You are on page 1of 29

1

คำชี้แจงสำหรับครูผสู ้ อน

1. ศึกษารายละเอียดจากคู่มือการใช้ชุดแบบฝึ กเสริ มทักษะให้เข้าใจ


2. ศึกษาแผนการจัดการเรี ยนรู ้ ผลการเรี ยนรู ้ที่คาดหวัง คุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ สาระการเรี ยนรู ้ กิจกรรมการเรี ยนรู ้ การวัดผลประเมินผล และ
สื่ อที่จ ำเป็ นต้องเตรี ยมในแต่ละกิจกรรมการเรี ยนรู ้
3. ศึกษาแนวทางการจัดกระบวนการเรี ยนรู ้เพื่อบูรณาการเข้ากับกลุ่มสาระอื่น
4. ศึกษารายละเอียดในแต่ละเนื้อหาให้เข้าใจ ฝึ กทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน
ให้ถูกต้อง ตรวจสอบการเฉลยและเกณฑ์การประเมิน
5. แจ้งบทบาทและหน้าที่ของนักเรี ยน กำหนดข้อตกลงร่ วมกัน
6. ให้นกั เรี ยนทำแบบทดสอบก่อนเรี ยน ๒๐ ข้อในแต่ละชุด และทำ
แบบทดสอบหลังเรี ยนโดยใช้แบบทดสอบเดิมเมื่อเสร็ จสิ้ นการจัด
กระบวนการเรี ยนรู ้ในแต่ละชุดพร้อมกับตรวจ เฉลยและอธิบายคำตอบ
ที่ถูกต้อง
7. นำผลการทดสอบก่อนเรี ยนหลังเรี ยนในแต่ละชุดมาเปรี ยบเทียบกัน
8. ดำเนินกิจกรรมการเรี ยนรู ้ตามกระบวนการที่ระบุไว้ในแผนการจัดการเรี ยน
รู ้
9. เป็ นที่ปรึ กษาให้กบั นักเรี ยนในระหว่างจัดกิจกรรมและเป็ นผูน้ ำในการสรุ ป
เนื้อหาที่เรี ยนในแต่ละกิจกรรม
10. ทำการสอนซ่อมเสริ มถ้านักเรี ยนไม่ถึงเกณฑ์เป้ าหมาย
11. ให้นกั เรี ยนทำแบบฝึ กเสริ มทักษะให้ครบทุกชุด

คำชี้แจงสำหรับผูเ้ รียน

1. ทำแบบทดสอบก่อนเรี ยนในแต่ละชุด ๒๐ ข้อ


2. รับฟังการแจ้งจุดประสงค์การเรี ยนรู ้จากครู หรื ออ่านจากคูม่ ือ
2

3. อ่านคำชี้แจงในแต่ละกิจกรรมให้เข้าใจ แล้วปฏิบตั ิตาม


4. รับผิดชอบหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายจากกลุ่มอย่างเคร่ งครัด
5. ปฏิบตั ิตามขั้นตอนและกระบวนการให้ครบตามที่ระบุไว้
6. ท่องศัพท์และทำความเข้าใจกับคำที่เกี่ยวข้องทุกเนื้ อหา
7. ปรับปรุ งและพัฒนางานอย่างสม่ำเสมอ
8. ร่ วมสรุ ปบทเรี ยนแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัย
9. ยอมรับผลการประเมินจากครู ผสู้ อน และพร้อมปรับปรุ งแก้ไขข้อบกพร่ อง
10. ทำแบบทดสอบหลังเรี ยนด้วยความรอบคอบ

แบบทดสอบก่อนเรียนแบบฝึ กเสริมทักษะ ชุดที่ ๒


เรื่อง การสร้างคำในภาษาไทย

คำชี้แจง จงเลือกกาเครื่ องหมาย  ทับอักษร ก ข ค และ ง ที่ถูกที่สุดเพียง


ข้อเดียว
๑. ข้อใดเป็ นคำประสม ๒. คำประสมในข้อใดมีความหมาย
ก. นาฬิกา เหมือนเดิม
ข. สถานี 1. ก่อสร้าง
ค. ลำดวน ข. บีบคั้น
ง. ลูกเลี้ยง ค. ชัว่ ดี
3

