You are on page 1of 25

ตารางวิเคราะห์ ข้อสอบมาตรฐานชั้นปี วิชา ประวัติศาสตร์ ชุ ดที่ 1

ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4
มาตรฐาน / ตัวชี้วดั
ข้ อ มฐ. ส 4.1 มฐ. ส 4.2 มฐ. ส 4.3
1 2 3 1 2 1 2 3
1 
2 
3 
4 
5 
6 
7 
8 
9 
10 
11 
12 
13 
14 
15 
16 
17 
18 
19 
20 
21 
22 
23 
24 
25 
26 
27 
28 
29 
30 

1
มาตรฐาน / ตัวชี้วดั
ข้ อ มฐ. ส 4.1 มฐ. ส 4.2 มฐ. ส 4.3
1 2 3 1 2 1 2 3
31 
32 
33 
34 
35 
36 
37 
38 
39 
40 

2
ข้ อสอบมาตรฐานชั้นปี ชุดที่ 1 กลุ่มสาระ สั งคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
วิชา ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 จานวน 40 ข้ อ

ให้ กาเครื่องหมาย  ทับตัวอักษรหน้ าคาตอบทีถ่ ูกต้ อง


1. ข้อใดกล่าวไม่ ถูกต้ อง
ก. ทศวรรษ หมายถึง เวลาในรอบ 10 ปี
ข. ศตวรรษ หมายถึง เวลาในรอบ 100 ปี
ค. สหัสวรรษ หมายถึง เวลาในรอบ 1,000 ปี
ง. 10 ทศวรรษ เป็ นช่วงเวลาที่ยาวนานเท่ากับ 1 สหัสวรรษ
2. ปั จจุบนั เรามีชีวิตอยูใ่ นช่วงสหัสวรรษที่เท่าไหร่
ก. สหัสวรรษที่ 1
ข. สหัสวรรษที่ 2
ค. สหัสวรรษที่ 3
ง. สหัสวรรษที่ 4
3. คาบอกช่วงเวลาในข้อใด มีช่วงเวลาที่ยาวนานที่สุด
ก. 25 ปี ข. 9 ทศวรรษ
ค. 3 ศตวรรษ ง. 1 สหัสวรรษ
4. อาณาจักรรัตนโกสิ นทร์ได้รับการสถาปนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2325 แสดงว่าอยูใ่ นช่วงพุทธศตวรรษ
ที่เท่าไร
ก. พุทธศตวรรษที่ 23
ข. พุทธศตวรรษที่ 24
ค. พุทธศตวรรษที่ 25
ง. พุทธศตวรรษที่ 26
5. ถ้าโรงเรี ยนจัดงานครบรอบ 5 ทศวรรษ แสดงว่าโรงเรี ยนมีอายุครบกี่ปี
ก. 50 ปี
ข. 55 ปี
ค. 500 ปี
ง. 555 ปี

3
อ่านข่ าวทีก่ าหนดให้ แล้วตอบคาถามข้ อ 6-7

พบจารึก “พระเจ้ าจิตรเสน” ทีร่ ้ อยเอ็ด

คุณหญิงทิพาวดี เมฆสวรรค์ ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม (วธ.) แถลงข่าวการค้นพบศิลาจารึ กโบราณชิ้นสาคัญ


ที่ได้จากการขุดค้นแหล่งโบราณคดีในกิ่งอาเภอหนองฮี จังหวัดร้อยเอ็ด โดยกรมศิลปากร
ศิลาจารึ กดังกล่าว อยูบ่ นฐานศิวลึงค์ เป็ นจารึ กอักษรปั ลลวะ ภาษาสันสกฤต กล่าวถึงพระนามพระเจ้าจิตรเสน
(มเหนทรวรมัน) กษัตริ ยแ์ ห่งอาณาจักรเจนละ ในสมัยพุทธศตวรรษที่ ๑๒ หรื อกว่า ๑,๓๐๐ ปี มาแล้ว ทั้งยังเป็ น
ข้อความเดียวกันกับจารึ กของจิตรเสนหลักอื่น ๆ ที่เคยค้นพบมาก่อนหน้านี้ ทว่ามีความสมบูรณ์มาก
คุณหญิงทิพาวดีกล่าวว่า การค้นพบดังกล่าวนี้ถือว่าเป็ นหน้าประวัติศาสตร์ใหม่สาหรับพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้
เนื่องจากเป็ นหลักฐานยืนยันว่า บริ เวณนี้เคยเป็ นชุมชนที่มีความสาคัญในยุคนั้น ไม่เช่นนั้นแล้ว พระเจ้าจิตรเสน
คงไม่แผ่อานาจเข้ามาครอบครอง และสถาปนาจารึ กของพระองค์ไว้

ที่มา : นสพ.ไทยรัฐ ฉบับที่ 9 เม.ย. 2549

6. จากข่าวแสดงว่าศิลาจารึ กโบราณชิ้นสาคัญนี้เป็ นหลักฐานที่เกิดขึ้นในสมัยใด


ก. สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ข. สมัยประวัติศาสตร์
ค. สมัยหิน ง. สมัยโลหะ
7. จากการค้นพบหลักฐานดังกล่าว แสดงว่าบริ เวณพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ในอดีตน่าจะเป็ นอย่างไร
ก. เป็ นพื้นที่แห้งแล้งเหมือนในปัจจุบนั ข. เป็ นบริ เวณว่างเปล่าไม่มีผคู ้ นอาศัยอยู่
ค. เคยเป็ นชุมชนที่มีความสาคัญมาก่อน ง. เป็ นเมืองหลวงของอาณาจักรเจนละ
8. ข้อใดกล่าวไม่ ถูกต้ อง
ก. สมัยก่อนประวัติศาสตร์ แบ่งช่วงเวลาออกเป็ นสมัยหิ นกับสมัยโลหะ
ข. สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เป็ นสมัยที่มนุษย์มีตวั อักษรใช้แล้ว
ค. สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เป็ นสมัยที่มนุษย์ยงั ไม่มีตวั อักษรใช้
ง. สมัยหิ นใหม่มนุษย์รู้จกั นาเหล็กมาทาเครื่ องมือเครื่ องใช้แล้ว
9. ข้อใดไม่ ใช่ ลกั ษณะการดาเนิ นชีวติ ของมนุษย์ในสมัยหิ นเก่า
ก. มนุษย์ในสมัยหิ นเก่ามีความเป็ นอยูแ่ บบเร่ รอน
ข. มนุษย์ในสมัยหินเก่าอาศัยอยูต่ ามบริ เวณถ้ าและเพิงผา
ค. มนุษย์ในสมัยหิ นเก่าเก็บของป่ าและออกล่าสัตว์เป็ นอาหาร
ง. มนุษย์ในสมัยหิ นเก่ารู ้จกั นาเครื่ องมือหิ นมาขัดให้คมและทาให้มีผวิ เรี ยบ

