You are on page 1of 37

คำนำ

คูมือการจัดทำชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ มีที่มาจากโครงการสำคัญของกรมการปกครอง
ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ในการพัฒนาองคกรสูความยั่งยืนบนฐานการ ทำงานแบบ
ดิจิทัล (E-DOPA Digitalization) ภายใตโครงการจัดทำฐานขอมูลรายชื่อภูมิศาสตรและการถอด
อักษรไทยเปนอักษรโรมัน ของหนวยการปกครองทองที่ในระดับหมูบานของประเทศไทย เพื่อตอ
ยอดการถอดเสียงชื่อหนวยการปกครองทองที่ในระดับหมูบาน จำนวน ๗๕,๐๘๖ หมูบาน โดย
กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย เปนหนวยงานรับผิดชอบหลักในดานการปกครองทองที่
และการจัดทำแนวเขตการปกครองจังหวัด อำเภอ กิ่งอำเภอ ตำบล หมูบาน โดยในหวงป พ.ศ.
๒๕๖๒ - ๒๕๖๓ ซึ่งไดดำเนินการทบทวนชื่อและการถอดเสียงชื่อจังหวัด อำเภอ ตำบลของ
ประเทศไทย เปนอักษรโรมัน ประกอบดวยจังหวัด ๗๖ จังหวัด อำเภอ ๘๗๘ อำเภอ และตำบล
๗,๒๕๕ ตำบล รวมกับคณะกรรมการจัดทำพจนานุกรมวิสามานยนามไทย สำนักงานราชบัณฑิตย
สภา เพื่อปรับปรุงฐานขอมูลรายชื่อและการถอดอักษรไทย เปนอักษรโรมันของหนวยการปกครอง
ทองที่ของประเทศไทยใหเปนปจจุบัน และเปนไปตามหลักมาตรฐานในการจัดทำชื่อภูมิศาสตร
ไดแก การถอดอักษรไทยเปนอักษรโรมัน ตามหลักเกณฑที่สำนักงานราชบัณฑิตยสภากำหนด การ
ใหความสำคัญกับภาษาถิ่น ประวัติศาสตร และการมีสวนรวมของประชาชนในพื้นที่ในการกำหนด
ชื่อภูมิศาสตรและหลักการนำไปใชและการเผยแพร อันทำใหหนวยงานตาง ๆ ทั้งภาครัฐและ
ภาคเอกชน สามารถนำชื่อภูมิศาสตรดังกลาวไปใชไดอยางถูกตองและเปนมาตรฐานเดียวกัน
โดยกรมการปกครองได จ ั ด ทำคู  ม ื อ การจั ด ทำชื ่ อ หมู  บ  า นเป น ภาษาอั ง กฤษขึ ้ น เพื่ อ
ประกอบการทบทวนชื่อหมูบานในระบบรายชื่อภูมิศาสตร หนวยการปกครองทองที่ระดับหมูบาน
อันเปนฐานขอมูลในรูปแบบออนไลน ใหสามารถสืบคนประสานและเชื่อมโยงขอมูลระหวาง
หนวยงานภายในกรมการปกครองและหนวยงานภายนอก ใหสามารถนำขอมูลชื่อหมูบานที่ไดรับ
การถอดเสียงอักษรไทยเปนอักษรโรมันตามหลักเกณฑที่สำนักงานราชบัณฑิตยสภากำหนดไปใช
ประโยชนในภาคสวนตาง ๆ อาทิ ระบบฐานขอมูลทางทะเบียน ระบบเอกสารราชการสองภาษา
ระบบฐานขอมูลพื้นฐานหมูบานในรูปแบบออนไลน (E-Smart Village) ระบบแผนที่
สถานการณเพื่อใชในการบริหารจัดการดานความมั่นคง (E-Maps) รวมไปถึงการทำธุรกรรม
ทางอินเทอรเน็ต และการขนสง (Logistic) ของรัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชน อันจะนำไปสูการ
คูมือการจัดทำชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ
สวนวิเทศสัมพันธ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง 1
พัฒนาการใหบริการประชาชนในรูปแบบใหม และสามารถตอบสนองตอการพัฒนาประเทศที่เนน
โครงสรางเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนดวยนวัตกรรมไดในอนาคต

คณะผูจัดทำ

คูมือการจัดทำชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ
สวนวิเทศสัมพันธ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง 2
คณะผูจัดทำ

สวนวิเทศสัมพันธ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง


รวมกับสถาบันสอนดี เอ็ดดูเทค
อาจารยมัทนา ศุภนคร
- ที่ปรึกษาหลักสูตรและอาจารยประจํา สถาบันกวดวิชา สอนดี เอ็ดดูเทค
- กรรมการผูทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการประจําคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร
มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี จังหวัดลพบุรี

คูมือการจัดทำชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ
สวนวิเทศสัมพันธ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง 3
สารบัญ

