You are on page 1of 89

สวรรคต เสด็จสวรรคต

ทรงครองราชสมบัติ
พระราชดำเนิน พระอาการ
ประชวร พระราชวัง
เสด็จ
พระชนมพรรษา
ถวาย ประทับ
คำราชาศัพท์
ความหมายของคำราชาศัพท์
ศัพท์ สำหรับพระเจ้ าแผ่ นดินหรือพระราชา
รวมถึงสุ ภาพชนด้ วย ซึ่งกำหนดไว้ ๕ ระดับ คือ
ก. พระเจ้ าแผ่ นดิน
ข. พระบรมวงศานุวงศ์
ค. พระสงฆ์
ง. ข้ าราชการและขุนนาง
จ. สุ ภาพชน
ทีม่ าของคำราชาศัพท์
๑. ทางสั งคมและ
ประวัตศิ าสตร์
ทีม่ าของคำราชาศัพท์ (ต่ อ)
๑. ภาษา เขมร

อังกฤษ บาลีสันสกฤต
เปอร์ เซีย
พระโธรน
วิธีใช้ คำราชาศัพท์
๑. การใช้ ทรง
๒. การใช้ พระบรม, พระราช, พระ
๓. การใช้ คำขึน้ ต้ นและคำลงท้ าย
๔. การใช้ นามราชาศัพท์
๕.การใช้ ราชาศัพท์ ให้ ถูกต้ อง
การใช้ ทรง
๑.นำหน้ าคำนามบางคำทำให้ เป็ นกริยาราชาศัพท์ ได้ เช่ น

ทรงกีฬา ทรงบาตร
ทรงช้ าง
การใช้ ทรง(ต่ อ)
๒.นำหน้ าคำกริยาสามัญบางคำ ทำให้ เป็ นกริยาราชาศัพท์ ได้

ทรงวิง่ ทรงศึกษา
การใช้ ทรง(ต่ อ)
๓.นำหน้ าคำนามราชาศัพท์ บางคำ ทำให้ เป็ นกริยาราชาศัพท์ ได้

พระสุบิน ทรงพระสุบิน
พระผนวช ทรงพระผนวช
พระราชดำริ ทรงพระราชดำริ
การใช้ ทรง(ต่ อ)
๔. ใช้ ทรงมี หรือ ทรงเป็ น นำหน้ าคำนามธรรมดา เช่ น

ทรงมีเงิน ทรงมีไข้
ทรงมีเหตุผล ทรงเป็ นครู
ทรงเป็ นทหาร ทรงเป็ นนักปราชญ์
การใช้ ทรง(ต่ อ)
๕. คำกริยาทีเ่ ป็ นคำราชาศัพท์ อยู่แล้ วไม่ ใช้ “ทรง”

ตรัส เสวย ประสูติ


บรรทม โปรด เสด็จนิวตั ิ
เสด็จประพาสพระราชทาน
ราชาศัพท์ จับเวลา(ชุดที่ ๑)