4
10. ข้อใดเป็ นจุดเริ่ มต้นของยุคประวัติศาสตร์
ก. รู้จกั ใช้ไฟ ข. รู้จกั การเพาะปลูก
ค. รู ้จกั ตั้งถิ่นฐาน ง. รู้จกั บันทึกข้อความ
11. สิ่ งใดสาคัญที่สุดในการศึกษาประวัติความเป็ นมาของท้องถิ่น
ก. หลักฐาน ข. ข้อสันนิษฐาน
ค. ข้อความทัว่ ไป ง. บทสนทนา
12. การศึกษาประวัติความเป็ นมาของท้องถิ่นมีประโยชน์มากมาย ยกเว้นข้อใด
ก. ช่วยให้เรามีความรู ้ความเข้าใจในความเป็ นมาของท้องถิ่นได้ถูกต้อง
ข. ทาให้สามารถนาเรื่ องราวในอดีตมาปรับใช้ในปัจจุบนั ได้
ค. ทาให้คนในท้องถิ่นอื่น ๆ เกิดการยอมรับและชื่นชม
ง. ทาให้เกิดความภาคภูมิใจในท้องถิ่นของตน
13. ในแต่ละท้องถิ่นจะมีหลักฐานที่บอกเล่าความเป็ นมาของท้องถิ่นตนเอง ซึ่ งมีท้ งั หลักฐานชั้นต้น
และหลักฐานชั้นรอง หลักฐานต่อไปนี้ขอ้ ใดไม่ ใช่ หลักฐานชั้นต้น
ก. วัด ข. โบราณวัตถุ
ค. อนุสาวรี ย ์ ง. หนังสื อประวัติบุคคลสาคัญในท้องถิ่น

ดูภาพทีก่ าหนดให้ แล้วตอบคาถามข้ อ 14 – 15

(1) (2)

(3) (4)

14. จากภาพ มีภาพใดบ้างที่จดั เป็ นหลักฐานชั้นต้น


ก. ภาพที่ 1 ภาพที่ 2 ข. ภาพที่ 2 ภาพที่ 3
ค. ภาพที่ 3 ภาพที่ 4 ง. ภาพที่ 1 ภาพที่ 4

5
15. จากภาพ มีภาพใดบ้างที่จดั เป็ นหลักฐานชั้นรอง
ก. ภาพที่ 1 ภาพที่ 2 ข. ภาพที่ 2 ภาพที่ 3
ค. ภาพที่ 3 ภาพที่ 4 ง. ภาพที่ 1 ภาพที่ 4
16. ข้อใดไม่ ใช่ ลกั ษณะของมนุษย์ยคุ หิน
ก. ใช้เครื่ องมือที่ทาจากหิ น ข. ตั้งถิ่นฐานอยูอ่ ย่างถาวร
ค. ดารงชีวิตอยูก่ บั ธรรมชาติ ง. ล่าสัตว์เป็ นอาหาร
17. ในชุมชนสมัยใดที่มนุษย์เริ่ มรู ้จกั ทาการเพาะปลูกพืช
ก. สมัยหิ นเก่า ข. สมัยหิ นใหม่
ค. สมัยสาริ ด ง. สมัยเหล็ก
18. ภาชนะดินเผาที่บา้ นเชียง เป็ นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ที่สาคัญของภาคใด
ก. ภาคเหนือ ข. ภาคกลาง
ค. ภาคใต้ ง. ภาคอีสาน
19. เพราะเหตุใดชุมชนบ้านเชียง จังหวัดอุดรธานี จึงได้รับการยอมรับว่าใช้สาริ ดก่อนที่อื่น ๆ
ก. เพราะมีคนบอกมา ข. เพราะจากอายุหลักฐานที่แสดงไว้
ค. เพราะนักประวัติศาสตร์ วเิ คราะห์ไว้ ง. เพราะชาวบ้านยืนยัน
20. “จากแหล่งโบราณคดีหลาย ๆ แห่งมีความคล้ายคลึงกันและพบของที่มาจากต่างแดนด้วย”
จากหลักฐานดังกล่าวแสดงถึงข้อใด
ก. มีการติดต่อกับชุมชนภายนอก ข. มีการสื บทอดความรู้จากบรรพบุรุษ
ค. มีการเปลี่ยนผูน้ าบ่อย ๆ ง. มีการปกครองโดยกษัตริ ย ์
ดูภาพ แล้วตอบคาถามข้ อ 21 – 23

6
21. จากภาพอาณาจักรใดมีช่วงเวลายาวนานที่สุด
ก. อาณาจักรหริ ภุญชัย ข. อาณาจักรละโว้
ค. อาณาจักรขอม ง. อาณาจักรทวารวดี
22. หลักฐานสาคัญของอาณาจักรตามพรลิงค์ คือข้อใด
ก. พระบรมธาตุ วัดมหาธาตุวรมหาวิหาร จ.นครศรี ธรรมราช
ข. พระพุทธรู ปศิลาขาว พระปฐมเจดีย ์ จ.นครปฐม
ค. ปราสาทหินพิมาย จ.นครราชสี มา
ง. พระปรางค์สามยอด จ.ลพบุรี
23. อาณาจักรใดอยูใ่ นช่วงพุทธศตวรรษที่ 11 – 16
ก. อาณาจักรทวารวดี ข. อาณาจักรตามพรลิงค์
ค. อาณาจักรละโว้ ง. อาณาจักรหริ ภุญชัย
24. ข้อใดไม่ ใช่ อิทธิพลของเขมรที่มีต่อไทย
ก. ปราสาทหินพิมายที่นครราชสี มา ข. พระปรางค์สามยอดที่ลพบุรี
ค. ปราสาทเมืองสิ งห์ที่กาญจนบุรี ง. เจดียท์ รงกลม
25.
จากภาพเป็ นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่คน้ พบในภาคใดของไทย

ก. ภาคเหนือ ข. ภาคกลาง
ค. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ง. ภาคใต้
26. อาณาจักรสุ โขทัยก่อตั้งขึ้นได้สาเร็ จเนื่องจากมีปัจจัยใดที่สาคัญที่สุด
ก. มีผนู้ าที่เข้มแข็ง ข. ขอมเสื่ อมอานาจลง
ค. ได้รับการช่วยเหลือจากต่างชาติ ง. บ้านเมืองมีความอุดมสมบรู ณ์
27. เพราะเหตุใดผูป้ กครองสุ โขทัยในระยะแรกจึงถูกเรี ยกว่า พ่อขุน
ก. เพราะมีความเป็ นกันเอง ข. เพราะมีความเป็ นผูน้ า
ค. เพราะมีความใกล้ชิดกับประชาชน ง. เพราะมีอานาจมาก
28. การที่พอ่ ขุนรามคาแหงทรงให้แขวนกระดิ่งไว้ที่ประตูวงั เพื่อให้ประชาชนที่เดือดร้อน
มาสั่นกระดิ่งร้องทุกข์ ทาให้เกิดผลดีอย่างไร
ก. ทาให้คดีความลดน้อยลง ข. ทาให้คดีความสิ้ นสุ ดลง
ค. ทาให้ทราบปัญหาที่แท้จริ ง ง. ทาให้ขา้ ราชการตั้งใจทางาน