ง. ตกอับ ข. ยุติธรรม
๓. คำประสมในข้อใดมีความหมาย ค. อรรถคดี
เปลี่ยนไปจากเดิม ง. ศักดานุภาพ
ก. ใจคอ
ข. ถ้วยชาม ๙. สํ + จร การสนธิค ำนี้จะได้ค ำใด
ค. ดูดดื่ม ก. สังจร
ง. ขาดเหลือ ข. สัญจร
๔. คำประสมในข้อใดมีความหมาย ค. จราจร
กว้างกว่าเดิม ง. สัญญาณ
ก. หน้าตา ๑๐. คำว่า “ ฟิ ล์ม” ได้บญั ญัติศพั ท์ค ำใด
ข. พี่นอ้ ง ใช้แทนในภาษาไทย
ค. เศร้าโศก ก. แถบบันทึกเสี ยง
ง. เหตุผล ข. แถบบันทึกภาพ
๕. การซ้ำคำในข้อใดทำให้ความหมายเป็ น ค. แถบบันทึกภาพและเสี ยง
พหูพจน์ ( มีมากยิง่ ขึ้น ) ง. แถบบันทึกการฉายภาพยนตร์
ก. คุณแม่แยกกับข้างเป็ นถุงๆ ๑๑. คำว่า “ ฟรี ” ได้บญั ญัติศพั ท์ค ำใด
ข. เธอมีน ้ำใจให้กบั เพือ่ นๆเสมอ ใช้แทนในภาษาไทย
ค. ไปๆมาๆเขาก็ตอ้ งยอมตกลง ก. ได้เปล่า
ง. นักเรี ยนทุกคนเงียบๆหน่อยค่ะ ข. ได้ง่าย
๖. คำในข้อใดนิยมนำมาซ้อนกับคำว่า ค. ได้เร็ ว
“ ไปมา .......” มากที่สุด ง. ได้มาก
ก. ไม่กลับ ๑๒. คำว่า “ ก๊อปปี้ ” ได้บญั ญัติศพั ท์ค ำใด
ข. ไกลมาก ใช้แทนในภาษาไทย
ค. หาสู่ 1. แสดงให้เป็ น
ง. เยีย่ มเยือน 2. แสดงให้เห็น
๗. คำในข้อใดเกิดจากการสมาสคำ ค. ถ่ายเอกสาร
ก. อาณาเขต ง. สนับสนุน
ข. มโนรมย์
ค. มัคคุเทศก์
ง. ราชูปถัมภ์
๘. คำในข้อใดเกิดจากสนธิค ำ
ก. ธรรมศาสตร์ ๑๓. คำใดเป็ นที่มาจากภาษาบาลี
4

ก. ทฤษฎี ง. บันดาล
ข. ภรรยา ๑๖. คำว่า “ เวฬุวนั ” มีความหมายว่า
ค. ปัญญา อย่างไร
ง. เกษตร ก. ป่ าไม้
๑๔. คำใดเป็ นคำที่มาจากภาษาสันสฤต ข. ต้นไม้
ก. กีฬา ค. ป่ าไผ่
ข. กรี ฑา ง. ต้นไผ่
ค. บุบผา ๑๗. คำว่า “มหัศจรรย์” มาจากคำใดสนธิ
ง. อัคคี กับคำใด
๑๕. คำใดเป็ นคำที่มาจากภาษาเขมร ก. มหัศ + อัศจรรย์
ก. อัยกา ข. มหา + อัศจรรย์
ข. ชิวหา ค. มหิ ต + อัศจรรย์
ค. ภรรยา ง. มหา + ไอศวรรย์
๑๘. ภาษาสันสกฤตที่แตกต่างจากภาษาบาลีมากที่สุดคือสิ่ งใด
ก. คำภาษาสันสกฤตใช้ รร หัน
ข. คำภาษาสันสกฤตใช้ ฬ
ค. คำภาษาบาลีมกั ประสมด้วย ฤ ฦ ฤๅ ฦๅ
ง. คำในภาษาบาลมักใช้ รร หัน เป็ นตัวสะกด
๑๙. คำในภาษาต่างประเทศคำใดที่ไทยเรานำมาใช้โดยการทับศัพท์ โยที่ยงั ไม่มี
การบัญญัติศพั ท์ที่ใช้แทน
ก. เชียร์
ข. รถเมล์
ค. ฟุตบอล
ง. รถมอเตอร์ไซค์
๒๐. คำภาษาเขมรคำใดที่ไทยเรานิยมใช้มาเป็ นคำราชาศัพท์
ก. ไอศูรย์
ข. เสด็จ
ค. พระหัตถ์
ง. พระชิวหา
5

ใบความรู ้

เรื่องการสร้างคำ

๑. การประสมคำ
คำประสม การนำคำที่มีความหมายสมบูรณ์ต้ งั แต่ ๒ คำขึ้นไป มาประสม
กันแล้วเกิดเป็ นคำใหม่ มีความหมายใหม่ มีลกั ษณะดังนี้
๑. เกิดจากการนำคำที่มีลกั ษณะต่างกันทั้งรู ป เสี ยง และความหมายมา
ประสมกันทำให้เกิดความหมายใหม่ เช่น

พ่อ (สามีของแม่) เมื่อนำมาประสมกันจะเป็ น พ่อตา


ตา (พ่อของแม่) (พ่อของเมีย)
๒. เกิดจากการนำคำที่มีลกั ษณะต่างกันทั้งรู ป เสี ยง และความหมายมา
ประสมกันแต่ความหมายยังคงเดิม เช่น
บท (ข้อความเรื่ องหนึ่งๆ
หรื อตอนหนึ่งๆ) เมื่อนำมาประสมกันจะเป็ นบทเพลง
เพลง (เสี ยงขับร้อง
ทำนองดนตรี )
6