๑. การใช้ ทรง
๒. การใช้ พระบรม, พระราช, พระ
๓. การใช้ คำขึน้ ต้ นและคำลงท้ าย
๔. การใช้ นามราชาศัพท์
๑. ข้ อใดใช้ “ทรง” ไม่ ถูกต้ อง
ก. ทรงสั่ งสอน
ข. ทรงพระสรวล
ค. ทรงทอดพระเนตร
ง. ทรงพระประชวร
๒. ข้ อใดไม่ ใช่ กริยาราชาศัพท์
ก. ทรงยินดี
ข. ทรงพระราชนิพนธ์
ค. สรงพระพักตร์
ง. พระราชดำริ
๓. เสด็จนิวตั ิ หมายถึงอะไร
ก. ไปเทีย่ ว
ข. กลับมา
ค. อธิบาย
ง. สั่ งสอน
๔. ข้ อใดใช้ “ทรงมี,ทรงเป็ น” ไม่ ถูกต้ อง
ก.ทรงมีเหตุผล
ข. ทรงเป็ นนักปราชญ์
ค. ทรงมีเหตุผล
ง. ทรงเป็ นพระราชโอรส
๕. คำราชาศัพท์ ในข้ อใดหมายถึงแต่ งหนังสื อ
ก. ทรงพระอักษร
ข. ทรงพระราชนิพนธ์
ค. ทรงพระราชทาน
ง. ทรงพระราชดำริ
๖. พระบรม,พระบรมราช มีหลักการใช้ อย่ างไร
ก. ใช้ กบั พระบรมวงศานุวงศ์
ข. ใช้ กบั พระมหากษัตริย์
ค. ใช้ กบั พระมหากษัตริย์และสมเด็จพระบรมราชินี
ง. ใช้ กบั อุปราช
๗. บุคคลในข้ อใดใช้ “พระราชปฏิสันถาร”ไม่ ได้
ก. พระมหากษัตริย์
ข. พระบรมราชินี
ค. อปุ ราช
ง. พระองค์ เจ้ า
๘. ข้ อใดใช้ “พระ” ไม่ ถูกต้ อง
ก. พระบาท
ข. พระเก้าอี้
ค. พระเสวย
ง. พระกระยาหาร
๙. พระราชเสาวนีย์ ใช้ กบั ใคร
ก. พระมหากษัตริย์
ข. พระบรมราชินี
ค. พระบรมวงศานุวงศ์ ทุกพระองค์
ง. ถูกทุกข้ อ
๑๐. “ขอเดชะฝ่ าละอองธุลพี ระบาทปกเกล้ าปกกระหม่ อม
ข้ าพระพุทธเจ้ า” จะใช้ คำลงท้ ายว่ าอย่ างไร
ก. ด้ วยเกล้าด้ วยกระหม่ อม
ข. ด้ วยเศียรเกล้า
ค. ด้ วยเกล้าด้ วยกระหม่ อมขอเดชะ
ง. ใช้ ได้ ทุกข้ อ
๑๑. คำขึน้ ต้ น “พระราชอาญาไม่ พ้นเกล้ า
พ้นกระหม่ อม” ใช้ ในโอกาสใด
ก. แสดงความขอบคุณ
ข. ทำผิดพลาด
ค. กล่าวถึงสิ่ งทีไ่ ม่ สุภาพ
ง. มีพระราชดำรัสขึน้ ก่อน
๑๒. หากจะกล่ าวถึงสิ่ งทีไ่ ม่ สุภาพ จะใช้
คำขึน้ ต้ นว่ าอย่ างไร
ก. เดชะพระบารมีปกเกล้าปกกระหม่ อม
ข. พระพทุ ธเจ้ าขอรับใส่ เกล้าใส่ กระหม่ อม
ค. พระราชอาญาไม่ พ้นเกล้าพ้นกระหม่ อม
ง. ไม่ บังควรจะกราบทูลพระกรุณา
๑๓. คำราชศัพท์ ในข้ อใดต่ างจากพวก
ก. พระนขา
ข. พระทนต์
ค. พระโสณี
ง.พระสั สสุระ
๑๔. คำราชาศัพท์ ในข้ อใดต่ างจากพวก
ก. ฉลองพระองค์
ข. พระสนับเพลา
ค. พระสุพรรณราช
ง. ฉลองพระบาท
๑๕. ศัพท์ ในข้ อใดหมายถึง “ทีน่ อน”
ก. พระแท่ น
ข. พระยีภ่ ู่
ค. พระเขนย
ง. พระแท่ นบรรทม
๑๖. ศัพท์ ในข้ อใดหมายถึง “สามี”
ก. พระอนุชา
ข. พระภัสดา
ค. พระปนัดดา
ง. พระปิ ตุลา
๑๗. นามราชาศัพท์ หมวดอวัยวะข้ อใด
ไม่ ได้ อยู่ในส่ วนศีรษะ
ก. พระปราง
ข. พระโอษฐ์
ค. พระนาสิ ก
ง. พระหัตถ์
๑๘. ถาดพระสุธารส หมายถึงอะไร
ก. ถาดน้ำชา
ข. ถาดดอกไม้
ค. ถาดน้ำเปล่า
ง. ถาดอาหาร
๑๙. คำศัพท์ ในข้ อใดไม่ แสดงถึงผู้ชาย
ก. พระอัยกา
ข. พระเชษฐา
ค. พระภาติยะ
ง. พระภคินี
๒๐. พระภูษา หมายถึงอะไร
ก. หมวก
ข. ผม
ค. ผ้ าน่ ุง
ง. กางเกง
  สรรพนามสำหรับผู้พูด
ผู้ฟัง บุรุษที่ ๑ บุรุษที่ ๒ บุรุษที่ ๓

