ฉันจะไปให้ ชา่ งตัดเสื =อ"
ประโยคว่า "ฉันจะไปตัดผม" ควรใช้ "ฉันจะไปให้ ชา่ งตัดผม" แต่ประโยค "เขาตัดผมของฉันและแต่งให้ เรี ยบร้ อย"
ก็ไม่ควรใช้ เพราะยาวไปไม่เป็ นทีนิยม
หลักการเรี ยงความ (ในการสอบ)
การจัดเรี ยงข้ อความทีวางไว้ ผิดที ผิดความหมาย ให้ ได้ ใจความชัดเจนนัน= ในข้ อสอบจะวางข้ อความ
กลับกันไปมาอ่านแล้ วไม่ได้ ใจความชัดเจนจึงต้ องเรี ยบเรี ยงข้ อความใหม่เพือให้ อา่ นได้ ความ มีหลักในการเรี ยง
ข้ อความดังนี =
1.ข้ อความทีกําหนดให้ สว่ นใหญ่ข้อความนันจะเป็= นตอนๆให้ ผ้ สู อบอ่านข้ อความทีกําหนไว้ ในข้ อสอบ
ตังแต่
= ต้นจนจบทุกข้ อความ แยกเอกรรถประโยคอเนกถรรถประโยคและสังกรประโยคแล้ วกําหนดว่าข้ อความใด
ควรจะอยูก่ ่อนอยูห่ ลังโดยจัดเรี ยงตามลําดับควมแล้ วใส่หมายเลขกํากับลงบนข้ อความนันๆ = เรี ยงตามลําดับไป
จนจบข้ อความ
2.จัดประโยคโดยเรี ยบเรี ยงตามลําดับข้ อความให้ ได้ ใจความดีและเป็ นภาษาทีสละสลวย
3.อ่านข้ อความทีได้ จดั เรี ยงลําดับตามหมายเลขแล้ วว่าได้ ความชัดเจนหรื อยัง ถ้ ายังไม่ชดั เจนก็เรี ยบเรี ยง
ข้ อความใหม่จนกว่าจะได้ ความชัดเจน
4.เมือได้ ลําดับหมายเลขและใจความชัดเจนดีแล้ วจึงเขียนข้ อความเรี ยงลําดับหมายเลขลงในระดาษ
คําตอบ
***ในการเรี ยงข้อความนี  ผู้เข้าสอบจะต้องฝึ กหัดทํ าบ่อยๆเพือ2 ให้เกิ ดความชํ านาญ และต้องฝึ กอ่าน
จดจํ าข้อความที ใ2 ช้ภาษาได้ถูกต้องจะช่วยให้ทําข้อสอบได้รวดเร็ ว ถกูต้องและดี ขึนใช้เวลาในการทํ าข้อสอบ
น้อยลง
***ในการสอบเนื 2องจากเวลามี จํากัดเมื 2ออ่านข้อความที 2กําหนดให้แล้วมี ความเห็นว่าจะเรี ยงลําดับให้อ่านได้
ใจความยาก และไม่แน่ใจว่าจะถกต้ ู องหรื อไม่ขอแนะนําว่าควรจะทํ าข้อสอบข้ออื 2นที ท2 ํ าได้ก่อนเสร็ จแล้วจึ ง
กลับมาเรี ยบเรี ยงใหม่
การเขียนประโยคตามหลักภาษา
ประโยค คือกลุม่ คําทีกียวข้ องกันเป็ นระเบียบและมีเนื =อความครบบริ บรู ณ์ประกอบด้ วยภาคประธาน
และภาคแสดงส่วนต่างๆ ของประโยค ประกอบด้ วยส่วนสําคัญ 2 ส่วน คือ
1. ภาคประธาน ประกอบด้ วย บทประธานและบทขยายประธาน
8
2. ภาคแสดง ประกอบด้ วย บทกริ ยา บทขยายกริ ยา บทกรรม บทขยายกรรม
รปประโยค
ู มีอย่ ู 5 รป
ู คือ
1. ประโยคกรรตุ คือ ประโยคทีกล่าวตรงไปตรงมา คือมีการเรี ยงประธาน+กริ ยา และกรรม ตามลําดับ
เช่น สุนขั กัดแมว
2. ประโยคกรรม คือ ประโยคทีเอากรรมของกริ ยามาเป็ นประธาน โดยวางไว้ หน้ าประโยค เพือเน้ นกรรม
เช่น แมวถูกสุนขั กัด
3.ประโยคกริ ยา คือ ประโยคทีเอาคํากริ ยามาไว้ หน้ าประโยคเพือเน้ นคํากริ ยานันๆ
= เกิดการปฎิวตั ขิ ึ =น,มี
นักเรี ยน 20 คนในชันนี = =
4. ประโยคการิ ต คือ ประโยคกรรตุ หรื อประโยคกรรม แต่มีผ้ รู ับแทรกเข้ ามา เช่น เขาบังคับให้ คนใช้
ทํางานหนัก,ครูให้ นกั เรี ยนทํางานหนัก
5.ประโยคกริ ยาสภาวมาลา คือ ประโยคทีเอาคํากริ ยาสภาวมาลาเป็ นบทประธาน (กริ ยาสภาวมาลา
คือกริ ยาทีทําหน้ าทีคล้ ายกับนาม) หรื อบทขยายประธาน บทกรรม หรื อบทขยายส่วนใดส่วนหนึง ของประโยคก็ได้
เช่น ออกกําลังกายทุกวันทําให้ ร่างกายแข็งแรง,พูดดีเป็ นศรี ศกั ดิC

