You are on page 1of 39

คํายืมภาษาเขมรในภาษาไทย

ผูสอน อ. มธุมิส สมานทรัพย


คํายืมจากภาษาเขมร
ภาษาเขมรเปนภาษาคําโดด จัดอยูในตระกูลมอญ-เขมร
ไทยกับ เขมรมีค วามสัม พัน ธกัน มาเปน เวลาอัน ยาวนาน จึง ทํา ใหมีก าร
หยิบยืมถอยคําภาษา ของกันและกัน ไทยยืมคําภาษาเขมรมาใชเปนจํานวนมาก
ภาษาเขมรนอกจากจะใชกันในประเทศกัมพูชาแลว ยังใชกันในบรรดา
คนไทยเชื้อสายเขมรทางจังหวัดตาง ๆ บางจังหวัดทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ
ภาคตะวันออกของประเทศไทยดวย
คํ า เขมรเขา สู ภ าษาไทยโดยทางการเมือ ง ทางวัฒ นธรรมและทาง
ภูมิศาสตร เรายืมคําเขมรมาใชโดยการทับศัพท ทับศัพทเสียงเปลี่ยนไป และเปลี่ยน
เสียงเปลี่ยนความหมาย
วิธีสังเกตคําเขมร
๑. คําเขมรที่เปนคําโดดเหมือนคําไทยก็มี แตเปนคําที่เปนคําศัพท คือ
มีความหมายเขาใจยาก ตองแปล เชน
อวย = ให แข = พระจันทร
ได = มือ เลิก = ยก
แสะ = มา มาน = มี
ทูล = บอก บาย = ขาว
วิธีสังเกตคําเขมร
๒. คําเขมรมักสะกดดวยตัว จ ญ ร ล ส เชน
เสด็จ
เจริญ
เดิร (ไทยใชเดิน)
เถมิร (ไทยใช เถมิน = ผูเดิน)
จรัล จรัส จัส (ไทยใช จัด = มาก, แรง, เขม, แก)
วิธีสังเกตคําเขมร
๓. คําเขมร มักเปนคําราชาศัพทในภาษาไทย เชน
บรรทม – นอน
เสด็จ – ไป
เขนย – หมอน
วิธีสังเกตคําเขมร
๔. คําเขมรมักเปนคําแผลง เชน
 ข แผลงเปน กระ เชน ขดาน เปน กระดาน
ขจอก เปน กระจอก
 ผ แผลงเปน ประ เชน ผสม - ประสม
ผจญ - ประจญ
 ประ แผลงเปน บรร เชน ประทม เปน บรรทม
ประจุ - บรรจุ
ประจง - บรรจง
วิธีสังเกตคําเขมร
๕. การสรางคําโดยการเติมหนวยคําเขาขางหนาคําเดิม ทําใหคําเดิมพยางค
เดียวเปนคําใหม ๒ พยางคเรียกวาการลงอุปสรรค บ (บัง,บัน,บํา) เชน
เพ็ญ - บําเพ็ญ เกิด – บังเกิด โดย-บันโดย
เมื่อ บํ อยูหนาวรรคกะ หรือ เศษวรรคจะอานวา "บัง" เชน
บังคม บังเกิด บังอาจ
เมื่อ บํ อยูหนาวรรคตะ อานวา "บัน" เชน
บันดาล บันโดย บันเดิน
เมื่อ บํ อยูหนาวรรคปะ อานวา "บํา" เชน
บําบัด บําเพ็ญ บําบวง
วิธีสังเกตคําเขมร
๖. การสรางคําโดยการเติมหนวยคําเขากลาง คําหลัก ทําใหคําเดิมพยางคเดียว
เปนคําใหม ๒ พยางคเรียกการลงอาคม
การลง อํา น เชน จง- จํานง, ทาย -ทํานาย, อวย-อํานวย
การเติม อํา เชน กราบ-กําราบ, ตรวจ-ตํารวจ, เปรอ-บําเรอ
การเปลี่ยน ข เปน ก เปลี่ยน ฉ เปน จ เชน ฉัน-จังหัน,แข็ง-กําแหง
วิธีสังเกตคําเขมร