๓. เกิดจากการนำคำที่มีลกั ษณะเหมือนกันทั้งรู ป เสี ยง และความหมาย


มาประสมกันแล้วความหมายเปลี่ยนไปจากเดิม แต่กย็ งั คงมีเค้า
ความหมายเดิมอยู่ เช่น
แบน (มีลกั ษณะแผ่ราบออกไป) เมื่อนำมาประสมกันจะเป็ น แบนๆ
แบน (มีลกั ษณะแผ่ราบออกไป) (ค่อนข้างแบน)
๔. เกิดจากการนำคำที่มีลกั ษณะต่างกันทั้งรู ปและเสี ยง แต่ความหมาย
เหมือนกันมาประสมกันแล้วความหมายเหมือนเดิม เช่น
ห่ าง (ไม่ชิด) เมื่อนำมาประสมกันจะเป็ นห่ างไกล
ไกล (ยืดยาว นาน) (จากไประยะทางอันยืดยาวไม่ได้อยู่
ใกล้ชิดกัน)
๕. เกิดจากการย่อคำที่มีใจความมาก มักมีค ำว่า การ ความ ชาว ช่ าง นัก
หมอ ฯลฯ ประกอบอยูห่ น้าคำและมีความหมายเหมือนเดิม เช่น
นักเขียน ย่อมาจาก ผูท้ ี่เขียนหนังสื อเป็ นอาชีพ
ชาวประมง ย่อมาจาก ผูท้ ี่ประกอบอาชีพจับสัตว์น ้ำ
๖. เกิดจากการนำคำภาษาบาลีและสันสกฤต มาสมาสและสนธิกนั ได้ค ำ
ที่มีความหมายใหม่และสมบูรณ์กว่าเดิม เช่น พลานามัย อรุ โณทัย วัฒนธรรม
เป็ นต้น

การซ้ำคำ

คำซ้ำ คือ คำที่เหมือนกันทั้งเสี ยงและความหมาย มีท้ งั ๒ คำ และ ๔


คำ เรี ยงกันอยู่ คำหลังจะใช้ไม้ยมกแทน
ตัวอย่ าง ชนิดเรียง ๒ คำ เช่น
ไกล ๆ ใกล้ ๆ โครม ๆ ง่าย ๆ
จั้ก ๆ จริ ง ๆ เปรี้ ยง ๆ ถี่ ๆ เร็ ว ๆ ช้า ๆ
ดำ ๆ ขาว ๆ ผอม ๆ เฉย ๆ ดี ๆ เตี้ย ๆ นุ่ม ๆ เบา ๆ
เด็ก ๆ พี่ ๆ ลูก ๆ น้อง ๆ สาว ๆ หลาน ๆ เพื่อน ๆ กลุ ่ม ๆ
ตัวอย่ าง ชนิดเรียง ๔ คำ เช่น
ขาด ๆเกิน ๆ เจ็บ ๆไข้ ๆ ด้อม ๆมอง ๆ
สุ ก ๆดิบ ๆ ปิ ด ๆเปิ ด ๆ ออด ๆ แอด ๆ ผิด ๆ ถูก ๆ
7

การซ้ อนคำ

คำซ้ อน คือ คำที่เกิดจากการนำคำที่มีความหมายคล้ายคลึงกัน หรื อใกล้


เคียงกันมาประสมกันเป็ นคู่ อาจมี ๒, ๔ หรื อ ๖ คำ ความหมายของคำซ้อนจะ
แปลกไปจากเดิม เช่น จากพราก จัดแจง จดจำ ปลอดโปร่ ง ปราบปราม ห่าง
ไกล อล่องฉ่อง หยดย้อย ครื้ นเครง ง่วงเหงาหาวนอน บนบานศาลกล่าว หวาน
เป็ นลมขมเป็ นยา เป็ นต้น

การสมาสคำ

คำสมาส คือ การสร้างคำใหม่ในภาษาบาลีสนั สกฤต เกิดจากการนำคำบาลี


สันสกฤตตั้งแต่ ๒ คำ ขึ้นไปมารวมกันเป็ นคำๆเดียว ดังนี้
1. คำบาลีสมาสกับคำบาลี เช่น
อาณา+เขต เป็ น อาณาเขต อ่านว่า อา-นา-เขด
ปัญญา+ชน เป็ น ปัญญาชน อ่านว่า ปัน-ยา-ชน
อิสระ+ภาพ เป็ น อิสรภาพ อ่านว่า อิด-สะ-หระ-พาบ
2. คำสันสกฤตสมาสกับคำสันสกฤต เช่น
วิทยุ+ศึกษา เป็ น วิทยุศึกษา อ่านว่า วิด-ทะ-ยุ-สึ ก-สา
ธรรม+ศาสตร์ เป็ น ธรรมศาสตร์ อ่านว่า ทำ-มะ-สาด
อักษร+ศาสตร์ เป็ น อักษรศาสตร์ อ่านว่า อัก-สอ-ระ-สาด
3. คำบาลีสมาสกับคำสันสกฤต หรื อคำสันสกฤตสมาสกับคำบาลี เช่น
ยุติ+ธรรม เป็ น ยุติธรรม อ่านว่า ยุต-ติ-ทำ
อรรถ+คดี เป็ น อรรถคดี อ่านว่า อัด-ถะ-คะ-ดี
อัฒ+จันทร์ เป็ น อัฒจันทร์ อ่านว่า อัด-ทะ-จัน