3. ความเข้ าใจภาษา

ความเข้ าใจภาษาเข้ าใจเรื องราว


การทําความเข้ าใจภาษาเพือให้ เข้ าใจเรื องราวนัน= ควรอ่านเรื องหรื อบทความให้ ตลอดเรื องอย่างช้ าๆ
เพือให้ ทราบความหมายหรื อความคิดทีสําคัญของเรื องเพือให้ เกิดความเข้ าใจอย่างละเอียดถีถ้วน เมือเข้ าใจ
เรื องราวแล้ วก็จะสามารถแยกได้ วา่ ข้ อความใดสําคัญมาก ข้ อความใดสําคัญน้ อย จุดประสงค์ของเนื =อเรื องหรื อ
บทความ คืออะไรอยูท่ ีใด และต้ องการอะไร หรื อให้ ทําอะไร เมือทําความเข้ าใจเนื =อเรื องได้ ดีแล้ ว จึงเรี ยงลําดับ
ความสําคัญมากหรื อน้ อย เพือนําไปตอบคําถาม ให้ ตรงกับจุดมุง่ หมายตามทีกําหนดให้
ความเข้ าใจภาษาเข้ าใจเรื องราวต้ องการการฝึ กฝนเพือให้ เกิดความเข้ าใจในเวลาอันรวดเร็ วซึง ต้ องอาศัย
พื =นฐาน คือสมาธิในการอ่าน การทําความเข้ าใจ ถึงจุดมุง่ หมายและควรมีความรู้ ความชํานาญในเรื องถ้ อยคํา
และสํานวนเป็ นอย่างดี จึงจะนํามาใช้ ในการทดสอบได้
การสรุ ปความและการจับใจความ
การอ่านเพือสรุ ปความและจับใจความ ควรอ่านไปให้ ตลอดเรื องแต่อย่าเพิงสรุป เมือา่ นจบเรื องแล้ ว
จะต้ องจับใจความให้ ได้ ดงั ต่อไปนี =
1. ต้องหาใจความสําคัญของเรื 2องให้ได้ ใจความสําคัญ จะปรากฎอยูใ่ นประโยคใดประโยคหนึง หรื อ
ย่อหน้ าใดย่อหน้ าหนึง ส่วนข้ อความอืนจะเป็ นส่วนประกอบ หรื อส่วนขยายใจความสําคัญ แต่ก็ไม่แน่เสมอไป
บางครัง= ประโยคทีเป็ นใจความสําคัญ อาจจะอยู่ ตอนต้ น หรื อตอนท้ ายของเรื องก็ได้
2. เนื อ เรื 2 องและส่วนประกอบหลัก ทีจะนํามาขยายความสําคัญโดยตรง และส่วนประกอบย่อยอืนๆ จะ
เป็ นส่วนขยายความให้ เข้ าใจชัดเจนยิงขึ =นคือ
- ทําให้ ทราบใจความสําคัญว่าส่วนประกอบมีอะไรบ้ าง
9
- มีความต่อเนืองกันมาอย่างไร
- ขยายความเข้ าใจได้ ชดั เจน
- สรุปใจความได้
เมือพิจารณาได้ ดงั นี =แล้ ว จึงนําความเข้ าใจ จากการอ่านมาสรุปเนื =อความ บทความหรื อเรื องราวทีอ่าน
เพือนํามาจับใจความให้ ได้ ว่า ใคร? ทําอะไร? ทีไหน? เมือไหร่ ? อย่างไร? เมือจับใจความและเข้ าใจได้ ดงั นี =แล้ ว
จึงจะนําความเข้ าใจไปตอบคําถามทีกําหนดให้