คำนำ............................................................................................................................................. 1
คณะผูจัดทำ .................................................................................................................................. 3
๑. นิยามคำศัพท............................................................................................................................... 5
๒. คำสำคัญ ...................................................................................................................................... 6
๓. การสะกดคำภาษาไทยเปนภาษาอังกฤษ .................................................................................... 8
๔. แนวทางการเขียนชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ ........................................................................... 9
สวนที่ ๑: ความหมายหรือที่มาของชื่อหมูบาน ............................................................................. 9
สวนที่ ๒: การอานออกเสียงชื่อหมูบาน......................................................................................16
๕. ขอสังเกตเพิ่มเติม ......................................................................................................................19
๖. แผนภูมิแสดงแนวทางการจัดทำชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ...................................................20
๗. ตารางสรุปตัวอยางการจัดทำชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ .......................................................21
ภาคผนวก ก ...................................................................................................................................25
ตารางเทียบเสียงพยัญชนะ .........................................................................................................25
ตารางเทียบเสียงสระ ..................................................................................................................26
ภาคผนวก ข ...................................................................................................................................27
ตารางเทียบเสียงพยัญชนะ .........................................................................................................27
ตารางเทียบเสียงสระ ..................................................................................................................29
ภาคผนวก ค ...................................................................................................................................31

คูมือการจัดทำชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ
สวนวิเทศสัมพันธ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง 4
๑. นิยามคำศัพท

๑. หมูบาน หมายถึง หมูบานตามกฎหมายลักษณะปกครองทองที่


๒. ชื่อหมูบานภาษาอังกฤษ หมายถึง ชื่อภาษาอังกฤษของหมูบานตามกฎหมายลักษณะปกครอง
ทองที่ โดยไดรับการถอดเสียง ตามหลักเกณฑการถอดอักษรไทยเปนอักษรโรมันแบบถายเสียง
ของสำนักงานราชบัณฑิตยสภา
๓. โปรแกรม หมายถึง โปรแกรมอัตโนมัติสำหรับการถอดอักษรไทยเปนอักษรโรมันแบบถายเสียง
ตามหลักเกณฑของสำนักงานราชบัณฑิตยสภา
๔. นามสงเคราะหหมูบาน หมายถึง หนังสือที่รวบรวมรายชื่อภูมิศาสตร (Geographical Name)
ของหนวยการปกครองไทยในระดับหมูบานตามกฎหมายลักษณะปกครองทองที่ของประเทศ
ไทยทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
๕. อักษรโรมัน (Roman Alphabet) หรือ อักษรละติน (Latin Alphabet) หมายถึง อักษรใน
ระบบการเขียนที่ใชแพรหลายโดยเฉพาะภาษาอังกฤษและภาษาในยุโรปหลายภาษา

คูมือการจัดทำชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ
สวนวิเทศสัมพันธ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง 5
๒. คำสำคัญ

๑. พยางค หมายถึง สวนของคำที่เปลงออกมาครั้งหนึ่ง ๆ อาจมีความหมาย หรือไมมีก็ได เชน รัก