การสนธิคำ
8

คำสนธิ คือ การเชื่อมคำเข้าด้วยกัน โดยนำคำบาลีและสันสกฤตตั้งแต่ ๒


คำขึ้นไป มาเชื่อมต่อกันเป็ นคำเดียวกัน เสี ยงสุ ดท้ายของคำหน้ารับเสี ยงหน้าของ
คำหลัง ดังนี้
๑. เชื่อมกันด้ วยเสียงสระ โดยเชื่อมเสี ยงสระหลังของคำหน้ากับสระหน้า
ของคำหลัง เช่น
คงคา + อาลัย เป็ น คงคาลัย อ่านว่า คง-คา-ไล
ธน +อาคาร เป็ น ธนาคาร อ่านว่า ทะ-นา-คาน
วิทย + อาลัย เป็ น วิทยาลัย อ่านว่า วิด-ทะ-ยา-ไล
๒. เชื่อมกันด้ วยเสี ยงพยัญชนะ โดยเชื่อมเสี ยงพยัญชนะสุ ดท้ายของคำ
หน้ากับเสี ยงพยัญชนะหรื อเสี ยงสระหน้าของคำหลัง เช่น
มนัส + รมย เป็ น มโนรมย์ อ่านว่า มะ-โน-รม
พรหมน + ชาติ เป็ น พรหมชาติ อ่านว่า พรม-มะ-ชาด
รหส + ฐาน เป็ น รโหฐาน อ่านว่า ระ-โห-ถาน
๓. เชื่อมกันด้ วยนฤคหิต ( º ) โดยเชื่อมเสี ยงท้ายของคำที่มีนฤคหิ ต
กับเสี ยงพยัญชนะ หรื อเสี ยงสระของคำหลัง เช่น
สํ + คีต เป็ น สังคีต อ่านว่า สัง-คีด
สํ + จร เป็ น สัญจร อ่านว่า สัน-จอน
สํ + พันธ เป็ น สัมพันธ์ อ่านว่า สำ-พัน

คำต่ างประเทศที่นำมาใช้ ในภาษาไทย

นอกจากบาลีสนั สกฤตแล้ว ยังมีภาษาต่างประเทศอีกหลายภาษาที่น ำมา


ใช้ในภาษาไทภาษาที่มาจากประเทศทางทวีปยุโรป มีการนำมาใช้ในภาษาไทย
ได้หลายวิธี ดังนี้
๑. ภาษาต่างประเทศที่น ำมาใช้ตรงตัว ยังไม่มีค ำไทยที่จะใช้แทน เช่น
ฟุตบอล ไมโครโฟน นอต
9

๒. ภาษาต่างประเทศที่มีค ำภาษาไทยใช้แทนแล้ว แต่กย็ งั มีคนใช้ค ำ


ภาษาต่างประเทศอยู่ เช่น รถจักรยานยนต์ (มอเตอร์ไซค์) ธนาคาร (แบงค์)
แถบบันทึกเสี ยง (เทป)
๓. คำภาษาต่างประเทศบางคำที่มีค ำไทยใช้แทนแล้ว แต่ในภาษาพูด
นิยมใช้กนั มาก เช่น สนับสนุน (เชียร์) แสดงให้เห็น (โชว์) ได้เปล่า (ฟรี )
คำลักษณะเช่นนี้ไม่ควรนำมาใช้ในภาษาที่เป็ นทางการ
ในการใช้ค ำภาษาต่างประเทศเหล่านี้ ถ้าต้องการใช้ในภาษาทางการควรใช้
คำภาษาไทยที่แทนได้เขียนแทน ยกเว้นคำที่ยงั หาคำในภาษาไทยแทนไม่ได้ให้ใช้
คำจากภาษาเดิม
หลักการสั งเกตคำภาษาต่ างประเทศในภาษาไทย
๑. ภาษาสันสกฤต มีลกั ษณะ ดังนี้
1) ประสมด้วยสระ ฤ ฤา ฦ ฦา ไอ เอา เช่น ฤดี ไอศูรย์
2) คำที่ประสมด้วย ศ ษ เช่น เกษตร ทฤษฎี
3) คำที่ใช้ ส นำหน้าพยัญชนะวรรค ตะ (ต ถ ท ธ น) เช่น สตรี
สถาน
4) คำที่มีอกั ษรควบกล้ำ เช่น ปรัชญา ราตรี
5) คำที่มี ร หัน เช่น กรม ธรรม ภรรยา
6) คำที่ใช้ ฑ เช่น กรี ฑา จุฑา ครุ ฑ
๒. ภาษาบาลี มีลกั ษณะ ดังนี้
๑) คำที่ประสมสระ อะ อิ อุ แทน ฤ ในภาษาสันสกฤต เช่น มิค มตะ
อมตะ อุตุ หทัย
๒) คำบาลีที่นิยมใช้ ฬ เช่น จุฬา วิฬาร์ วิรุฬห์ กีฬา เวฬุ
๓) ใช้พยัญชนะ ๒ ตัวซ้อนกัน แทนคำควบกล้ำ หรื ออักษรนำ เช่น
สัจจะ ปัญญา สักกะ
๔) สังเกตตัวสะกดและตัวตาม เช่น
 พยัญชนะบาลี เมื่อมีตวั สะกดต้องมีตวั ตาม
 พยัญชนะที่เป็ นตัวสะกดได้ คือ พยัญชนะแถวที่ ๑, ๓, ๕
 พยัญชนะแถวที่ ๑ สะกด พยัญชนะแถวที่ ๑, ๒ ตาม เช่น
สักกะ ทุกข์ สัจจุ มัจฉา อัตตะ อิตถี หัตถ์ กัปปะ สิ ปปะ
บุปผา เป็ นต้น
10