7
29. ในสมัยสุ โขทัยได้รับแนวคิด “ธรรมราชา” มาใช้ในการปกครอง ซึ่ งเกิดจากสาเหตุใด
ก. ได้รับอิทธิพลมาจากพระพุทธศาสนา ข. ได้รับอิทธิพลมาจากศาสนาพราหมณ์
ค. ได้รับอิทธิพลมาจากเขมรโบราณ ง. ได้รับอิทธิพลมาจากจีน
30. จากการที่มีปราสาทหิ นมากมายในบริ เวณภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ แสดงว่าบริ เวณนี้เคยได้รับ
อิทธิพลจากข้อใด
ก. อินเดีย ข. ขอม
ค. จีน ง. มลายู
31. คาพูดของใครที่กล่าวไม่ ถูกต้ อง
ก. กมลพูดว่า พ่อขุนรามคาแหงเป็ นผูป้ ระดิษฐ์อกั ษรไทย
ข. จตุพรพูดว่า พ่อขุนรามคาแหงสร้างทานบเพื่อกักเก็บน้ า
ค. จันทนาพูดว่า พ่อขุนรามคาแหงให้ราษฎรค้าขายได้อย่างเสรี
ง. ทินกรพูดว่า พ่อขุนรามคาแหงใช้หลักสมบูรณาญาสิ ทธิ ราชย์ในการปกครอง
32. ข้อใดจัดเป็ นวีรกรรมที่สาคัญของพ่อขุนรามคาแหงมหาราช
ก. รบชนะขุนสามชน เจ้าเมืองฉอด ข. สร้างความสัมพันธ์กบั ล้านนา
ค. ปกครองบ้านเมืองอย่างยาวนาน ง. ครอบครองอาณาจักรมอญได้
33. ข้อใดไม่สัมพันธ์ กนั
ก. สรี ดภงส์ – ทานบกักเก็บน้ า ข. จังกอบ - ภาษีผา่ นด่าน
ค. ลายสื อไทย – ตัวอักษรไทย ง. เครื่ องสังคโลก – ของถวายพระสงฆ์
34. จุดมุ่งหมายสาคัญในการพระราชนิพนธ์หนังสื อไตรภูมิพระร่ วงของพระมหาธรรมราชาที่ 1
(ลิไทย) เพื่อสิ่ งใด
ก. เพื่อให้เกิดจินตนาการ
ข. เพื่อใช้ปกครองบ้านเมือง
ค. เพื่อสร้างความบันเทิงให้กบั ผูค้ น
ง. เพื่อให้เกิดความเกรงกลัวต่อการทาความชัว่
35. พระราชกรณี ยกิจที่สาคัญที่สุดของพ่อขุนศรี อินทราทิตย์คือข้อใด
ก. ประดิษฐ์ตวั อักษรไทย ข. พระราชนิพนธ์ไตรภูมิพระร่ วง
ค. สถาปนากรุ งสุ โขทัย ง. ทรงปกครองแบบธรรมราชา
36. ข้อใดคือหลักฐานที่แสดงว่าหัตถกรรมในสมัยสุ โขทัยเจริ ญรุ่ งเรื อง
ก. ตุก๊ ตาดินเผา ข. ซากเตาทุเรี ยง
ค. ถ้วยชาม ง. ไห

8
37. ข้อใดไม่ ใช่ งานศิลปกรรมในสมัยสุ โขทัย
ก. เจดียท์ รงลังกา วัดช้างล้อม ข. ภาพเขียนสี วัดเจดียเ์ จ็ดแถว
ค. พระปรางค์ วัดไชยวัฒนาราม ง. ภาพจาหลักบนหินชนวน วัดศรี ชุม
38. เพราะเหตุใดสุ โขทัยจึงแก้ปัญหาเรื่ องน้ าด้วยการสร้างทานบกั้นน้ า (สรี ดภงส์) และขุดสระน้ า
(ตระพัง) ไว้เป็ นจานวนมาก
ก. เพราะอยูใ่ นที่ราบ ข. เพราะมีพ้นื ดินอุดมสมบูรณ์
ค. เพราะต้องการให้คนรุ่ นหลังยกย่อง ง. เพราะอยูใ่ นที่ราบเชิงเขาซึ่ งเป็ นที่ลาด
39. นักเรี ยนคิดว่าการอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทยเป็ นหน้าที่ของใคร
ก. ครู และนักเรี ยน ข. กานันและผูใ้ หญ่บา้ น
ค. หน่วยงานราชการ ง. คนไทยทุกคน

ดูภาพ แล้วตอบคาถามข้ อ 40

(1)

(3) (4)

(2)
40. ข้อใดไม่ ใช่ ภูมิปัญญาสมัยสุ โขทัย
ก. ภาพที่ 1 ข. ภาพที่ 2
ค. ภาพที่ 3 ง. ภาพที่ 4



9
ตารางวิเคราะห์ ข้อสอบมาตรฐานชั้นปี วิชา ประวัติศาสตร์ ชุ ดที่ 2
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4
มาตรฐาน / ตัวชี้วดั
ข้ อ มฐ. ส 4.1 มฐ. ส 4.2 มฐ. ส 4.3
1 2 3 1 2 1 2 3
1 
2 
3 
4 
5 
6 
7 
8 
9 
10 
11 
12 
13 
14 
15 
16 
17 
18 
19 
20 
21 
22 
23 
24 
25 
26 
27 
28 
29 
30 

10
มาตรฐาน / ตัวชี้วดั
ข้ อ มฐ. ส 4.1 มฐ. ส 4.2 มฐ. ส 4.3
1 2 3 1 2 1 2 3
31 
32 
33 
34 
35 
36 
37  
38  
39  
40  

11
ข้ อสอบมาตรฐานชั้นปี ชุดที่ 2 กลุ่มสาระ สั งคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
วิชา ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 จานวน 40 ข้ อ