การวิเคราะห์ เนือ3 หาการตอบคําถาม


การวิเคราะห์เนื =อหา และการตอบคําถาม ต้ องพิจารณาถึงการใช้ ถ้อยคําสํานวนว่าเหมาะสมหรื อไม่
เพียงใด นกจากนันควรพิ
= จารณาว่า ผู้อา่ นมีความคิดแทร และมีความคิดเสริ มอันสืบเนืองจากเรื องทีอา่ นอย่างไร
ความคิดแทรก หมายถึง ความคิดทีเกิดขึ =นในสมองของผู้อา่ นขณะวิเคราะห์ เป้นความคิดทีเกิดขึ =นเอง
โดยมิได้ ปรากฎในเรื องทีอา่ น
ความคิดเสริ ม หมายถึง ความคิดทีเกิดขึ =นกับผู้อา่ นหลังจาทีอา่ นจบและวิเคราะห์ บทความหรื อข้ อความ
นันเสร็
= จสิ =นไป ความคิดเสริ มอาจเป็ นความคิดทีตา่ งเรื อง ต่างประเด็น ไปจากเรื องทีอา่ น แต่จะมีความเกียวเนือง
กัน มากหรื อน้ อยแล้ วแต่บคุ คลและโอกาส
การอ่านเพือวิเคราะห์ หมายถึง การแยกออกเป็ นส่วนๆเพือพิจารณาอย่างถีถ้วน เพือแสวงหาสาระทีอยู่
ในข้ อความ บทความเนื =อหาทีอา่ นนัน=
เวลาอ่านเพือวิเคราะห์ต้องพยายามหาคําตอบว่า ข้ อความ บทความ เนื =อเรื องนันให้ = ความรู้อะไรบ้ าง
ผู้เขียนแสดงความคิดเห็นอะไรให้ ทราบบ้ าง ขณะทีเขียนมีความรู้สกึ อย่างไร พฤติกรรมเหล่านี =ผู้อา่ นควรจะ
วิเคราะห์ได้

หลักการวิเคราะห์
1. พิจารณาว่าเรื องนันใช้ = รูปแบบใด เช่น เป็ นนิทาน เป็ นเรื องยาว เป็ นร้ อยกรอง เป็ นบทละคร เรื องสัน= บทความ
2. แยกเนื =อเรื องให้ ได้ วา่ ใคร ทําอะไร ทีไหน อย่างไร เมือไร
3. แยกพิจารณาให้ ละเอียดว่า เนื =อหาประกอบด้ วยอะไรบ้ าง
4. พิจารณาว่าใช้ กลวิธีในการนําเสนอเรื องอย่างไร
5. ลําดับเหตุการณ์ ตามเหตุผลคือ ลําดับจาเหตุไปหาผล หรื อจากผลไปหาเหตุ หรื อตามเหตุการณ์ทีเกิดขึ =น
ก่อนหลัง ความสําคัญมากไปหาความสําคัญน้ อย สิงทีใก้ ลตัวไปหาไกลตัวจากขวาไปซ้ ายหรื อซ้ ายไปขวา จาก
เหนือไปใต้ หรื อใต้ ไปเหนือ จากสถานทีใหญ่ไปหาสถานทีเล็กจากส่วนรวมไปหาส่วนย่อย เป็ นต้ น
6. พิจารณาความคิดทีผ้ เู ขียนต้ องสือให้ ผ้ อู ่านทราบและความหมายทีแฝงอยูใ่ นเนื =อเรื องหรื อข้ อความนัน= เมือ
อ่านพิจารณาข้ อความ บทความ เนื =อเรื อง เสร็ จแล้ วจึงตอบคําถาม ข้ อควรระวังคือ คําตอบทีให้ เลือกนันจะ =
คล้ ายคลึงกันมาก บางครัง= ดูเหมือนว่าคําตอบเป็ นคําตอบทีถกู ต้ องทุกข้ อ จึงต้ องใช้ วิจารณญาณ เลือกคําตอบที
ถูกทีสดุ
10

การอ่ านตีความ
การตีความ คือการอ่านเพือให้ ทราบความหมาย หรื อความคิดทีสําคัญของเรื องการตีความมักเป็ นไป
ตามประสบการณ์ และความรู้สกึ ของแต่ละคน ไม่จําเป็ นว่าทุกคนจะต้ องตีความตรงกันเสมอไป
การตีความควรประเมินค่าและบอกได้ วา่ สิงไหนมีความดีด้านใดและบกพร่ องในส่วนใด ควรพิจารณาถึง
รูปแบบและจุดประเทศในการเขียนแล้ วจึงชี =ข้ อดีข้อบกพร่องโดยพิจารณาให้ เหมาะสมกับประเภทของงานของ
การเขียนนันๆ = คุณภาพของถ้ อยคําสํานวนทีใช้ มีความเหมาะสมหรื อไม่เพียงใด เป็ นต้ น
ลักษณะของคําถามในเรืองการอ่ านตีความ
อาจจะถามเกียวกับคําถามดังต่อไปนี =
1. การตังชื = อเรื อง (สามารถสรุปใจความสําคัญ ข้ อความทีอา่ นได้ )
2. รู้จดุ มุง่ หมายของผู้เขียน
3. รู้ความหมายของข้ อความ
4. รู้ความสําคัญของเรื อง
5. รู้ความหมายของคําศัพท์
6. รู้รายละเอียดเกียวกับเรื องทีอา่ น
7. ระเบียบวิธีคิด (คือการวิเคราะห์และประเมินผลได้ )
8. ความสัมพันธ์ระหว่างย่อหน้ าและระหว่างประโยค
9. วิธีนําเสนอเรื อง (อธิบายตามลําดับขัน= ยกตัวอย่าง ชี =ผลลัพท์ทีสมั พันธ์กนั ให้ คํานิยาม ด้ วยถ้ อยคําทีแปลก
ออกไป)
10. การประเมินข้ อความ เนื =อเรื องทีอา่ น.

You might also like