 พยัญชนะแถวที่ ๓ สะกด แถวที่ ๓, ๔ เป็ นตัวตาม เช่น อัคคี


พยัคฆ์ วิชชา อัชฌา พุทธ มุทธ สิ ทธิ ศัพภ์ เป็ นต้น
 พยัญชนะแถวที่ ๕ สะกด พยัญชนะทุกตัวในวรรคเดียวกันตาม
ได้ เช่น องก์ สังข์ องค์ สงฆ์ สัญจร สัญชาติ สัญญา สัณฐาน
สันดาป สัณฐาน สัมผัส สัมพันธ์ คัมภีร์ อัมพร เป็ นต้น
 พยัญชนะเศษวรรค เป็ นตัวสะกดได้บางตัว เช่น อัยกา มัลลิกา
อัสสะ วิรุฬห์ ชิวหา เป็ นต้น
๓. ภาษาเขมรมีลกั ษณะดังนี้
1) ภาษาเขมรมีค ำพยางค์เดียวเช่นเดียวกับภาษาไทย เช่น แข ไข
แด (ใจ) โดม เพ็ญ (เต็ม) เจิม เนา (อยู)่ โสม (ดวงจันทร์ )
เป็ นต้น
2) ภาษาเขมรนิยมคำควบกล้ำและอักษรนำ เช่น กระบือ ขลา (เสื อ)
ขลัง ไถง แถง สลา เขนย เป็ นต้น
3) ภาษาเขมรส่ วนมากสะกดด้วยตัว ร ล ญ จ เช่น ขจร ระเมียร
(ดู) ควร เมิล (ดู) บินดาล บันดาล เจริ ญ เพ็ญ อำนาจ เป็ นต้น
4) คำภาษาเขมรมีการเติมอุปสรรค บํ ประ เช่น บำเพ็ญ บำบัด
บำบวง บังควร บังอาจ บังคับ บันดาล ประจุ ประชุม ประจบ
เป็ นต้น
5) คำภาษาเขมรนิยมการแผลงคำ เช่น กำเนิด กำลัง แผนก ระบำ
อำนาจ กำเดา เป็ นต้น
6) คำภาษาเขมรนิยมใช้เป็ นคำราชาศัพท์ เช่น เสวย เขนย เสด็จ
ทรง ประทับ ตรัส โปรด เป็ นต้น

ที่มา : วิโรจน์ มังคละมณี , หลักภาษาไทย . ฉะเชิ งเทรา : ประสานมิตร ,


๒๕๔๕
11

แบบฝึ กเสริมทักษะ ชุดที่ ๑

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนพิจารณาคำต่อไปนี้ แล้วกาเครื่ องหมาย  หลังคำที่เป็ น


คำประสมและกาเครื่ องหมาย  หลังคำที่ไม่ใช่ค ำประสม พร้อมกับ
บอกที่มาถ้าเป็ นคำประสม

ข้ อ คำ คำประสม ที่มา
ตัวอย่ าง พ่อตา  พ่อ + ตา
๑ นาฬิกา
๒ ลูกเลี้ยง
๓ เกรงใจ
๔ ลำดวน
๕ บทบาท
๖ พลานามัย
๗ วัฒนธรรม
๘ ทำนอง
๙ ประมง
๑๐ แบบแผน
12

ชื่อ ................................................................. เลข


ที่ ................ ชั้น...........
แบบฝึ กเสริมทักษะ ชุดที่ ๒

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนพิจารณาการซ้อนคำต่อไปนี้ แล้วบอกว่าซ้อนคำแล้วทำให้


ความหมายของคำนั้นเป็ นอย่างไร โดยเลือกใช้ค ำตอบที่ก ำหนดให้
๑. ความหมายเหมือนเดิม ๒. ความหมายแคบลง
๓. ความหมายกว้างกว่าเดิม ๔. ความหมายเปลี่ยนจากเดิม
๕. ความหมายไม่แน่นอนขึ้นอยูก่ บั บริ บท

ที่ การซ้อนคำ ความหมาย


๑ ทรัพย์สิน
๒ จิตใจ
๓ ขัดถู
๔ ดูดดื่ม
๕ ชัว่ ดี
๖ อ่อนหวาน
๗ ข้าวปลา
๘ หยอกล้อ
๙ บีบคั้น
๑๐ ก่อสร้าง
13

ชื่อ ................................................................. เลข


ทีแบบฝึ
่ ................
กเสริมทักษะชั้นชุ...........
ดที่ ๓

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนเขียนคำที่มีความหมายเหมือนกันและนิยมนำมาซ้อนคำ


ที่ก ำหนดให้ต่อไปนี้
ตัวอย่าง ซื่อ = ซื่อตรง

๑. เลือก =

๒. อ่อน =

๓. ศึก =

๔. คัด =

๕. ขวาก =

๖. ตัด =

๗. เบียด =

๘. อุด =

๙. สร้าง =

๑๐. ช่อง =
14

ชื่อ .................................................................
แบบฝึ กเสริมทักษะ ชุดที่ ๔ เลข
ที่ ................ ชั้น...........

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนพิจารณาคำที่ก ำหนดให้ต่อไปนี้ แล้วบอกว่าคำใดเกิดจาก


การสมาสคำ และคำใดเกิดจากการสนธิค ำ พร้อมทั้งบอกที่มาของคำ

ที่ คำที่ก ำหนดให้ วิธีการสร้างคำ / ที่มา


ตัวอย่าง ชลาลัย การสนธิค ำ ชล + อาลัย
๑ ธรรมศาสตร์
๒ อิสรภาพ
๓ วิทยาลัย
๔ ยุติธรรม
๕ พุทโธวาท
๖ มหัศจรรย์
๗ กิจการ
๘ มัคคุเทศก์
๙ คุณูปการ
๑๐ อักษรศาสตร์

ชื่อ ................................................................. เลข


ที่ ................ ชั้น...........
15

แบบฝึ กเสริมทักษะ ชุดที่ ๕

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนบอกคำที่เกิดจากการสมาสและสนธิค ำต่อไปนี้