๗. คําที่มี ๒ พยางค มีลักษณะเหมือนอักษรนําและอักษรควบของไทย เชน


แขนง จมูก ฉนํา (ป)
ไพร กระบือ ฉลอง
ขลัง เสวย ขลาด
วิธีสังเกตคําเขมร

๘. คํา ๒ พยางค ที่ขึ้นตนดวย คํา กํา จํา ชํา ดํา ตํา ทํา และสามารถ
แผลงเปนตัวอื่นได มักเปนคําเขมร เชน
คํารบ (ครบ) กําเนิด (เกิด)
จําหนาย (จาย) จําแนก (แจก)
ชํานาญ (ชาญ) ดําเนิน (เดิน)
ดําริ (ตริ) ตํารวจ (ตรวจ) >
ทํานบ (ทบ)
วิธีสังเกตคําเขมร

๘. คํา ๒ พยางค ที่ขึ้นตนดวย คํา กํา จํา ชํา ดํา ตํา ทํา และสามารถ
แผลงเปนตัวอื่นได มักเปนคําเขมร เชน
คํารบ (ครบ) กําเนิด (เกิด)
จําหนาย (จาย) จําแนก (แจก)
ชํานาญ (ชาญ) ดําเนิน (เดิน)
ดําริ (ตริ) ตํารวจ (ตรวจ) >
ทํานบ (ทบ)
คํายืมภาษาจีนในภาษาไทย
คํายืมจากภาษาจีน

การยืมคําภาษาจีนมาใชในภาษาไทยนั้น มักยืมมาจากภาษาจีน
แตจิ๋วและภาษาจีนฮกเกี้ยนมากกวาภาษาจีนสาขาอื่นเนื่องจากชาวจีน
แตจิ๋วและชาวจีนฮกเกี้ยนไดอพยพเขามาอยูในประเทศไทยกอนชาวจีนกลุม
อื่น
คําภาษาจีนที่ยืมมาใชในภาษาไทยมีคําที่เกี่ยวของกับภาษาและ
วรรณคดี ความเชื่อ ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม ฯลฯ
วิธีนําคํายืมภาษาจีนมาใชในภาษาไทย

ไทยนําคําภาษาจีนมาใช โดยมากไทยเลียนเสียงจีนไดใกลเคียง
กวาชาติอื่น ๆ เชน เกาเหลา ตั้งฉาย เตาทึง เตาหู เตาฮวย พะโล แฮกึ๊น
เปนตน
มีบางคําที่นํามาตัดทอนและเปลี่ยนเสียง เชน เตี้ยะหลิว ตะหลิว
บะหมี่ บะหมี่ ปุงกี ปุงกี๋
แฮกึ๊น น. กุงมวน หมายถึงอาหารที่ใชเนื้อกุงผสมแปงมัน โขลกจนเหนียว
หอดวยฟองเตาหูเปนทอน หั่นเปนแวนทอด รับประทานกับน้ําจิ้มขนหวาน.
วิธีการสังเกตคํายืมจากภาษาจีน

ภาษาจีนมีลักษณะคลายคลึงกับภาษาไทยมาก คือ เปนภาษาคําโดด


มีเสียงวรรณยุกต
เมื่อนําคําภาษาจีนมาใชในภาษาไทยซึ่งมีวรรณยุกตและสระประสม
ใชจึงทําใหสามารถออกเสียงวรรณยุกตและสระตามภาษาจีนไดอยางงายดาย
คําภาษาจีนยังมีคําที่บอกเพศในตัวเชนเดียวกับภาษาไทยอีกดวย
เชน เฮีย (พี่ชาย) ซอ (พี่สะใภ) เจ (พี่สาว)
การสะกดคําภาษาจีนในภาษาไทยยังใชตัวสะกดตรงตามมาตรา
ตัวสะกดทั้ง ๘ มาตราและไมมีการใชทัณฑฆาต หรือตัวการันตดวย
วิธีสังเกตคํายืมจากภาษาจีน