ให้ กาเครื่องหมาย  ทับตัวอักษรหน้ าคาตอบทีถ่ ูกต้ อง


1. เพราะเหตุใดนักประวัติศาสตร์ จึงกาหนดช่วงเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
ก. เพื่อให้จดจาได้ง่ายและสะดวกในการศึกษา
ข. เพื่อให้รู้เรื่ องราวต่าง ๆ ทางประวัติศาสตร์
ค. เพื่อให้เข้าใจเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ดี
ง. เพื่อให้คนอื่นยกย่อง
2. ศตวรรษมีระยะเวลายาวนานกว่าทศวรรษกี่ปี
ก. 10 ปี ข. 90 ปี
ค. 100 ปี ง. 110 ปี
3. ข้อใดกล่าวไม่ ถูกต้ อง
ก. ทศวรรษ เริ่ มนับจากปี ที่ข้ ึนต้นด้วย 1 และไปสิ้ นสุ ดที่ 10
ข. ศตวรรษที่ 1 คือ เวลาในช่วงปี ที่ 1 -100
ค. ศตวรรษที่ 2 คือ เวลาในช่วงปี ที่ 101 – 200
ง. สหัสวรรษที่ 1 คือ ระหว่างปี 1 -1000
4. พ่อขุนรามคาแหงมหาราช ทรงประดิษฐ์ลายสื อไทยขึ้นในปี พ.ศ. 1826 ซึ่ งแสดงว่าตรงกับ
พุทธศตวรรษที่เท่าไร
ก. พุทธศตวรรษที่ 17 ข. พุทธศตวรรษที่ 18
ค. พุทธศตวรรษที่ 19 ง. พุทธศตวรรษที่ 20
5. ปี ค.ศ. 2010 นับเป็ นปี ที่เท่าไรในสหัสวรรษที่ 3
ก. ปี ที่ 7 ข. ปี ที่ 8
ค. ปี ที่ 9 ง. ปี ที่ 10
6. ข้อใดไม่ ใช่ ประโยชน์ของการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
ก. เพื่อให้ทราบว่าเหตุการณ์ใดเกิดขึ้นก่อนหรื อหลัง
ข. เพื่อให้ทราบว่าเหตุการณ์ใดเกิดขึ้นในช่วงเวลาใด
ค. เพื่อให้ทราบเหตุการณ์ต่าง ๆ ในอดีตได้อย่างละเอียด
ง. เพื่อให้ทราบว่าแต่ละเหตุการณ์มีระยะเวลาห่างกันเท่าใด

12
7. สิ่ งใดที่ทาให้นกั ประวัติศาสตร์ แบ่งสมัยก่อนประวัติศาสตร์ เป็ น 2 สมัยใหญ่ ๆ คือ สมัยหิน
กับสมัยโลหะ
ก. นักประวัติศาสตร์คิดเอาเอง
ข. หลักฐานเครื่ องมือเครื่ องใช้ที่คน้ พบ
ค. มีหลักฐานบันทึกบอกเอาไว้อยูแ่ ล้ว
ง. สัตว์บางชนิดที่ทาให้เกิดข้อสันนิษฐานได้
8. ข้อใดไม่ สัมพันธ์ กนั
ก. สมัยหิ นเก่า – มนุษย์อยูแ่ บบเร่ รอน
ข. สมัยหิ นใหม่ – มนุษย์รู้จกั ทาการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์
ค. สมัยสาริ ด – มนุษย์รู้จกั นาเหล็กมาถลุงและหลอมทาเป็ นเครื่ องมือเครื่ องใช้
ง. สมัยเหล็ก – มนุษย์รู้จกั นาเครื่ องมือเครื่ องใช้ที่ทาจากเหล็กมาทาให้การเกษตรมีความเจริ ญ
ก้าวหน้ามากขึ้น
9. การแบ่งยุคสมัยในการศึกษาประวัติศาสตร์ สมัยใดเก่าแก่ที่สุด
ก. สมัยหิ นเก่า ข. สมัยหิ นใหม่
ค. สมัยสาริ ด ง. สมัยเหล็ก
10. ยุคสมัยที่ใช้ในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทย สมัยประวัติศาสตร์ สมัยใดเก่าแก่ที่สุด
ก. สมัยสุ โขทัย ข. สมัยอยุธยา
ค. สมัยธนบุรี ง. สมัยรัตนโกสิ นทร์
11. หลักฐานในยุคประวัติศาสตร์ ไทยข้อใด ที่ให้ขอ้ มูลเรื่ องราวในอดี ตได้มากที่สุด
ก. ศิลาจารึ กพ่อขุนรามคาแหง ข. เจดียท์ รงพุม่ ข้าวบิณฑ์
ค. พระพุทธรู ปปางลีลา ง. พระพุทธชินราช
12. ข้อใดไม่ ใช่ หลักฐานชั้นต้น

ก. ข.

ค. ง.

13
13. ข้อใดคือประโยชน์สูงสุ ดของหลักฐานชั้นรอง
ก. มีความน่าเชื่ อถือมากที่สุด ข. สามารถใช้คน้ คว้าได้สะดวก
ค. ให้ขอ้ มูลตามความเป็ นจริ ง ง. เป็ นหลักฐานที่เกิดขึ้นครั้งแรก
14. จากภาพ ข้อความใดกล่าวไม่ ถูกต้ อง

ก. ภาพนี้จดั เป็ นหลักฐานชั้นต้น


ข. ภาพนี้จดั เป็ นหลักฐานชั้นรอง
ค. ภาพนี้ช่วยให้เราได้เห็นสถานที่จริ งในอดีต
ง. ภาพนี้ช่วยให้เราได้เห็นสภาพชีวติ จริ งของ
คนในอดีต

15. ข้อใดไม่จดั เป็ นหลักฐานชั้นต้นในการค้นคว้าประวัติความเป็ นมาของท้องถิ่น


ก. สถานที่สาคัญในท้องถิ่น ข. รู ปถ่าย
ค. ตานาน ง. สิ่ งของต่าง ๆ
16. ข้อใดไม่ ใช่ ปัจจัยที่ทาให้ชุมชนในอดีตมีพฒั นาการและความเจริ ญรุ่ งเรื อง
ก. มีทาเลที่ต้ งั ที่ดี
ข. มีทรัพยากรอุดมสมบูรณ์
ค. มีความเจริ ญทางเทคโนโลยี
ง. มีการติดต่อกับชุมชนภายนอกได้สะดวก
17. หลักฐานสมัยสาริ ดที่พบในบริ เวณใดไม่อยูใ่ นภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ
ก. บ้านดอนตาเพชร จ. กาญจนบุรี ข. บ้านเชียง จ. อุดรธานี
ค. บ้านนาดี จ. อุดรธานี ง. บ้านโนนนกทา จ. ขอนแก่น
18. เพราะเหตุใด เราจึงต้องศึกษาเหตุการณ์สาคัญของท้องถิ่นในอดีต
ก. เพื่อให้ทราบปั ญหาของท้องถิ่น ข. เพื่อให้ทราบพัฒนาการของท้องถิ่น
ค. เพื่อให้ทราบการปกครองของท้องถิ่น ง. เพื่อให้ทราบสภาพเศรษฐกิจของท้องถิ่น
19. ข้อใดคือปั จจัยสาคัญในการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ในอดีต
ก. มีสภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์เหมาะสม
ข. มีความเจริ ญทางด้านการคมนาคม
ค. มีความเจริ ญทางด้านเทคโนโลยี
ง. มีสถานศึกษามากมาย

14
20. หลักฐานในข้อใดแสดงว่าชุมชนท้องถิ่นได้รับคติความเชื่อทางด้านศาสนา

ก. ข.