มี ๑ พยางค ทาชาง มี ๒ พยางค ทาฉลอม มี ๓ พยางค เปนตน
๒. คำมูล หมายถึง คำคำเดียวที่มีความหมาย และไมไดประสมกับคำอื่น โดยจะมีกี่พยางคก็ได
เชน ขาว อาหาร นานา สับปะรด นาิกา คอมพิวเตอร ทะมัดทะแมง เปนตน
๓. คำประสม หมายถึง คำที่เกิดจากการนำคำมูลตั้งแต ๒ คำขึ้นไปมาประสมกัน เกิดเปนคำใหม
ขึ้นมาอีกคำหนึ่ง ซึ่งอาจมีความหมายคงเดิม มีความหมายคลายคำเดิม ใหความหมายกระชับ
ขึ้น ขยายความใหเกิดความชัดเจนขึ้น รวมถึงอาจทำใหเกิดความหมายใหมขึ้นก็ได เชน ลูกเสือ
แสงอาทิตย พัดลม ชาวนา ชางไฟฟา พลเรือน การศึกษา ผลผลิต เครื่องแกง พระราชดำรัส
เปนตน
๔. คำสมาส หมายถึง คำที่เกิดจากการนำคำภาษาบาลีและภาษาสันสกฤตสองคำมาเชื่อมตอกัน
ทำใหเกิดความหมายใหม แตยังมีเคาของความหมายเดิม โดยแปลความหมายจากขางหลังไป
ขางหนา เชน แพทยศาสตร (แพทย + ศาสตร) หมายถึง วิชาที่วาดวยการแพทย เปนตน เมื่อ
อานออกเสียง มักอานออกเสียง “อะ” หรือ อานเรียงพยางคระหวางคำทั้งสองนั้น เชน คำวา
อุบัติเหตุ อานแบบสมาสอออกเสียงวา อุ-บัด-ติ-เหด สวน ธนบุรี อานแบบไมสมาส ออกเสียง
วา ทน-บุ-รี
(คูมือฉบับนี้จะนำเสนอคำที่มีลักษณะคลายคำสมาสหรือมีที่มาคลายกับคำสมาสรวมอยูใน
หัวขอคำสมาสดวยเพื่อใหงายตอการพิจารณาชื่อหนวยการปกครองของไทย)
๕. คำสนธิ หมายถึง คำที่เกิดจากการประสมของคำภาษาบาลีและภาษาสันสกฤตแบบสมาส
ประเภทหนึ่งที่ทำใหมีการเปลี่ยนแปลงรูปศัพท คูมือฉบับนี้จะนำเสนอคำที่มีลักษณะคลาย
คำสนธิหรือมีที่มาคลายกับคำสนธิ เชน มหรรณพ เทศาภิบาล สงกรานต ราชูปถัมภ ในหัวขอ
คำสนธิดวย เพื่อใหงายตอการพิจารณาชื่อหนวยการปกครองของไทย
๖. คำซ้ำ หมายถึง การนำคำมูลที่มีรูปและเสียงเหมือนกันมารวมกัน อาจทำใหเกิดคำซ้ำที่มี
ความหมายเหมือนคำมูลเดิม มีน้ำหนักมากขึ้นหรือเบาลง หรือแสดงความเปนพหูพจน
เชน ดำดำ มากมาก ไวไว เปนตน
๗. คำซอน หมายถึง คำที่เกิดจากการสรางคำโดยนำคำที่มีความหมายเหมือนกัน คลายกัน ตรงขามกัน
หรือมีความเกี่ยวของสัมพันธกันในทางใดทางหนึ่งมาเขียนซอนกัน ซึ่งอาจทำใหเกิดความหมาย
เฉพาะหรือความหมายใหมขึ้นมา เชน ชุกชุม เจานาย มิตรสหาย รูปทรง สุขสงบ เปนตน
คูมือการจัดทำชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ
สวนวิเทศสัมพันธ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง 6
๘. คำไทย หมายถึง คำที่มีใชอยูในภาษาไทยแตดั้งเดิม รวมถึงคำภาษาถิ่นที่มีรากคำหรือที่มา
เดียวกับคำไทยถึงแมจะใชหรือมีความหมายแตกตางกันตามถิ่นที่อยู
๙. คำภาษาตางประเทศ หมายถึง คำที่มีที่มาหรือรากคำที่ไมไดมาจากคำไทย เปนคำที่มาจาก
ภาษาตางประเทศ รวมถึงภาษาถิ่นที่มาจากภาษาตางประเทศดวย เชน ภาษาบาลี ภาษา
สันสกฤต ภาษามลายู ภาษาถิ่นลัวะ ภาษาขอม เปนตน

คูมือการจัดทำชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ
สวนวิเทศสัมพันธ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง 7
๓. การสะกดคำภาษาไทยเปนภาษาอังกฤษ
การสะกดชื่อหมูบานในภาษาไทยเปนภาษาอังกฤษ สามารถทำได 2 รูปแบบ ไดแก

๑. การถอดเสียงตามการสะกดแบบบาลี- ๒. การถอดอักษรไทยเปนอักษรโรมัน
สันสกฤต หรือ แบบประเพณีนิยม แบบถายเสียงตามแนวทางของ
ใชกับชื่อที่เปนนามพระราชทาน หรือชื่อที่ตั้ง ราชบัณฑิตยสถาน หรือ แบบทั่วไป
ตามพระนามของพระมหากษัตริย พระราชินี ใชกับชื่อทั่วไป เปนการถายเสียงเพื่อใหได
พระบรมวงศานุวงศ หรือบุคคลสำคัญทาง เสียงที่ใกลเคียงกับการออกเสียงชื่อนั้น ๆ
ประวัติศาสตร ที่สุด
โปรดดู ภาคผนวก ก โปรดดู ภาคผนวก ข

คูมือการจัดทำชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ
สวนวิเทศสัมพันธ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง 8
๔. แนวทางการเขียนชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ

การจัดทำชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษมีหลักการที่ตองใหความสำคัญในสองสวน ไดแก
สวนที่ ๑ ความหมายหรือที่มาของชื่อหมูบาน และ
สวนที่ ๒ การอานออกเสียงชื่อหมูบาน
โดยทั้งสองสวนมีรายละเอียด ดังนี้

สวนที่ ๑: ความหมายหรือที่มาของชื่อหมูบาน
ความหมายหรือที่มาของชื่อหมูบานมีความสำคัญตอการถอดเสียงชื่อหมูบานภาษาอังกฤษ
เปนอยางมาก เนื่องจากจะมีผลตอการเลือกใชวิธีการถอดเสียง (เชน เลือกใชแบบประเพณีนิยม
หรือ แบบหลักการทั่วไป) รวมถึงการแยกคำเมื่อถอดเสียงเปนภาษาอังกฤษ ความหมายหรือที่มา
ของชื่อหมูบาน แบงเปนประเภทได ดังนี้
๑.๑ ชื่อหมูบานที่ไดรับการตั้งชื่อตามพระนามของพระมหากษัตริย พระราชินี พระบรมวงศา
นุวงศ หรือบุคคลสำคัญทางประวัติศาสตร จะใชชื่อภาษาอังกฤษตามพระนามหรือชื่อ
บุคคลที่เปนภาษาอังกฤษ ซึ่งอาจตองใชวิธีการถอดเสียงตามหลักประเพณีนิยม (Traditional
Transcription) หรือหลักการสะกดแบบบาลี-สันสกฤต ตัวอยางเชน 1 0