ตัวอย่าง ราช + อุปถัมภ์ = ราชูปถัมภ์

ที่ การสมาส สนธิ คำ


๑ รหัส + ฐาน
๒ เทศ + อภิบาล
๓ อัฒ + จันทร์
๔ มนัส + ธรรม
๕ ศักดิ + อานุภาพ
๖ สาธารณ + อุปโภค
๗ วชิร + อาวุธ
๘ ประชา + อธิปไตย
๙ อธิ + อาศัย
๑๐ ทุส + กันดาร

ชื่อ ................................................................. เลข


ที่ ................ ชั้น...........
แบบฝึ กเสริมทักษะ ชุดที่ ๖
16

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนบอกว่าคำต่อไปนี้ เป็ นคำที่มาจากภาษาบาลีหรื อ


ภาษาสันสกฤตพร้อมทั้งบอกความหมาย

ที่ คำ ภาษาบาลี / สันสกฤต ความหมาย


๑ เกษตร
๒ เวฬุวนั
๓ ทฤษฎี
๔ ปรัชญา
๕ ปัญญา
๖ มัจฉา
๗ ภรรยา
๘ กรี ฑา
๙ กีฬา
๑๐ สัมพันธ์

ชื่อ ................................................................. เลข


ที่ ................ ชั้น...........

แบบฝึ กเสริมทักษะ ชุดที่ ๗

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนบอกคำไทยที่ใช้แทนคำภาษาต่างประเทศที่ก ำหนดให้


17

ฟรี ……………………
โชว์ ……………………
เชียร์ ……………………
แบงค์ ……………………
รถมอเตอร์ไซค์ ……………………
เทป ……………………
รถเมล์ ……………………
แอร์ ……………………
ก๊อปปี้ ……………………
๑๐. ฟิ ล์ม ๑๐.……………………

ชื่อ ................................................................. เลข


ที่ ................
แบบฝึ กเสริมทักษะ ชุดชัที้น่ ...........

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนบอกความหมายของคำภาษาเขมรต่อไปนี้

ที่ คำ ความหมาย
๑ เจิม
๒ ไถง
18

๓ บำเพ็ญ
๔ บังอาจ
๕ โสม
๖ กระบือ
๗ กำเดา
๘ เสด็จ
๙ ระเมียร
๑๐ อำนาจ

ชื่อ .............................................................. เลข


ที่ ................
แบบฝึ กเสริ ม ทั
ก ษะชัชุ้นด...........
ที่ ๙
คำอ่ าน คำ
ทุ – ระ – กัน – ดาน ................................
ยุ – ระ – ยาด ................................
คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนเขียนคำจากคำอ่านต่อ................................
ไปนี้
พรม – มะ – ชาด
ระ – โห – ถาน ................................
อัก – สอ – ระ – สาด ................................
รา – ชู – ปะ – ถำ ................................
ยุด – ติ – ทำ ................................
ปรัด – ชะ – ยา ................................
ถะ – ไหง ................................
ขะ – เหนย ................................
19

ชื่อ ................................................................. เลข


ที่ ................ ชั้น...........
แบบฝึ กเสริมทักษะ ชุดที่ ๑๐

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนนำคำที่ก ำหนดให้ไปแต่งประโยคให้ถูกต้องตามความ


หมาย
วิทย
๑. าลัย
เหตุ
๒. การ
ยุณ์ติธ
๓. รรม
ทุรกั
นดา

20

๔.
บำเ
๕. พ็ญ
พ่อ
๖. เลี้ยง
มหัศ
๗. จรร
ซื่อย์สั
๘. ตย์
เกษ
๙. ตร
ทฤษ
๑๐. ฎี

ชื่อ ................................................................. เลข


ที่ ................ ชั้น...........
แบบทดสอบหลังเรียนแบบฝึ กเสริมทักษะ ชุดที่ ๒
เรื่อง การสร้างคำในภาษาไทย

คำชี้แจง จงเลือกกาเครื่ องหมาย  ทับอักษร ก ข ค และ ง ที่ถูกที่สุดเพียง


ข้อเดียว
๑. ข้อใดเป็ นคำประสม ข. บีบคั้น
ก. นาฬิกา ค. ชัว่ ดี
ข. สถานี ง. ตกอับ
ค. ลำดวน ๓. คำประสมในข้อใดมีความหมาย
ง. ลูกเลี้ยง เปลี่ยนไปจากเดิม
๒. คำประสมในข้อใดมีความหมาย ก. ใจคอ
เหมือนเดิม ข. ถ้วยชาม
2. ก่อสร้าง ค. ดูดดื่ม
21