ค. ง.

21. ข้อใดคือตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ของภาคกลาง


ก. พระธาตุหริ ภุญชัย ข. ปราสาทหินพิมาย
ค. พระปฐมเจดีย ์ ง. ปราสาทหินพนมรุ ้ง
22. ข้อใดคือตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ของภาคเหนื อ
ก. พระธาตุหริ ภุญชัย ข. ปราสาทหินพิมาย
ค. พระปฐมเจดีย ์ ง. ปราสาทหินพนมรุ ้ง
23. ปราสาทหินพนมรุ ้ง ที่จงั หวัดบุรีรัมย์ ได้รับอิทธิพลมาจากข้อใด
ก. จีน ข. ขอม
ค. ลาว ง. ญวน

ดูภาพทีก่ าหนดให้ แล้วตอบคาถามข้ อ 24 – 25

24. ภาพนี้เป็ นหลักฐานที่พบในจังหวัดใด


ก. ขอนแก่น ข. ชัยภูมิ
ค. อุดรธานี ง. อุบลราชธานี

15
25. จากหลักฐานที่พบสามารถบ่งบอกถึงเรื่ องใด
ก. คนในสมัยนั้นมีอาชีพเป็ นจิตรกร
ข. คนในสมัยนั้นมีอาชีพหาของป่ า
ค. คนในสมัยนั้นเป็ นพวกเร่ ร่อน ไม่มีที่อยูอ่ าศัย
ง. คนในสมัยนั้นยังไม่มีตวั อักษรใช้จึงบันทึกเหตุการณ์เป็ นภาพแทน
26. กษัตริ ยพ์ ระองค์ใดไม่เคยปกครองสุ โขทัย
ก. พญางาเมือง ข. พ่อขุนศรี อินทราทิตย์
ค. พ่อขุนรามคาแหงมหาราช ง. พระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไทย)
27. ข้อใดไม่ สัมพันธ์ กนั
ก. เมืองพระบาง – นครสวรรค์ ข. เมืองสองแคว –พิษณุโลก
ค. เมืองเชียงทอง – ชุมพร ง. เมืองชากังราว – กาแพงเพชร
28. กรุ งสุ โขทัยอ่อนแอและตกเป็ นของกรุ งศรี อยุธยาเกิดขึ้นจากสาเหตุต่าง ๆ ยกเว้ นข้อใด
ก. การแย่งชิงอานาจภายในของสุ โขทัย
ข. กรุ งศรี อยุธยาส่ งทหารเข้ายึดอานาจ
ค. มีความอ่อนแอทางด้านการทหาร
ง. การค้ากับต่างประเทศเริ่ มตกต่า
29. ข้อความในศิลาจารึ กที่วา่ “ใครจักใคร่ คา้ ช้างค้า ใครจักใคร่ คา้ ม้าค้า ใครจักใคร่ คา้ เงินค้าทองค้า”
แปลความหมายได้ตรงตามข้อใดมากที่สุด
ก. สิ นค้าสาคัญ คือ ช้าง ม้า เงิน ทอง
ข. ราษฎรสามารถค้าขายได้อย่างอิสระ
ค. การเลี้ยงสัตว์เป็ นสิ นค้าขายได้ราคาดี
ง. รัฐสนับสนุนการเลี้ยงสัตว์และค้าทอง
30. ข้อใดไม่ ถูกต้ องเกี่ยวกับการปกครองราชธานีในสมัยสุ โขทัย
ก. เมืองหลวงเป็ นที่ประทับของกษัตริ ย ์
ข. เมืองลูกหลวงจะต้องอยูร่ อบราชธานีท้ งั 4 ทิศ
ค. เมืองออกหรื อเมืองประเทศราชเป็ นเมืองหน้าด่าน
ง. กษัตริ ยท์ รงแต่งตั้งขุนนางชั้นสู งไปปกครองเมืองพระยามหานคร
31. เพราะเหตุใดกรุ งสุ โขทัยจึงมีความเจริ ญรุ่ งเรื องมาเกือบ 200 ปี
ก. เพราะมีผนู้ าที่เข้มแข็ง ข. เพราะมีความเจริ ญทางด้านเศรษฐกิจมาก
ค. เพราะผูค้ นยึดมัน่ ในหลักธรรม ง. เพราะมีลกั ษณะภูมิประเทศที่ดี

16
32. วีรกรรมสาคัญของพ่อขุนศรี อินทราทิตย์คือข้อใด
ก. ปกครองบ้านเมืองด้วยความสงบสุ ข
ข. ขับไล่อานาจของขอมออกไปได้สาเร็ จ
ค. นาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาใช้ปกครองบ้านเมือง
ง. ขยายอาณาเขตกรุ งสุ โขทัยออกไปได้อย่างกว้างไกลที่สุด
33. พ่อขุนรามคาแหงมหาราชทรงครองราชย์ในช่วงเวลาใด
ก. พ.ศ. 1792 – 1822 ข. พ.ศ. 1822 – 1841
ค. พ.ศ. 1842 – 1890 ง. พ.ค. 1891 – 1917
34. ข้อใดเป็ นพระราชกรณี ยกิจที่สาคัญด้านเศรษฐกิจของพ่อขุนรามคาแหง
ก. ทรงปกครองแบบพ่อปกครองลูก ข. ทรงให้สร้างพระแท่นมนังคศิลา
ค. ทรงยกเว้นการเก็บภาษีจงั กอบ ง. ทรงคิดประดิษฐ์อกั ษรไทย
35. พระราชกรณี ยกิจที่เด่นชัดที่สุดของพระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไทย) คือข้อใด
ก. รวมเมืองต่าง ๆ เข้าเป็ นส่ วนหนึ่งของอาณาจักรสุ โขทัย
ข. ทรงนาหลักธรรมมาใช้ในการปกครอง
ค. ย้ายที่ประทับไปอยูท่ ี่เมืองพิษณุ โลก
ง. พระราชนิพนธ์ไตรภูมิพระร่ วง
36. ข้อใดเป็ นภูมิปัญญาในการดารงชีวติ ในสมัยสุ โขทัย
ก. สรี ดภงส์ ข. ลายสื อไทย
ค. พระพุทธชินราช ง. เจดียท์ รงพุม่ ข้าวบิณฑ์
37. ภูมิปัญญาสมัยสุ โขทัยข้อใดมีอิทธิ พลต่อคนไทยในปั จจุบนั มากที่สุด
ก. สรี ดภงส์ ข. ลายสื อไทย
ค. เครื่ องสังคโลก ง. พระพุทธรู ป
38. ข้อใดคือคุณค่าของศิลาจารึ กหลักที่ 1
ก. เป็ นจารึ กที่เก่าแก่ที่สุด
ข. ให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับสุ โขทัย
ค. เป็ นวรรณกรรมที่สาคัญในสมัยสุ โขทัย
ง. พ่อขุนรามคาแหงมหาราชทรงสร้างขึ้น