• อำเภอวชิรบารมี ไดรับการถอดเสียงเปนอักษรโรมัน เปน “Vajira Barami” ซึง่ มา


จากพระนามของพระบาทสมเด็จพระวชิรเกลาเจาอยูหัว เมื่อครั้งดำรงพระ
อิสริยยศ “สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราช
กุมาร”
• อำเภอกัลยาณิวัฒนา ไดรับการถอดเสียงเปนอักษรโรมัน เปน “Galyani
Vadhana” ตามพระนามของสมเด็จพระนางเจาพี่นางเธอ เจาฟากัลยาณิวัฒนา
กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร

1ตัวอยางในคูมือฯ ฉบับนี้เปนการยกตัวอยางจากการถอดบทเรียนการจัดทำชือ่ ภาษาอังกฤษของอำเภอและตำบลของกรมการปกครองที่ผานมา


รวมถึงเพิ่มเติมตัวอยางที่คาดวามีเปนประโยชนตอการจัดทำชือ่ ภาษาอังกฤษของหมูบาน
คูมือการจัดทำชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ
สวนวิเทศสัมพันธ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง 9
๑.๒ ชื่อหมูบานที่มีลักษณะหรือประเภทของคำตามที่ใหคำนิยามไวขางตน จะมีผลตอการเขียน
ชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ ดังนั้น จึงตอง (๑) พิจารณาความหมายหรือที่มาของชื่อหมูบาน
(๒) ใหความสำคัญกับการสืบคนความหมายในภาษาถิ่นหรือความหมายของคำเฉพาะดวย และ
(๓) พิจารณาคำที่เกิดจากกรอนเสียงหรือการเพี้ยนของเสียงแตคำคำนั้นยังสื่อความหมายถึง
ความหมายเดิมดวย ดังนี้
๑.๒.๑ คำที่เปนชื่อเฉพาะของบุคคล พันธุไม ดอกไม สัตว สิ่งของ พิธีกรรม หรือ
อื่น ๆ กรณีเชนนี้จะถอดเสียงเปนภาษาอังกฤษเปนคำเดียวกันทั้งหมด เชน
• ตำบลเที่ยงแท เปนตำบลที่ตั้งชื่อเพื่อเปนเกียรติแก นายโต ขุนเที่ยง
แทประฑิต ซึ่งเปนกำนันตำบลเที่ยงแท จึงถอดเสียงเปน Thiangthae
• ตำบลการะเกด เปนชื่อตำบลที่เปนคำมูล ๓ พยางค ไมไดเกิดจากการ
ประสมกับคำอื่น หมายถึงชื่อดอกไมชนิดหนึ่ง จึงถอดเสียงเปน
Karaket
• ตำบลแสลงพันธ เปนชื่อตำบลที่เปนคำมูล ๓ พยางค หมายถึง พันธุ
ไมชนิดหนึ่ง (ถึงแมวาแตละทองที่จะเขียนแตกตางกัน เชน แสลงพันธ
แสลงพัน ก็ลวนหมายถึงชื่อพันธุไมเดียวกัน) จึงถอดเสียงเปน
Salaengphan
• ตำบลอินทขิล เปนชื่อตำบลที่มาจากคำวาอินทขิล ซึ่งหมายถึง เสา
หลักเมือง เสาเขื่อน หรือเสาประตูเมือง ตามความเชื่อของชาวลานนา
จึงถอดเสียงเปน Inthakhin
• ตำบลแสมสาร เปนชื่อตำบลที่มาจากคำวาแสมสาร ซึ่งหมายถึง ชื่อไม
เนื้อแข็งขนิดหนึ่ง จึงถอดเสียงเปน Samaesan
• ตำบลกามปู เปนชื่อตำบลที่มาจากชื่อตนไมชนิดหนึ่ง จึงถอดเสียงเปน
Kampu
• ตำบลเจะเห เปนชื่อตำบลที่มาจากคำวาเจะเห ซึ่งหมายถึง ภาษาถิ่น
ใตสำเนียงตากใบ หรือภาษาเจะเห จึงถอดเสียงเปน Chehe

คูมือการจัดทำชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ
สวนวิเทศสัมพันธ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง 10
๑.๒.๒ เปนคำมูลหรือคำประสมที่มีความหมายใหม หากชื่อหมูบานเปนคำคำเดียวที่
มีความหมาย และไมไดประสมกับคำอื่น โดยจะมีกี่พยางคก็ได หรือ การนำคำ
มูลตั้งแต ๒ คำขึ้นไปมารวมกัน เกิดเปนคำใหมและมีความหมายใหม กรณี
เชนนี้จะถอดเสียงเปนภาษาอังกฤษเปนคำเดียวกันทั้งหมด ตัวอยางเชน
• ตำบลฉวาง สันนิษฐานวามาจากคำวา “ขวาง” หรือ “ฉวาง” เปนคำมูล
๒ พยางค ไมไดเกิดจากการประสมกับคำอื่น จึงถอดเสียงเปน
Chawang
• อำเภออุมผาง สันนิษฐานวามาจากคำวา อุมผะ ซึ่งเปนภาษากะเหรี่ยง
หมายถึง การเปดกระบอกเอาหนังสือเดินทางแสดงตอเจาหนาที่ เปน
คำมูล ๒ พยางค จึงถอดเสียงเปน Umphang
• ตำบลปากน้ำ เปนคำประสมที่เกิดจากคำวา ปาก + น้ำ เกิดเปนคำใหม
หมายถึง บริเวณที่แควไหลลงมาบรรจบกับแมน้ำใหญ หรือ ชองแมน้ำ
ที่ติดกับทะเล จึงถอดเสียงเปน Paknam (ไมแยกคำเปน Pak Nam
แมวาคำวา ปาก และ น้ำ จะมีความหมายในตัวเองทั้งสองคำ
เนื่องจากเปนคำประสมที่เกิดความหมายใหม)
๑.๒.๓ ชื่อหมูบานที่เกิดจากคำมูลที่มีรูป เสียง และความหมายตางกันเมื่อนำมา
รวมกันแลวเกิดความหมายใหมแตยังคงรักษาความหมายของคำเดิมแต
ละคำไวได โดยคำมูลที่นำมารวมกันอาจเปนคำไทยกับคำไทย หรือคำไทย
กับคำภาษาตางประเทศ หรือคำภาษาตางประเทศกับคำภาษาตางประเทศ
และคำมูลนั้นทำหนาที่เปนคำชนิดตาง ๆ (เชน ทำหนาที่เปนนาม สรรพนาม
กริยา วิเศษณ หรือบุพบท) เพื่อขยายหรือเสริมความหมายของคำนั้น ๆ
ชื่อหนวยการปกครองของไทยสวนใหญจะเปนกรณีนี้ โดยจะใชการถอดเสียง
เปนภาษาอังกฤษแยกคำตามความหมายของแตละคำในภาษาไทย ขอสังเกต
สำหรับกรณีนี้ คือ จะมีคำที่บงบอกถึงลักษณะทางภูมิศาสตร เชน บาง... ทา
... คลอง... โคก... ควน... นา... บึง... หนอง... ทุง... ศรี...เปนตน หรือมี
ลักษณะเปนกลุมคำ ตัวอยางเชน

คูมือการจัดทำชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ
สวนวิเทศสัมพันธ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง 11
• บานทุงแค เปนชื่อหมูบานที่มาจากคำมูลสองคำ คือ ทุง + แค
เมื่อนำมารวมกันแลวมีความหมายใหมที่ยังคงรักษาความหมาย
เดิมไวได หมายถึง ที่ราบโลงที่มีตนแคขึ้นอยู จึงถอดเสียงเปน
ภาษาอังกฤษโดยแยกคำไดวา Thung Kae
• บานโคกมะกะ เปนชื่อหมูบานที่มาจากคำมูลสองคำ คือ โคก +
มะกะ อันเปนภาษาเขมรสุรินทรที่หมายถึงมะกอกปา เมื่อนำมา
รวมกันแลวมีความหมายใหมที่ยังคงรักษาความหมายเดิมไวได
หมายถึง ที่สูงที่มีตนมะกอกปาขึ้นอยู จึงถอดเสียงเปนภาษา
อังกฤษโดยแยกคำไดวา Khok Maka
• ตำบลน้ำรอบ เปนชื่อตำบลที่มาจากคำมูลสองคำ คือ น้ำ + รอบ
เมื่อนำมารวมกันแลวมีความหมายใหมที่ยังคงรักษาความหมาย
เดิมไวได หมายถึง บริเวณที่มีน้ำลอมรอบ จึงถอดเสียงเปน
ภาษาอังกฤษโดยแยกคำไดวา Nam Rop
 ตำบลมะลวน เปนชื่อตำบลที่เกิดจากคำมูลสองคำ คือ มา + ลวง
เมื่อนำมารวมกันแลวมีความหมายใหมที่ยังรักษาความหมายเดิม
ไวได ตอมาเกิดการกรอนเสียงเหลือเพียง “มะลวน” จึงถอดเสียง
เปนภาษาอังกฤษโดยแยกคำไดวา Ma Luan
• ตำบลไทรโสภา เปนชื่อตำบลที่มาจากคำมูลสองคำ คือ ไทร +
โสภา อันมีรากศัพทมาจากภาษาบาลีวา สุภ หรือจากภาษา
สันสกฤตวา ศุภ ที่หมายถึง งาม เมื่อนำมารวมกันแลวมีความหมาย
ใหมที่ยังคงรักษาความหมายเดิมไวได หมายถึง ตนไทรงาม จึง
ถอดเสียงเปนภาษาอังกฤษโดยแยกคำไดวา Sai Sopha
• ตำบลนิคมพัฒนา เปนชื่อตำบลที่มาจากคำมูลสองคำ คือ นิคม +
พัฒนา เมื่อนำมารวมกันแลวมีความหมายใหมที่ยังคงรักษา
ความหมายเดิมไวได หมายถึง ชุมชนที่นิคมอุตสาหกรรมจัดสรร
ที่ดินใหอยูอาศัยและใชประโยชน จึงถอดเสียงเปนภาษาอังกฤษ
โดยแยกคำไดวา Nikhom Phatthana

คูมือการจัดทำชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ
สวนวิเทศสัมพันธ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง 12
• อำเภอพระพุทธบาท เปนชื่ออำเภอที่มาจากคำมูลสองคำ คือ
พระ + พุทธบาท เมื่อนำมารวมกันแลวมีความหมายใหมที่ยังคง
รักษาความหมายเดิมไวได จึงถอดเสียงเปนภาษาอังกฤษโดยแยก
คำไดวา Phra Phutthabat
• ตำบลพระธาตุผาแดง เปนชื่อตำบลที่มาจากคำมูลสี่คำ คือ
พระ + ธาตุ + ผา + แดง เมื่อนำมารวมกันแลวมีความหมายใหม
ที่ยังคงรักษาความหมายเดิมไวได จึงถอดเสียงเปนภาษาอังกฤษ
โดยแยกคำไดวา Phra That Pha Daeng
• ตำบลตะโกตาพิ เปนชื่อตำบลที่มาจากคำมูลสองคำ คือ ตะโก +
ตาพิ อันเปนชื่อบุคคลที่รวบรวมชุมชน เมื่อนำมารวมกันแลวมี
ความหมายใหมที่ยังคงรักษาความหมายเดิมไวได หมายถึง บริเวณ
ที่มีตนตะโกขึ้นที่มีตาพิเปนผูอาศัย หรือผูดูแล จึงถอดเสียงเปน
ภาษาอังกฤษโดยแยกคำไดวา Tako Taphi
๑.๒.๔ ชื่อหมูบานเปนคำประสมที่เกิดจากคำมูลทีม่ ีรูป เสียง ความหมาย
เหมือนกัน เมื่อประสมแลวเกิดความหมายตางกันจากความหมายเดิม
เล็กนอย อาจจะมีความหมายทางเพิ่มขึ้นหรือลดลงก็ได (ลักษณะคลายคำ
ซ้ำ) ไมคอยปรากฏในชื่อหนวยการปกครองของไทย หรือหากมีจะเกิดการ
กรอนเสียงทำใหเสียงของคำมูลสองคำนั้นแตกตางกันออกไป กรณีนี้จะถอด
เสียงเปนภาษาอังกฤษแยกกันตามหมายของแตละคำในภาษาไทย
๑.๒.๕ ชื่อหมูบานเปนคำประสมที่เกิดจากคำมูลทีม่ ีรูปและเสียงตางกัน แตมี
ความหมายเหมือนกัน เมือ่ นำมาประสมกันแลวความหมายไมเปลี่ยนไป
จากเดิม (ลักษณะคลายคำซอน) กรณีเชนนี้จะถอดเสียงเปนภาษาอังกฤษ
แยกกันตามหมายของแตละคำในภาษาไทย ตัวอยางเชน
• ตำบลเสิงสาง เปนชื่อที่มาจากคำวา เสิง + สาง ซึ่งมีความหมาย
ในภาษาถิ่นทั้งสองคำ คือ หมายถึง รุงอรุณ เวลาเชา จึงถอดเสียง
เปนภาษาอังกฤษเปน Soeng Sang
• อำเภอสุขสำราญ เปนชื่อที่มาจากคำวา สุข + สำราญ ซึ่งมี
ความหมายใกลเคียงกัน จึงถอดเสียงเปนภาษาอังกฤษเปน Suk
Samran
คูมือการจัดทำชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ
สวนวิเทศสัมพันธ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง 13
• ตำบลกองกอย สันนิษฐานวามาจากภาษาของชาวลัวะที่ใชเรียก
ชาง มาจากคำวา “กอย กอย” หรือ “กอง กอย กอย” เดิมบานนี้
ไดชื่อวา “บานกองกอย” และเพี้ยนมาเปน กองกอย ในปจจุบัน
จึงถอดเสียงเปน Kong Koi
• ตำบลสันติสุข เปนชื่อที่มาจากคำวา สันติ + สุข ทั้งสองคำมี
ความหมายใกลเคียงกันจึงถอดเสียงเปน Santi Suk
• ตำบลเพิ่มพูนทรัพย เปนชื่อที่มาจากคำวา เพิ่ม + พูน (ชื่อนี้ราช
บัณฑิตใช Phoemphun Sap ซึ่งไมสอดคลองกับหลักการถอด
เสียง ราชบัณฑิตตีความวา เพิ่มพูน คือ คำที่มีความหมายใหม
ตามหลักการถอดเสียงควรเปน Phoem Phun Sap เพราะ
เพิ่มพูน เปนคำประสมที่เกิดจากคำที่มีความหมายใกลเคียงกัน)
๑.๒.๖ ชื่อหมูบานหรือบางสวนของชื่อหมูบานเปนคำสมาส จะพิจารณาจาก
ความหมายและการออกเสียงเปนสำคัญ หากอานแบบคำสมาส (อานแบบ
เรียงพยางคเปนคำเดียว) ในกรณีนี้จะถอดเสียงเปนภาษาอังกฤษเปนคำ
เดียวกันทั้งหมด แตหากไมอานตามหลักคำสมาส จะถอดเสียงเปน
ภาษาอังกฤษแยกคำกัน ตัวอยางเชน
• จังหวัดกาฬสินธุ อานวา กา-ละ-สิน เปนการอานคำสมาสที่อาน
ออกเสียงแบบสมาส ถอดเสียงไดเปน Kalasin
• ตำบลสรรพยา อานวา สับ-พะ-ยา เปนการอานคำสมาสที่อาน
ออกเสียงแบบสมาส ถอดเสียงไดเปน Sapphaya
• ตำบลจันทนิมิต อานวา จัน-ทะ-นิ-มิด เปนการอานคำสมาสที่อาน
ออกเสียงแบบสมาส ถอดเสียงไดเปน Chanthanimit
• ตำบลไชยสถาน อานวา ไช-สะ-ถาน เปนการอานคำสมาสที่ไมได
ออกเสียงแบบสมาส ถอดเสียงไดเปน Chai Sathan (ไมอานวา
ไช-ยะ-สะ-ถาน ตามหลักการคำสมาสทั่วไป การอานแบบนี้จะ
ถอดเสียงไดเปน Chaiyasatan ซึ่งไมสอดคลองกับชื่อตำบล)

คูมือการจัดทำชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ
สวนวิเทศสัมพันธ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง 14
• อำเภอขาณุวรลักษบุรี เปนการประสมคำระหวาง ขาณุ + วรลักษ
บุรี (ขาณุ หมายถึง ตอ และ วรลักษบุรี เปนการเชื่อมคำลักษะ
คลายคำสมาส) จึงถอดเสียงเปน Khanu Woralaksaburi
๑.๒.๗ ชื่อหมูบานหรือบางสวนของชื่อหมูบานเปนคำสนธิ การถอดเสียงคำสนธิ
จะถอดเสียงเปนภาษาอังกฤษเปนคำเดียวกันทั้งหมด ตัวอยางเชน
 บานพรหมานุสรณ เปนชื่อหมูบานที่เปนคำสนธิ จึงถอดเสียงเปน
คำเดียวกันทั้งหมดไดวา Phrommanuson
• ตำบลเทพาลัย เปนชื่อตำบลที่เปนคำสนธิ จึงถอดเสียงเปนคำ
เดียวกันทั้งหมดไดวา Thephalai
• ตำบลมโนรมย เปนชื่อตำบลที่เปนคำสนธิ จึงถอดเสียงเปนคำ
เดียวกันทั้งหมดไดวา Manorom
• จังหวัดสุโขทัย เปนชื่อจังหวัดที่เปนคำสนธิ จึงถอดเสียงเปนคำ
เดียวกันทั้งหมดไดวา Sukhothai
๑.๒.๘ กรณีที่ไมทราบความหมายหรือที่มาของชื่อหมูบาน หรือ ไมสามารถแยก
ความหมายของพยางคหรือคำในชื่อหมูบานได จะถอดเสียงเปน
ภาษาอังกฤษเปนคำเดียวกันทั้งหมด ตัวอยางเชน
• ตำบลชะไว เมื่อไมปรากฏประวัติความเปนมาของชื่อตำบลจึง
ถอดเสียงภาษาอังกฤษติดกันเปน Chawai

คูมือการจัดทำชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ
สวนวิเทศสัมพันธ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง 15
สวนที่ ๒: การอานออกเสียงชื่อหมูบาน

การอานออกเสียงชื่อหมูบานมีความสำคัญเชนเดียวกับที่มาหรือความหมายของชื่อหมูบาน
เนื่องจากจะมีผลตอการถอดเสียงชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ การออกเสียงชื่อหมูบาน มีหลักการ
และขอพิจารณาที่สำคัญดังนี้
๒.๑ การอานอออกเสียงตามภาษาถิ่นหรือความนิยมของคนในพื้นที่ การอานออกเสียงชื่อหมูบาน
ตองยึดตามหลักการนี้เปนสำคัญ ตัวอยางเชน