พระมหากษัตริ ย ์ ข้าพระพุทธเจ้า ใต้ฝ่าละอองธุลี พระองค์


สมเด็จพระบรมราชินีนาถ พระบาท
สมเด็จพระบรมราชินี ข้าพระพุทธเจ้า ใต้ฝ่าละออง พระองค์
สมเด็จพระบรมราชชนนี พระบาท
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ
สยามบรมราชกุมารี
สมเด็จเจ้าฟ้ า ข้าพระพุทธเจ้า ใต้ฝ่าพระบาท พระองค์
พระองค์เจ้า เกล้ากระหม่อม ฝ่ าพระบาท พระองค์
สมเด็จพระสังฆราช (ชาย)
เกล้ากระหม่อม
ฉัน(หญิง)
หม่อมเจ้า กระหม่อม(ชาย) ฝ่ าพระบาท ท่าน
หม่อมฉัน(หญิง)
การใช้ คำราชาศัพท์ ให้ ถูกต้ อง
ใช้ เฝ้ าฯ รับเสด็จ หรื อ รับเสด็จ ไม่ใช้ ถวายการต้อนรับ
(เฝ้ าฯ รับเสด็จ มาจาก เฝ้ าทูลละอองธุลีพระบาทรับเสด็จ)

ใช้ มีความจงรักภักดี หรื อ จงรักภักดี ไม่ใช้ ถวายความจงรักภักดี


การใช้ คำราชาศัพท์ ให้ ถูกต้ อง(ต่ อ)
อาคันตุกะ : แขกของคนธรรมดา
ราชอาคันตุกะ : คนธรรมดาเป็ นแขกของมหากษัตริย์
พระราชอาคันตุกะ : กษัตริย์เป็ นแขกของกษัตริย์
การใช้ คำราชาศัพท์ ให้ ถูกต้ อง(ต่ อ)
ขอบใจ : พระมหากษัตริย์ใช้ กบั สุ ภาพชน
พระราชวงศ์ ใช้ กบั สุ ภาพชน
สุภาพชนใช้ กบั สุภาพชน

ขอบพระทัย : พระมหากษัตริย์ใช้ กบั พระราชวงศ์


พระราชวงศ์ ใช้ กบั พระมหากษัตริย์
การใช้ คำราชาศัพท์ ให้ ถูกต้ อง(ต่ อ)
ทูลเกล้าฯ ถวาย : สิ่ งของนั้นเป็ นของเล็ก

น้ อมเกล้าฯ ถวาย : สิ่ งของนั้นเป็ นของใหญ่


คำราชาศัพท์ สำหรับพระภิกษุ
การพูดกับพระภิกษุตอ้ งมีสมั มาคารวะ
สำรวม ไม่ใช้ถอ้ ยคำที่เป็ นไปในทำนองพูดเล่น
หรื อพูดพล่อย ๆ ซึ่งจะเป็ นการขาดความเคารพ
สำหรับพระภิกษุ
ลักษณะของคำสุภาพ
๑. ไม่ เป็ นคำห้ วน กระด้ าง หรือคำอุทานทีไ่ ม่
เหมาะสม เช่ น

โว้ ย เว้ย
เออ ตายห่า
ลักษณะของคำสุภาพ(ต่ อ)
๒. ไม่ เป็ นคำหยาบ เช่ น

ไอ้ อี
ขี้ เยีย่ ว
ลักษณะของคำสุภาพ(ต่ อ)
๓. ไม่เป็ นคำคะนองหรื อศัพท์สแลงที่
นิยมใช้เฉพาะกลุ่ม หรื อใช้กนั ในระยะเวลา
สั้นๆ เช่น จ๊ าบ แห้ ว
ลักษณะของคำสุภาพ(ต่ อ)
๔. ไม่เป็ นคำที่นำไปเปรี ยบเทียบกับของหยาบ
เช่น สากกะเบือ หรื อปลาช่อน ซึ่งมีความหมาย
เปรี ยบเทียบกับอวัยวะเพศชาย
สากกะเบือ ไม้ ตพี ริก
ปลาช่ อน ปลาหาง
ลักษณะของคำสุภาพ(ต่ อ)
๕. ไม่ใช้ค ำผวนที่ผวนหางเสี ยงกลับมาเป็ น
คำหยาบ เช่น หมอจ๋ า ผวนเป็ น หมาจ๋ อ
ผักบ้ ุง เปลีย่ นเป็ น ผักทอดยอด
แปดตัว เปลีย่ นเป็ น สี่ คู่
ตากแดด เปลีย่ นเป็ น ผึง่ แดด
ราชาศัพท์ จับเวลา (ชุดที่ ๒)