17
39. เราควรปฏิบตั ิตนอย่างไรเพื่อราลึกถึงพระคุณของพ่อขุนรามคาแหงมหาราช
ก. เดินทางไปสักการะอนุสาวรี ยพ์ อ่ ขุนรามคาแหง
ข. ใช้คาพูดเลียนแบบพ่อขุนรามคาแหง
ค. นาหลักศิลาจารึ กมาเก็บไว้ที่บา้ น
ง. ใช้ภาษาไทยให้ถูกต้อง
40. ถ้านักเรี ยนไปเที่ยวชมอุทยานประวัติศาสตร์ สุโขทัย นักเรี ยนไม่ควรปฏิบตั ิอย่างไร
ก. ถ่ายภาพโบราณสถานที่สาคัญ
ข. เก็บเศษแผ่นศิลาไว้เป็ นที่ระลึก
ค. เตือนเพื่อนไม่ให้ทิ้งขยะลงพื้นบริ เวณอุทยาน
ง. แนะนาเกี่ยวกับประวัติสุโขทัยให้ผอู ้ ื่นทราบเท่าที่รู้



18
เฉลยข้ อสอบมาตรฐานชั้นปี ชุ ดที่ 1

1. ง 2. ค 3. ง 4. ข 5. ก
6. ข 7. ค 8. ง 9. ง 10. ง
11. ก 12. ค 13. ง 14. ก 15. ค
16. ข 17. ข 18. ง 19. ข 20. ก
21. ค 22. ก 23. ก 24. ง 25. ค
26. ก 27. ค 28. ค 29. ก 30. ข
31. ง 32. ก 33. ง 34. ง 35. ค
36. ข 37. ค 38. ง 39. ง 40. ข

เฉลยข้ อสอบมาตรฐานชั้นปี ชุ ดที่ 2

1. ก 2. ข 3. ก 4. ค 5. ง
6. ค 7. ข 8. ค 9. ก 10. ก
11. ก 12. ง 13. ข 14. ข 15. ค
16. ค 17. ก 18. ข 19. ก 20. ก
21. ค 22. ก 23. ข 24. ง 25. ง
26. ก 27. ค 28. ข 29. ข 30. ค
31. ก 32. ข 33. ข 34. ค 35. ข
36. ก 37. ข 38 ข 39 ง 40 ข

19
เฉลยข้ อสอบมาตรฐานชั้นปี ชุดที่ 1
เฉลยอย่ างละเอียด
1. ตอบ ก เพราะ 10 ทศวรรษเป็ นช่วงเวลา 100 ปี เท่ากับ 1 ศตวรรษ
2. ตอบ ค เพราะปัจจุบนั อยูใ่ นช่วง ค.ศ. 2010 ซึ่ งค.ศ. 2001 – 3000 อยูใ่ นช่วงสหัสวรรษที่ 3
3. ตอบ ง เพราะข้อ ก. = 25ปี ข้อ ข. = 90 ปี ข้อ ค. = 300 ปี ข้อ ง. = 1000 ปี
ดังนั้นข้อ ง. จึงเป็ นคาตอบที่ถูก
4. ตอบ ข เพราะพุทธศตวรรษที่ 23 ตรงกับ พ.ศ. 2201 – 2300
เพราะพุทธศตวรรษที่ 24 ตรงกับ พ.ศ. 2301 – 2400
เพราะพุทธศตวรรษที่ 25 ตรงกับ พ.ศ. 2401 – 2500
เพราะพุทธศตวรรษที่ 26 ตรงกับ พ.ศ. 2501 – 2600
ดังนั้น พ.ศ. 2325 จึงตรงกับพุทธศตวรรษที่ 24
5. ตอบ ก เพราะ 5 ทศวรรษเท่ากับ 50 ปี
6. ตอบ ค เพราะมีการจารึ กเป็ นตัวอักษรไว้
7. ตอบ ค เพราะมีหลักฐานยืนยันถึงการเข้ามาครอบครองของกษัตริ ยจ์ ิตรเสน แห่งอาณาจักร
เจนละ
8. ตอบ ง เพราะสมัยหิ นใหม่มนุษย์ยงั ไม่รู้วธิ ี นาเหล็กมาทาเป็ นเครื่ องมือเครื่ องใช้ ซึ่ งเครื่ องมือ
เครื่ องใช้ที่สาคัญในสมัยนี้มกั ทาจากหินมาขัดให้เรี ยบและแหลมคม
9. ตอบ ง เพราะมนุษย์รู้จกั นาเครื่ องมือหิ นมาขัดให้คมและทาให้มีผิวเรี ยบเกิดขึ้นในสมัยหิ นใหม่
10. ตอบ ง เพราะยุคประวัติศาสตร์คือยุคที่มนุษย์มีตวั อักษรใช้แล้วและรู้จกั บันทึกข้อความ
11. ตอบ ก เพราะหลักฐานช่วยให้เข้าใจประวัติความเป็ นมาได้ดีที่สุด
12. ตอบ ค เพราะการศึกษาประวัติความเป็ นมาของท้องถิ่นอาจไม่ทาให้คนในท้องถิ่นอื่น ๆ
เกิดการยอมรับและชื่นชมเสมอไป
13. ตอบ ง เพราะหนังสื อประวัติบุคคลสาคัญในท้องถิ่นเป็ นหลักฐานชั้นรอง
14. ตอบ ก เพราะภาพถ่ายเป็ นหลักฐานชั้นต้น
15. ตอบ ค เพราะหนังสื อจัดเป็ นหลักฐานชั้นรอง
16. ตอบ ข เพราะมนุษย์ยคุ หิ นดารงชีวติ อยูอ่ ย่างเร่ ร่อน
17. ตอบ ข เพราะในสมัยหิ นใหม่มนุษย์รู้จกั ทาการเพาะปลูกพืชเป็ นครั้งแรก
18. ตอบ ง เพราะภาชนะดินเผาที่บา้ นเชียง พบในพื้นที่จงั หวัดอุดรธานี ซึ่ งตั้งอยูใ่ นภาคอีสาน
19. ตอบ ข เพราะจากหลักฐานที่คน้ พบมีอายุอยูใ่ นช่วงสมัยสาริ ดเป็ นจานวนมาก