นํามาเปนชื่ออาหารการกิน เชน กวยเตี๋ยว เตาทึง แปะซะ


เฉากวย จับฉาย เปนตน
เปนคําที่เกี่ยวกับสิ่งของเครื่องใชที่เรารับมาจากชาวจีน เชน
ตะหลิว ตึก เกาอี้ เกง ฮวงซุย
เปนคําที่เกี่ยวกับการคาและการจัดระบบทางการคา เชน เจง
บวย หุน หาง โสหุย เปนตน
เปนคําที่ใชวรรณยุกตตรี จัตวา เปนสวนมาก เชน กวยจั๊บ กุย
เก เกก กง ตุน เปนตน
แปะซะ

ฮวงซุย
คํายืมภาษาชวา-มลายู
ในภาษาไทย
คํายืมจากภาษาชวา-มลายู
ประเทศไทยกับประเทศมาเลเซียมีอาณาเขตติดตอกัน จังหวัดชายแดน
ไทยที่ติดตอกับมาเลเซีย ไดแก จังหวัดสตูล สงขลา ยะลา และนราธิวาส
คํายืมจากภาษาชวา-มลายู
ทั้งสองประเทศจึงมีความสัมพันธกันทั้งในดานการคาขาย ทางดานภาษา
ศาสนา และวัฒนธรรมอื่น ๆ
ภาษามลายูในตระกูลภาษามลาโย – โพลินีเชียน หรือออสโตรนีเชียน
คํายืมจากภาษาชวา – มลายูก็เชนเดียวกับคํายืมจากภาษาอื่น ๆ คือเมื่อ
เขามาใชปะปนในภาษาไทยแลว บางคําอาจมีความหมายคงเดิม บางคําความหมาย
เปลี่ยนแปลงไป คือ ความหมายแคบเขา ความหมายกวางออก หรือ ความหมายยายที่
คํายืมจากภาษาชวา-มลายู
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ไดกําหนด
“อัก ษรยอ ในวงเล็บ ทา ยบทนิย าม” เพื ่อ บอกที ่ม าของคํ า ตา ง ๆ เชน
ข. - เขมร, จ. - จีน, ช. - ชวา, ม. - มลายู เปนตน
พจนานุกรมไดแยกภาษาชวาและภาษามลายูเปน ๒ ภาษา แต
มีม นุษ ยวิท ยาหลายคนกลา ววา เดิม ภาษาชวาและภาษามลายูเปนภาษา
เดียวกัน ชนสองชาตินี้ใชภาษามลายูรวมกันมากอน
วิธีสังเกตคํายืมจากภาษาชวา-มลายู

๑) คําพื้นฐานของภาษาชวา – มลายูสวนใหญเปนคํา ๒ พยางค คํา


พยางคเดียวมีนอยมาก
๒) ภาษาชวา – มลายู ไมมีเสียงพยัญชนะควบกล้ํา
๓) ภาษาชวา – มลายูไมใชภาษาวรรณยุกต
วิธีสังเกตคํายืมจากภาษาชวา-มลายู
วิธีสังเกตคํายืมจากภาษาชวา-มลายู
วิธีสังเกตคํายืมจากภาษาชวา-มลายู
วิธีสังเกตคํายืมจากภาษาชวา-มลายู
วิธีสังเกตคํายืมจากภาษาชวา-มลายู
วิธีสังเกตคํายืมจากภาษาชวา-มลายู

คํายืมภาษาชวา – มลายูสวนหนึ่งมาจากวรรณคดีไทยเรื่องดาหลัง
ในสมัยรัชกาลที่ ๑ และอิเหนาในรัชกาลที่ ๒ โดยเฉพาะอิเหนานั้นไดรับการ
ยกยองวาเปนยอดของกลอนบทละคร ความไพเราะงดงามของบทละคร
เรื่องอิเหนายังเปนที่ทราบกันดีมาจนถึงปจจุบัน
วิธีสังเกตคํายืมจากภาษาชวา-มลายู
คํายืมภาษาอังกฤษ
ในภาษาไทย
คํายืมจากภาษาอังกฤษ
ความเจริญกาวหนาทางดานเทคโนโลยีและการศึกษาในยุคโลกาภิวัตนที่
ไรพรมแดน มีสวนสําคัญทําใหคนไทยเรียนรูภาษาอังกฤษมากขึ้น จึงพยายามปรับปรุง
วิธีการยืมคําภาษาอังกฤษเขามาไวในภาษาไทย เพื่อใหเหมาะสมกลมกลืนกับเสียงของ
ภาษาไทย
อังกฤษและไทยมีความสัมพันธกันทั้งในดานการคา ขาย ทางดานภาษา
ศาสนา และวัฒนธรรมอื่น ๆ
วิธีสังเกตคํายืมจากภาษาอังกฤษ