ก.การใช้ สรรพนามราชาศัพท์
ข.การใช้ ราชาศัพท์ ให้ ถูกต้ อง
ค.ราชาศัพท์ สำหรับพระภิกษุ
ง.คำสุ ภาพ
๑.หากพูดกับพระมหากษัตริย์ จะใช้
สรรพนามบุรุษที่ ๑ ว่ าอย่ างไร
ก. ข้ าพเจ้ า
ข. ข้ าพระพทุ ธเจ้ า
ค. หม่ อมฉัน
ง. เกล้ากระหม่ อม
๒. ผ้ ูฟังชั้นฐานันดรศักดิ์ใด ทีไ่ ม่ ได้ ใช้
สรรพนามบุรุษที่ ๓ ว่ า “องค์ ”
ก. พระมหากษัตริย์
ข. หม่ อมเจ้ า
ค. พระองค์ เจ้ า
ง. สมเด็จเจ้ าฟ้ า
๓. สรรพนามบุรุษที่ ๒
“ใต้ ฝ่าละอองธุลพี ระบาท” ใช้ กบั ใคร
ก. พระมหากษัตริย์
ข. หม่ อมเจ้ า
ค. พระองค์ เจ้ า
ง. สมเด็จเจ้ าฟ้ า
๔. ประชาชนเฝ้ าฯรับเสด็จ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ
สยามบรมราชกุมารี “เฝ้ าฯรับเสด็จ” ย่ อมาจากคำใด
ก. เฝ้ าทูลละอองพระบาทรับเสด็จ
ข. เฝ้ าทูลละอองธุลพี ระบาทรับเสด็จ
ค. เฝ้ าทูลพระบาทรับเสด็จ
ง. เฝ้ าทูลฝ่ าพระบาทรับเสด็จ
๕. ข้ อใดใช้ ราชาศัพท์ ไม่ ถูกต้ อง
ก. ประชาชนถวายความจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์
ข. ประชาชนมีความจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์
ค. ประชาชนแสดงความจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์
ง. ประชาชนจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์
๖.พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินไป
เป็ น......ของประธานาธิบดีแห่ งสหรัฐอเมริกา ควรเติมคำใด

ก. พระราชอาคันตุกะ
ข. ราชอาคันตุกะ
ค. อาคันตุกะ
ง. ถูกทุกข้ อ
๗.พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอย่ ูหัว ........
ประชาชนทีม่ าเฝ้ าฯรับเสด็จ ควรเติมคำใด
ก. ขอบพระราชหฤทัย
ข. ขอบพระทัย
ค. ขอบใจ
ง. ทรงขอบใจ
๘. เศรษฐีจากเมืองจีน .........ถวายทีด่ นิ
จำนวน ๑๐๐ ไร่ ควรเติมคำใด
ก. น้ อมเกล้ าฯ
ข. ทูลเกล้ าฯ
๙. ศัพท์ ข้อใดทีพ่ ระสงฆ์ ใช้ เรียกพระมหากษัตริย์

ก. โยม
ข. อาตมาภาพ
ค. ประสก
ง. มหาบพิตร
๑๐. ทำวัตร หมายถึงอะไร
ก. นอน
ข. สวดมนต์
ค. จำพรรษา
ง. นั่งสมาธิ
๑๑. ศัพท์ ในข้ อใดหมายถึง “จดหมาย”
(ศัพท์ สำหรับพระสงฆ์ )
ก. เลขา
ข. ลิขติ
ค. ปัจจัย
ง. ไทยธรรม
๑๒. ผักร้ ู นอน, ผักสามหาว หมายถึงอะไร
ก. ผักกระเฉด, ผักบ้ ุง
ข. ผักบ้ ุง, ดอกขีเ้ หล็ก
ค. ผักกระเฉด, ผักตบ
ง. ดอกสลิด, ผักตบ
๑๓. นารีจำศีล, วิฬาร์ หมายถึงอะไร
ก. ผู้หญิง, โค
ข. กล้ วยบวชชี, แมว
ค. กล้ วยไข่ , ขีผ้ งึ้
ง. ฟักทอง, ถัว่ งอก
๑๔. ศัพท์ ข้อใดหมายถึง ปลาไหล
ก. ปลายาว
ข. ปลาหาง
ค. ปลาลิน้ สุนัข
ง. รากดิน
๑๕. ศัพท์ ในข้ อใดหมายถึง แตงโม
ก. ฟักเหลือง
ข. ผลอุลดิ
ค. ชัลลกุ า
ง. เถาม่ ุย
การใช้ คำราชาศัพท์ ในงานพระราชพิธีพระบรมศพ