20
20. ตอบ ก เพราะการติดต่อกับชุมชนภายนอกได้รับเอาสิ่ งของเครื่ องใช้จากต่างแดนมาด้วย
21. ตอบ ค เพราะอาณาจักรขอมมีระยะเวลายาวนานถึง 8 ศตวรรษ อาณาจักรละโว้มีระยะ 7
ศตวรรษ อาณาจักรทวารวดีมีระยะ 5 ศตวรรษ อาณาจักรหริ ภุญชัยมีระยะ 7 ศตวรรษ
ดังนั้นอาณาจักรขอมจึงมีระยะยาวนานที่สุด
22. ตอบ ก เพราะพระปรางค์สามยอด จ.ลพบุรี เป็ นหลักฐานของอาณาจักรละโว้
ปราสาทหินพิมาย จ.นครราชสี มา เป็ นหลักฐานของอาณาจักรขอม
พระพุทธรู ปศิลาขาว พระปฐมเจดีย ์ จ.นครปฐม เป็ นหลักฐานของอาณาจักรทวารวดี
ส่ วนพระบรมธาตุ วัดมหาธาตุวรมหาวิหาร จ.นครศรี ธรรมราช เป็ นหลักฐานสาคัญ
ของอาณาจักรตามพรลิงค์
23. ตอบ ก เพราะอาณาจักรที่อยูใ่ นช่วงพุทธศตวรรษที่ 11 – 16 คือ อาณาจักรทวารวดี
24. ตอบ ง เพราะเจดียท์ รงกลมเป็ นศิลปะที่เป็ นเอกลักษณ์ของสุ โขทัย
25. ตอบ ค เพราะเครื่ องปั้ นดินเผาลายเขียนสี (ลายเชือกทาบ) เป็ นเอกลักษณ์ของเครื่ องปั้ นดินเผา
บ้านเชียง จ.อุดรธานี ของภาคอีสาน
26. ตอบ ก อาณาจักรสุ โขทัยก่อตั้งขึ้นได้สาเร็ จเนื่องจากมีปัจจัยที่สาคัญที่สุดคือการมีผนู ้ าที่
เข้มแข็ง
27. ตอบ ค สาเหตุที่ทาให้ผปู้ กครองสุ โขทัยในระยะแรกถูกเรี ยกว่าพ่อขุน เพราะมีความใกล้ชิดกับ
ประชาชน ใช้ระบบการปกครองเหมือนพ่อปกครองลูก
28. ตอบ ค เพราะพ่อขุนรามคาแหงมีพระประสงค์ที่จะทราบปัญหาที่แท้จริ งของประชาชน
29. ตอบ ก เพราะพระพุทธศาสนาเข้ามามีอิทธิพลในสมัยสุ โขทัย จึงทาให้พระมหากษัตริ ยใ์ นสมัย
สุ โขทัยคิดที่จะนาหลักธรรมมาใช้ในการปกครองบ้านเมือง
30. ตอบ ข เพราะขอมมีอิทธิ พลแพร่ หลายและเคยครอบครองบริ เวณแห่งนี้ในอดีต
31. ตอบ ง เพราะพ่อขุนรามคาแหงใช้การปกครองแบบพ่อปกครองลูก
32. ตอบ ก เพราะวีรกรรมที่สาคัญของพ่อขุนรามคาแหงมหาราชคือการรบชนะขุนสามชน
เจ้าเมืองฉอด
33. ตอบ ง เพราะเครื่ องสังคโลกไม่ใช่ของถวายพระสงฆ์
34. ตอบ ง เพราะจุดมุ่งหมายสาคัญในการพระราชนิพนธ์หนังสื อไตรภูมิพระร่ วงของ
พระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไทย) ก็เพื่อให้ผคู ้ นเกิดความเกรงกลัวต่อการทาความชัว่
35. ตอบ ค เพราะการสถาปนากรุ งสุ โขทัยเป็ นพระราชกรณี ยกิจที่สาคัญที่สุดของ
พ่อขุนศรี อินทราทิตย์
36. ตอบ ข เพราะซากเตาทุเรี ยงเป็ นที่ใช้เผาหัตถกรรมในสมัยสุ โขทัยได้ถูกค้นพบมากมาย

21
37. ตอบ ค เพราะพระปรางค์ วัดไชยวัฒนาราม เป็ นงานศิลปะในสมัยอยุธยา
38. ตอบ ง เพราะเมืองสุ โขทัยตั้งอยูใ่ นที่ราบเชิงเขาซึ่ งเป็ นที่ลาด เมื่อฝนตกลงมาก็จะไหลไปหมด
ดังนั้น การสร้างทานบกั้นน้ าและการขุดสระน้ าจึงเป็ นการแก้ปัญหาเรื่ องน้ าได้
39. ตอบ ง เพราะคนไทยทุกคนมีหน้าที่ในการอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย
40. ตอบ ข เพราะภาพที่ 2 เป็ นแจกันที่สร้างขึ้นในสมัยปั จจุบนั