๑. การเปลี่ยนแปลงเสียงและคํา การยืมคําภาษาอังกฤษมาใช อาจมีการ


เปลี่ยนแปลงเสียงเพื่อความสะดวก และอีกประการหนึ่ง เนื่องจากเสียงบางเสียงไมมี
ใชในภาษาไทย เชน sh ch v z ฯลฯ เวลายืมเสียงจําพวกนี้ จึงตองมีการปรับปรุงให
ผิดไปจากเสียงเดิม เชน
sign ออกเสียงเปน เซ็น
pipe ออกเสียงเปน แปบ
goal ออกเสียงเปน โก
England ออกเสียงเปน อังกฤษ
statistic ออกเสียงเปน สถิติ
วิธีสังเกตคํายืมจากภาษาอังกฤษ

๒. การลากเขาความ เปนวิธีการเปลี่ยนแปลงเสียงของคําภาษาอังกฤษ เพื่อ


ลากเขาหาคําไทยที่คุนหูหรือแปลความหมายไดดวย ซึ่งวิธีการนี้ ศ.ดร.
บรรจบ พันธุเมธา ไดใหเหตุผลขางตน เชน

court shoes เสียงในภาษาไทยเปน คัทชู


bradlay เสียงในภาษาไทยเปน บลัดเล
coffee เสียงในภาษาไทยเปน กาแฟ
uniform เสียงในภาษาไทยเปน อยูในฟอรม
วิธีสังเกตคํายืมจากภาษาอังกฤษ

๓. การทับศัพท เปนการยืมคําภาษาอังกฤษมาใชโดยตรง ไมมีการเปลี่ยน


รูปคําหรือเสียง เชน การทับศัพท เปนการยืมคําภาษาอังกฤษมาใชโดยตรง ไมมีการเปลี่ยนรูปคําหรือเสียง เชน

กีวี มาจาก kiwi


สูท มาจาก suit
เทอม มาจาก term
ทีม มาจาก team
แฟชั่น มาจาก fashion
โบนัส มาจาก bonus
วิธีสังเกตคํายืมจากภาษาชวา-มลายู

๔. การบัญญัติศัพท เปนวิธีการยืมคําภาษาอังกฤษมาใชโดยกําหนดคําใหมี
ความหมายตรงกับคําภาษาอังการทักฤษ ซึ่งสวนมากเปนคําศัพทเฉพาะ
บศัพท เปนการยืมคําภาษาอังกฤษมาใชโดยตรง ไมมีการเปลี่ยนรูปคําหรือเสียง เชน
(Technical Term) เชน
วิธีสังเกตคํายืมจากภาษาชวา-มลายู
องคการ = organization
ภูมิหลัง = background
เครื่องพิมพดีด การทับศัพ=ท เปนการยืมคําภาษาอังกฤษมาใชโดยตรง
typewriter
ไมมีการเปลี่ยนรูปคําหรือเสียง เชน
วีดิทัศน = video
วัฒนธรรม = culture
พัฒนาการ = development
ตูเย็น = refrigerator
วารสาร = journal
ศีลธรรม = morals
มหาวิทยาลัย = University
หลักสูตร = curriculum
วิธีสังเกตคํายืมจากภาษาอังกฤษ

๕. การตัดคํา เมื่อยืมคําภาษาอังกฤษมาใชแลว ตัดคําใหพยางคสั้นลง เพื่อ


สะดวกในการอกเสียง เชน การทับศัพท เปนการยืมคําภาษาอังกฤษมาใชโดยตรง ไมมีการเปลี่ยนรูปคําหรือเสียง เชน

กิโล มาจาก kilometre, kilogramme


เบอร มาจาก number
บอล มาจาก foot ball
เบิ้ล มาจาก double
ติว มาจาก tutor
เอ็น มาจาก entrance
แชมป มาจาก champion

You might also like