สวรรคาลัย อ่านว่ า สะ-หวัน-คา-ไล


หมายถึง ก.ตาย (ใช้ แก่ เจ้ านายชั้นสู ง)
ปัญญาสมวาร อ่านว่ า ปัน-ยา-สะ-มะ-วาน
คือ วันทีค่ รบ ๕๐ วันแห่ งการสวรรคต
สตมวาร อ่านว่ า สะ-ตะ-มะ-วาน
คือ วันทีค่ รบ ๑๐๐ วันแห่ งการสวรรคต
การใช้ คำราชาศัพท์ ในงานพระราชพิธีพระบรมศพ

พระเมรุมาศ อ่านว่ า พระ-เม-รุ-มาด


ใช้ กบั พระมหากษัตริย์เท่ านั้น
การใช้ คำราชาศัพท์ ในงานพระราชพิธีพระบรมศพ(ต่ อ)
พระจิตกาธาน หมายถึง แท่ นทีเ่ ผาศพ
การใช้ คำราชาศัพท์ ในงานพระราชพิธีพระบรมศพ(ต่ อ)
ศาลาลูกขุน เป็ นสิ่ งปลูกสร้ างโถงทรงไทยชั้นเดียว
การใช้ คำราชาศัพท์ ในงานพระราชพิธีพระบรมศพ(ต่ อ)
พระมหาพิชัยราชรถ คือ ราชรถไม้
การใช้ คำราชาศัพท์ ในงานพระราชพิธีพระบรมศพ(ต่ อ)
นพปฎลมหาเศวตฉัตร อ่านว่ า นบ-พะ-ปะ-ดน-มะ-หา-สะ-เหวด-ตะ-ฉัด
การใช้ คำราชาศัพท์ กบั
สมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
พระปรมาภิไธย
“สมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร”
(อ่ านว่ า “สม - เด็ด - พระ - เจ้ า - อยู่ - หัว - มะ - หา - วะ - ชิ - รา
- ลง - กอน - บอ - ดิน - ทระ - เทบ - พะ - ยะ - วะ - ราง - กูน)
การใช้ คำราชาศัพท์ กบั
สมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร

- การขึ้นกราบบังคมทูล ใช้ค ำว่า


- “ขอพระราชทานกราบบังคมทูลพระกรุ ณาทรงทราบ
ฝ่ าละอองธุลพี ระบาท”
- สรรพนาม บุรุษที่ ๑ ใช้ค ำว่า “ข้ าพระพุทธเจ้ า”
- สรรพนาม บุรุษที่ ๒ ใช้ค ำว่า “ใต้ ฝ่าละอองธุลพี ระบาท”
การใช้ คำราชาศัพท์ กบั
สมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร

- คำลงท้าย ใช้ค ำว่า “ควรมิควรแล้ วแต่ จะทรงพระกรุณา


โปรดเกล้ าโปรดกระหม่ อม”
- คำว่า “ขอเดชะ” จะใช้เมื่อผ่านการบรมราชาภิเษกแล้ว
- คำว่า “พระราชบัณฑูร” (คำสัง่ ) เปลี่ยนเป็ น
“พระราชโองการ” เมื่อ
ผ่านการบรมราชาภิเษก ให้ใช้
“พระบรมราชโองการ”
ราชาศัพท์ จับเวลา (ชุดที่ ๓) รวม
ก. ทีม่ าของคำราชาศัพท์
ข. การใช้ คำราชาศัพท์ ในงาน
พระราชพิธีพระบรมศพ
๓. การใช้ คำราชาศัพท์ กบั สมเด็จพระเจ้ า
อยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
๑.คำราชาศัพท์ แบ่ งสถานภาพของบุคคล
ต่ างๆ เป็ นกีร่ ะดับ
ก. ๒ ระดับ
ข. ๓ ระดับ
ค. ๔ ระดับ
ง. ๕ ระดับ
๒. คำราชาศัพท์ ใช้ คำยืมทีม่ าจากภาษา
ใดมากทีส่ ุ ด
ก. เขมร, ชวา
ข. เขมร, บาลีสันสกฤต
ค. เขมร, เปอร์ เซีย
ง. บาลีสันสกฤต, จีน
๓. คำในข้ อใดไม่ ใช่ คำราชาศัพท์
ก. ช้ างหลวง
ข. เรือหลวง
ค. ทะเลหลวง
ง. หลานหลวง
๔. “ราชาศัพท์ ” คือคำทีส่ ร้ างขึน้ แบบใด
ก. ซ้ อน (สั นสกฤต+สั นสกฤต)
ข. สมาสสนธิ
ค. สมาส
ง. คำประสม
๕. ภาพนีค้ อื อะไร

ก. พระเมรุมาศ
ข. พระจิตกาธาน
ค. ศาลาลูกขุน
ง. นพปฎลมหาเศวตฉัตร
๖. “สั ตตมวาร” หมายถึงครบรอบกีว่ นั
แห่ งการสวรรคต
ก. ๕ วัน
ข. ๗ วัน
ค. ๕๐ วัน
ง. ๑๐๐ วัน
๗. “ปัณรสมวาร” หมายถึง ครบรอบกีว่ นั
แห่ งการสวรรคต
ก. ๕ วัน
ข. ๑๕ วัน
ค. ๑๕๐ วัน
ง. ๑๐๐ วัน
๘. ปัจจุบัน พระมหาพิชัยราชรถ เก็บรักษา
อยู่ทใี่ ด
ก. พิพธิ ภัณฑ์ แพทย์ ศิริราช
ข. พิพธิ ภัณฑสถานแห่ งชาติพระนคร
ค. พระทีน่ ั่งวิมานเมฆ
ง. นิทรรศรัตนโกสิ นทร์
๙. พระเมรุมาศ สร้ างขึน้ ตามความเชื่อ
เรื่องใด
ก. โลกและจักรวาล
ข. ผี
ค. เทพนิยายกรีก
ง. ถูกทุกข้ อ
๑๐. เมือ่ กล่ าวกับ สมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ
บดินทร เทพยวรางกูร ต้ องใช้ สรรพนามบุรุษที่ ๒ ว่ าอะไร
ก. ใต้ ฝ่าละอองพระบาท
ข. ใต้ ฝ่าละอองธุลพี ระบาท
ค. ใต้ ฝ่าพระบาท
ง. ฝ่ าพระบาท
๑๑. เมือ่ กษัตยิ ์ พระองค์ ใหม่ ผ่านพระราชพิธีบรมราชา
ภิเษกแล้ว จะใช้ คำนำหน้ าพระปรมาภิไธยว่ าอะไร
ก. พระบาทสมเด็จพระปรเมนทร
ข. พระบาทสมเด็จพระปรมินทร
๑๒. ปัจจุบัน กษัตริย์รัชกาลที่ ๑๐ ใช้ ราชาศัพท์
“คำสั่ ง” ว่ าอะไร
ก. พระบรมราชโองการ
ข. พระราชโองการ
ค. พระราชบัณฑูร
ง. พระราชกระแสรับสั่ ง
๑๓. พระโธรน เป็ นราชาศัพท์ ทมี่ าจากภาษาอะไร

ก. เขมร
ข. สั นสกฤต
ค. เปอร์ เซีย
ง. อังกฤษ
๑๔. บรรทม เป็ นราชาศัพท์ ทมี่ าจากภาษาใด
ก. เขมร
ข. สั นสกฤต
ค. เปอร์ เซีย
ง. อังกฤษ
๑๕. เสวย เป็ นราชาศัพท์ ทมี่ าจากภาษาใด
ก. เขมร
ข. สั นสกฤต
ค. เปอร์ เซีย
ง. อังกฤษ
สวัสดีค่ะ

You might also like