22
เฉลยข้ อสอบมาตรฐานชั้นปี ชุดที่ 2
เฉลยอย่ างละเอียด
1. ตอบ ก เพราะการกาหนดช่วงเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ก็เพื่อให้ง่ายแก่การจดจาและ
สะดวกในการศึกษาค้นคว้า
2. ตอบ ข เพราะทศวรรษมีระยะเวลา 10 ปี ส่ วนศตวรรษมีระยะเวลา 100 ปี ดังนั้นทศวรรษและ
ศตวรรษจึงมีระยะเวลายาวนานต่างกัน 90 ปี
3. ตอบ ก เพราะทศวรรษเริ่ มนับจากปี ที่ข้ ึนต้นด้วย 0 และสิ้ นสุ ดที่ 9
4. ตอบ ค เพราะพุทธศตวรรษที่ 19 อยูใ่ นระหว่างปี พ.ศ. 1801 - 1900
5. ตอบ ง เพราะปี ค.ศ. 2010 เข้าสู่ สหัสวรรษที่ 3 มาเป็ นเวลา 10 ปี
6. ตอบ ค เพราะการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ไม่สามารถบอกเหตุการณ์ต่าง ๆ ในอดีต
อย่างละเอียดได้
7. ตอบ ข เพราะหลักฐานเครื่ องมือเครื่ องใช้ที่คน้ พบในสมัยนี้ส่วนมากจะเป็ นหิ นและโลหะ
ซึ่งมีอายุต่างกัน
8. ตอบ ค เพราะในสมัยสาริ ดมนุษย์ยงั ไม่รู้จกั นาเหล็กมาถลุงและหลอมทาเป็ นเครื่ องมือเครื่ องใช้
9. ตอบ ก เพราะสมัยหิ นเก่าเป็ นสมัยที่มาก่อนสมัยหิ นใหม่ สมัยสาริ ด และสมัยเหล็ก
10. ตอบ ก เพราะสมัยสุ โขทัยเป็ นสมัยที่มาก่อนอยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสิ นทร์
11. ตอบ ก เพราะศิลาจารึ กพ่อขุนรามคาแหงได้บนั ทึกเรื่ องราวต่าง ๆ ไว้อย่างมากมาย
12. ตอบ ง เพราะหนังสื อเป็ นหลักฐานที่มีผเู ้ ขียนขึ้นในภายหลัง
13. ตอบ ข เพราะหลักฐานชั้นรองสามารถจัดเรี ยงลาดับ จัดเป็ นหมวดหมู่ หรื อจัดทาอย่างอื่น
เพื่อให้สะดวกในการค้นคว้าได้
14. ตอบ ข เพราะภาพนี้ไม่ใช่หลักฐานชั้นรองแต่เป็ นหลักฐานชั้นต้นเพราะเป็ นภาพถ่าย
ในสมัยนั้นที่แสดงให้เห็นสภาพบ้านเมือง
15. ตอบ ค เพราะตานานจัดเป็ นหลักฐานชั้นรอง
16. ตอบ ค เพราะในอดีตความเจริ ญทางเทคโนโลยีไม่ใช่สิ่งสาคัญที่ทาให้มีพฒั นาการ
และความเจริ ญรุ่ งเรื อง
17. ตอบ ก เพราะบ้านดอนตาเพชร จ.กาญจนบุรี ไม่ได้อยูใ่ นภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ
18. ตอบ ข เพราะการศึกษาเหตุการณ์สาคัญของท้องถิ่นช่วยให้เราทราบพัฒนาการของท้องถิ่นได้
19. ตอบ ก เพราะปั จจัยสาคัญในการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ในอดีตคือการมีสภาพแวดล้อม
ทางภูมิศาสตร์ที่เหมาะสม

23
20. ตอบ ก เพราะหลักฐานในข้อ ก. เป็ นธรรมจักรซึ่งเป็ นสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา
21. ตอบ ค เพราะพระปฐมเจดีย ์ จ.นครปฐม เป็ นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ที่อยูใ่ นภาคกลาง
22. ตอบ ก เพราะพระธาตุหริ ภุญชัย จ.ลาพูน เป็ นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ที่อยูใ่ นภาคเหนือ
23. ตอบ ข เพราะขอมเคยเข้ามาครอบครองดินแดนของจังหวัดบุรีรัมย์และได้สร้างปราสาทหิน
พนมรุ ้งขึ้น และปราสาทอื่น ๆ อีกมากมาย
24. ตอบ ง เพราะภาพเขียนสี น้ ีพบที่ผาแต้ม จังหวัดอุบลราชธานี
25. ตอบ ง เพราะภาพเขียนนี้แสดงเหตุการณ์ในสมัยนั้นแทนการเขียนบันทึกเหตุการณ์
26. ตอบ ก เพราะพญางาเมืองเป็ นกษัตริ ยแ์ ห่งพะเยาและเป็ นพระสหายของพ่อขุนรามคาแหง
27. ตอบ ค เพราะเมืองเชียงทองคือจังหวัดตากไม่ใช่จงั หวัดชุมพร
28. ตอบ ข เพราะกรุ งศรี อยุธยาไม่ได้ส่งทหารเข้ายึดอานาจกรุ งสุ โขทัย
29. ตอบ ข เพราะสุ โขทัยสนับสนุนให้ราษฎรค้าขายได้อย่างอิสระ
30. ตอบ ค เพราะเมืองออกหรื อเมืองประเทศราชไม่ได้เป็ นเมืองหน้าด่าน แต่เป็ นเมืองที่มีกษัตริ ย ์
ของตนปกครอง และยอมอ่อนน้อมต่อสุ โขทัยด้วยการถวายเครื่ องบรรณาการให้
กับสุ โขทัย
31. ตอบ ก เพราะกษัตริ ยห์ รื อผูน้ าของสุ โขทัยมีความเข้มแข็งเป็ นอย่างมากจึงทาให้
สุ โขทัยมีความเจริ ญรุ่ งเรื องมาได้เกือบ 200 ปี
32. ตอบ ข เพราะการขับไล่อานาจของขอมออกไปได้สาเร็ จถือเป็ นวีรกรรมที่สาคัญที่สุด
ของพ่อขุนศรี อินทราทิตย์
33. ตอบ ข เพราะในช่วง พ.ศ. 1822 – 1841 เป็ นช่วงระยะเวลาที่พอ่ ขุนรามคาแหงมหาราช
ทรงครองราชย์กรุ งสุ โขทัย
34. ตอบ ค เพราะการยกเว้นการเก็บภาษีจงั กอบในสมัยที่พอ่ ขุนรามคาแหงครองราชย์ทาให้
เศรษฐกิจของกรุ งสุ โขทัยมีความเจริ ญรุ่ งเรื องเป็ นอย่างมาก
35. ตอบ ข เพราะการที่พระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไทย) ทรงนาหลักธรรมมาใช้ในการปกครอง
ทาให้บา้ นเมืองเกิดความสงบสุ ขที่สุด
36. ตอบ ก เพราะสรี ดภงส์เป็ นภูมิปัญญาที่ใช้ในการประกอบอาชีพของคนในสมัยสุ โขทัย
37. ตอบ ข เพราะลายสื อไทยเป็ นต้นแบบของตัวอักษรไทยในปัจจุบนั ซึ่งมีอิทธิ พลต่อคนไทย
ในปัจจุบนั มากมายหลายด้าน เช่น การติดต่อสื่ อสารระหว่างกัน การประกอบอาชีพ
เป็ นต้น
38. ตอบ ข เพราะเรารู ้ขอ้ มูลเกี่ยวกับสุ โขทัยจากหลักศิลาจารึ กหลักที่ 1

24
39. ตอบ ง เพราะถ้าเราใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องก็แสดงว่าเราไม่ให้ความเคารพในบรรพบุรุษ
ของตน ไม่มีความภูมิใจในบรรพบุรุษของตน แต่ถา้ เราใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้องก็
แสดงว่าเรามีความเคารพและระลึกถึงบรรพบุรุษของตนเอง
40. ตอบ ข เพราะแม้จะเป็ นเศษอิฐเศษหิ น ก็อาจมีความสาคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ ได้
ดังนั้น เราจึงไม่ควรเก็บเศษแผ่นศิลามาไว้เป็ นที่ระลึก เพราะอาจทาให้เกิดความ
เสี ยหายได้



25

You might also like