ง. ขาดเหลือ
๔. คำประสมในข้อใดมีความหมาย ๙. สํ + จร การสนธิค ำนี้จะได้ค ำใด
กว้างกว่าเดิม ก. สังจร
ก. หน้าตา ข. สัญจร
ข. พี่นอ้ ง ค. จราจร
ค. เศร้าโศก ง. สัญญาณ
ง. เหตุผล ๑๐. คำว่า “ ฟิ ล์ม” ได้บญั ญัติศพั ท์ค ำใด
๕. การซ้ำคำในข้อใดทำให้ความหมายเป็ น ใช้แทนในภาษาไทย
พหูพจน์ ( มีมากยิง่ ขึ้น ) ก. แถบบันทึกเสี ยง
ก. คุณแม่แยกกับข้างเป็ นถุงๆ ข. แถบบันทึกภาพ
ข. เธอมีน ้ำใจให้กบั เพือ่ นๆเสมอ ค. แถบบันทึกภาพและเสี ยง
ค. ไปๆมาๆเขาก็ตอ้ งยอมตกลง ง. แถบบันทึกการฉายภาพยนตร์
ง. นักเรี ยนทุกคนเงียบๆหน่อยค่ะ ๑๑. คำว่า “ ฟรี ” ได้บญั ญัติศพั ท์ค ำใด
๖. คำในข้อใดนิยมนำมาซ้อนกับคำว่า ใช้แทนในภาษาไทย
“ ไปมา .......” มากที่สุด ก. ได้เปล่า
ก. ไม่กลับ ข. ได้ง่าย
ข. ไกลมาก ค. ได้เร็ ว
ค. หาสู่ ง. ได้มาก
ง. เยีย่ มเยือน ๑๒. คำว่า “ ก๊อปปี้ ” ได้บญั ญัติศพั ท์ค ำใด
๗. คำในข้อใดเกิดจากการสมาสคำ ใช้แทนในภาษาไทย
ก. อาณาเขต 3. แสดงให้เป็ น
ข. มโนรมย์ 4. แสดงให้เห็น
ค. มัคคุเทศก์ ค. ถ่ายเอกสาร
ง. ราชูปถัมภ์ ง. สนับสนุน
๘. คำในข้อใดเกิดจากสนธิค ำ
ก. ธรรมศาสตร์
ข. ยุติธรรม
ค. อรรถคดี
ง. ศักดานุภาพ ๑๓. คำใดเป็ นที่มาจากภาษาบาลี
22

ก. ทฤษฎี ง. บันดาล
ข. ภรรยา ๑๖. คำว่า “ เวฬุวนั ” มีความหมายว่า
ค. ปัญญา อย่างไร
ง. เกษตร ก. ป่ าไม้
๑๔. คำใดเป็ นคำที่มาจากภาษาสันสฤต ข. ต้นไม้
ก. กีฬา ค. ป่ าไผ่
ข. กรี ฑา ง. ต้นไผ่
ค. บุบผา ๑๗. คำว่า “มหัศจรรย์” มาจากคำใดสนธิ
ง. อัคคี กับคำใด
๑๕. คำใดเป็ นคำที่มาจากภาษาเขมร ก. มหัศ + อัศจรรย์
ก. อัยกา ข. มหา + อัศจรรย์
ข. ชิวหา ค. มหิ ต + อัศจรรย์
ค. ภรรยา ง. มหา + ไอศวรรย์
๑๘. ภาษาสันสกฤตที่แตกต่างจากภาษาบาลีมากที่สุดคือสิ่ งใด
ก. คำภาษาสันสกฤตใช้ รร หัน
ข. คำภาษาสันสกฤตใช้ ฬ
ค. คำภาษาบาลีมกั ประสมด้วย ฤ ฦ ฤๅ ฦๅ
ง. คำในภาษาบาลมักใช้ รร หัน เป็ นตัวสะกด
๑๙. คำในภาษาต่างประเทศคำใดที่ไทยเรานำมาใช้โดยการทับศัพท์ โยที่ยงั ไม่มี
การบัญญัติศพั ท์ที่ใช้แทน
ก. เชียร์
ข. รถเมล์
ค. ฟุตบอล
ง. รถมอเตอร์ไซค์
๒๐. คำภาษาเขมรคำใดที่ไทยเรานิยมใช้มาเป็ นคำราชาศัพท์
ก. ไอศูรย์
ข. เสด็จ
ค. พระหัตถ์
ง. พระชิวหา
23

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนแบบฝึ กเสริมทักษะ ชุดที่ ๒


เรื่อง การสร้างคำในภาษาไทย

๑. ง ๒. ก ๓. ค ๔. ข
๕. ข
๖. ค ๗. ก ๘. ง ๙. ข
๑๐. ค
๑๑. ก ๑๒. ค ๑๓. ค ๑๔.
ข ๑๕. ง
๑๖. ค ๑๗. ข ๑๘. ก ๑๙. ค ๒๐. ข
24

เฉลยแบบฝึ กเสริมทักษะ ชุดที่ ๑

ข้อ คำ คำประสม ที่มา


๑ นาฬิกา 
๒ ลูกเลี้ยง  ลูก + เลี้ยง
๓ เกรงใจ  เกรง + ใจ
๔ ลำดวน 
๕ บทบาท  บท + บาท
๖ พลานามัย 
๗ วัฒนธรรม  วัฒนะ + ธรรม
๘ ทำนอง 
๙ ประมง 
๑๐ แบบแผน  แบบ + แผน
25

เฉลยแบบฝึ กเสริมทักษะ ชุดที่ ๒

ที่ การซ้อนคำ ความหมาย


๑ ทรัพย์สิน ความหมายกว้างกว่าเดิม
๒ จิตใจ ความหมายเหมือนเดิม
๓ ขัดถู ความหมายแคบลง
๔ ดูดดื่ม ความหมายเปลี่ยนจากเดิม
๕ ชัว่ ดี ความหมายไม่แน่นอนขึ้นอยู่
กับบริบท
๖ อ่อนหวาน ความหมายเหมือนเดิม
๗ ข้าวปลา ความหมายกว้างกว่าเดิม
๘ หยอกล้อ ความหมายเหมือนเดิม
๙ บีบคั้น ความหมายเปลี่ยนจากเดิม
๑๐ ก่อสร้าง ความหมายเหมือนเดิม

เฉลยแบบฝึ กเสริมทักษะ ชุดที่ ๓

เป็ นแนวคำตอบ นักเรี ยนอาจตอบแตกต่างจากนี้ ได้ ขึ้นอยูก่ บั ดุลยพินิจของครู


๑. เลือกเฟ้ น ๒. อ่อนนุ่ม
๓. ศึกสงคราม ๔. คัดเลือก
๕. ขวากหนาม ๖. ตัดขาด
๗. เบียดบัง ๘. อุดหนุน
๙. สร้างเสริ ม ๑๐. ช่องทาง
26

เฉลยแบบฝึ กเสริมทักษะ ชุดที่ ๔

ที่ คำที่กำหนดให้ วิธีการสร้างคำ / ที่มา


ตัวอ ชลาลัย การสนธิคำ ชล + อาลัย
ย่าง
๑ ธรรมศาสตร์ การสมาส ธรรม + ศาสตร์
คำ
๒ อิสรภาพ การสมาส อิสระ + ภาพ
คำ
๓ วิทยาลัย การสนธิคำ วิทย + อาลัย
๔ ยุติธรรม การสมาส ยุติ+ธรรม
คำ
๕ พุทโธวาท การสนธิคำ พุทธ + โอวาท
๖ มหัศจรรย์ การสนธิคำ มหา + อัศจรรย์
๗ กิจการ การสมาส กิจ + การ
คำ
๘ มัคคุเทศก์ การสนธิคำ มัคค + อุเทศก์
๙ คุณูปการ การสนธิคำ คุณ + อุปการ
๑๐ อักษรศาสตร์ การสมาส อักษร+ศาสตร์
คำ

เฉลยแบบฝึ กเสริมทักษะ ชุดที่ ๕

๑. รโหฐาน ๒. เทศาภิบาล
๓. อัฒจันทร์ ๔. มโนธรรม
27

๕. ศักดานุภาพ ๖. สาธารณูปโภค
๗. วชิราวุธ ๘. ประชาธิปไตย
๙. อัธยาศัย ๑๐. ทุรกันดาร

เฉลยแบบฝึ กเสริมทักษะ ชุดที่ ๖

ที่ คำ ภาษาบาลี / ความหมาย


สันสกฤต
๑ เกษตร ภาษา ที่ดิน ทุ่ง นา ไร่
สันสกฤต
๒ เวฬุวัน ภาษาบาลี ป่ าไผ่
๓ ทฤษฎี ภาษา การคาดเอาตามหลัก
สันสกฤต วิชาการเพื่อเสริมเหตุผล
๔ ปรัชญา ภาษา วิชาว่าด้วยหลักแห่งความรู้
สันสกฤต และความจริง
๕ ปั ญญา ภาษาบาลี ความฉลาดรอบรู้
๖ มัจฉา ภาษาบาลี ปลา
๗ ภรรยา ภาษา เมีย หรือหญิงที่เป็ นคู่ครอง
สันสกฤต ของชาย
๘ กรีฑา ภาษา กีฬาประเภทหนึ่ง การปะ
สันสกฤต ลองยุทธ
๙ กีฬา ภาษาบาลี กิจกรรมหรือการเล่นเพื่อ
ความสนุกสนาน
เพลิดเพลิน
๑๐ สัมพันธ์ ภาษาบาลี ผูกพัน เกี่ยวข้อง

เฉลยแบบฝึ กเสริมทักษะ ชุดที่ ๗


28

๑. ได้เปล่า ๒. แสดงให้เห็น
๓. สนับสนุน ๔. ธนาคาร
๕. รถจักรยานยนต์ ๖. แถบบันทึกเสี ยง
๗. รถโดยสารประจำทาง ๘. เครื่ องปรับอากาศ
๙. ถ่ายเอกสาร ๑๐. แถบบันทึกภาพและเสี ยง

เฉลยแบบฝึ กเสริมทักษะ ชุดที่ ๘

ที่ คำ ความหมาย
๑ เจิม เอาแป้ งหอมแต้มเป็ นจุดที่หน้าผาก
หรือสิ่งที่ต้องการให้เป็ นมงคล
๒ ไถง ตะวัน , วัน
๓ บำเพ็ญ ทำให้เต็มบริบูรณ์
๔ บังอาจ กล้าแสดงกล้าทำโดยไม่ยำเกรง , กล้า
ทำผิดกฎหมาย
๕ โสม ชื่อไม้เถาชนิดหนึ่ง หัวคล้ายผักกาด
กินได้และทำยาได้,
พระจันทร์
๖ กระบือ ควาย
๗ กำเดา เลือดที่ออกทางจมูก
๘ เสด็จ ไป , คำเรียกเจ้านายชั้นพระองค์เจ้าขึ้น
ไป
๙ ระเมียร ดู , น่าดู
๑๐ อำนาจ กำลัง , อิทธิพลที่จะบังคับให้ผู้อ่ น
ื ทำ
ตาม , การบังคับบัญชา

เฉลยแบบฝึ กเสริมทักษะ ชุดที่ ๙


29

๑. ทุรกันดาร ๒. ยุรยาตร
๓. พรหมชาติ ๔. รโหฐาน
๕. อักษรศาสตร์ ๖. ราชูปถัมภ์
๗. ยุติธรรม ๘. ปรัชญา
๙. ไถง ๑๐. เขนย

เฉลยแบบฝึ กเสริมทักษะ ชุดที่ ๑๐

เฉลยขึ้นอยูก่ บั ดุลยพินิจของครู

You might also like