• ตำบลจันจวา เปนภาษาทองถิ่นลานนา มีความหมายวา แมน้ำจันไหลมาแลวซึม


แทรกหรือกระจายหายไปในบริเวณดังกลาว จึงออกเสียงวา “จัน-จฺวา” ถอดเสียง
เปน Chan Chwa (หากเขียนคำอานเปน “จัน-จะ-วา” จะถอดเสียงเปน Chan
Chawa ซึ่งเปนการถอดเสียงที่ไมถูกตอง)
• ตำบลชากบก เปนชื่อที่มาจากภาษาถิ่นทางภาคตะวันออก มาจากคำวา “ชาก” +
“กะบก” หมายถึง พื้นที่ทมี่ ีตนกะบกอยูเปนจำนวนมาก เมื่อนำมารวมกันและเกิด
การกรอนเสียงกลายเปนคำเดียว คือ “ชากบก” อานวา “ชาก-กะ-บก” จึงถอด
เสียงเปนภาษาอังกฤษคำเดียวกันเปน Chakkabok เชนเดียวกับตำบลชากพง
(Chakkaphong) และตำบลชากโดน (Chakkadon)
• ตำบลเกตรี เปนชื่อที่มาจากรากศัพทภาษามลายู คำวา “เกต” มาจากคำวา“บู
เก็ต” แปลวา “ภูเขา” คำวา“ตรี” หรือ “ตารี” แปลวา “ผูหญิงมีบรรดาศักดิ์”
รวมกันเปน “บูเก็ตตรี” หมายถึง “เขาพระนาง” และเหลือเพียง “เกตรี” อานวา
“เกด - ตฺรี” ในปจจุบัน ถอดเสียงเปน Ket Tri
• ตำบลนาพละ เปนชื่อที่มาจากคำวา “นา” และ “พระ” แตเกิดการเพี้ยนเสียง มา
เปน “นาพละ” อานวา “นา-พฺละ” จึงถอดเสียงเปน Na Phla (หากไมใส
เครื่องหมายพินทุ หรือจุดใตพยัญชนะที่เปนคำควบกล้ำ อาจจะอานออกเสียงเปน
“นา-พะ-ละ” และถอดเสียงภาษาอังกฤษเปน Na Phala ซึ่งไมสอดคลองกับชื่อ
หมูบาน)

คูมือการจัดทำชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ
สวนวิเทศสัมพันธ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง 16
• อำเภอหนองบัวละเหว อานวา หนอง-บัว-ละ-เหฺว เชนเดียวกับคำควบกล้ำ (หาก
ไมใสเครื่องหมายพินทุ หรือจุดใตพยัญชนะที่เปนอักษรนำ อาจจะอานออกเสียง
เปน “หนอง-บัว-ละ-เหว และถอดเสียงภาษาอังกฤษเปน “Nong Bua Raheo”
ซึ่งไมสอดคลองกับชื่อหมูบาน)
• ตำบลหนองโสน หากเขียนคำอานวา หนอง-สะ-โหฺน ถอดเสียงไดเปน Nong
Sano (หากเขียนคำอานเปน หนอง-สะ-โหน และไมใสเครื่องหมายพินทุ หรือ จุด
ใตอักษรนำ จะถอดเสียงเปน Nong Sahon ซึ่งเปนการถอดเสียงที่ไมสอดคลองกับ
คำอานของชื่อหมูบาน)
• ตำบลเมืองแหง อานวา เมือง - แหฺง ถอดเสียงไดเปน Mueang Haeng (หาก
เขียนคำอานเปน เมือง - แหง โปรแกรมอาจถอดเสียงเปน Mueang Ngae)

๒.๒ การอานออกเสียงชื่อหมูบานโดยใชโปรแกรมถอดเสียง

การใชโปรแกรมถอดเสียงคำอานชื่อหมูบานในโปรแกรมถอดเสียงสามารถทำไดโดย
ปอนคำอานออกเสียงชื่อหมูบานลงในโปรแกรมคลายกับการเขียนคำอานตามหลักภาษาไทย แต
แตกตางกันตรงที่การเขียนคำอานภาษาไทยโดยทั่วไปจะมีเครื่องหมาย “-” คั่นระหวางพยางค
สวนคำอานในโปรแกรม Romanization จะใชการวรรคระหวางคำในชื่อหมูบานนั้น โดยพิจารณา
ตามความหมายของคำและลักษณะของคำในชื่อหมูบานนั้น ๆ ตัวอยางเชน
• หมูบานบานคลองกลวย
 คำอานทั่วไป: “บาน–คลอง-กลวย”
 คำอานที่เขียนในโปรแกรม: “บาน คลอง กลวย”
• อำเภอหนองบัวละเหว
 คำอานทั่วไป: “หนอง-บัว-ละ-เหว”
 คำอานที่เขียนในโปรแกรม: “หนอง บัว ละเหว”
• ตำบลไชยสถาน
 คำอานทั่วไป: “ไช-ยะ-สะ-ถาน”
 คำอานที่เขียนในโปรแกรม: “ไช สะถาน”

คูมือการจัดทำชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ
สวนวิเทศสัมพันธ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง 17
• ตำบลบานเขวา
 คำอานทั่วไป: “บาน-เขฺวา”
 คำอานที่เขียนในโปรแกรม: “บาน เขวา” โปรแกรมอาจถอดเสียงเปน Ban
Khwao หรือ Ban Khewa ในกรณีนี้หากชื่อหมูบานภาษาอังกฤษไมถอด
คลองกับคำอานภาษาไทย ใหแกไขใหสอดคลองกับคำอานภาษาไทยที่ถูกตอง
• ตำบลเมืองแหง
 คำอานปกติ: เมือง-แหฺง
 คำอานที่เขียนในโปรแกรม: “เมือง แหง” โปรแกรมอาจถอดเสียงเปน
Mueang Haeng หรือ Mueang Ngae หากชื่อหมูบานภาษาอังกฤษไมสอด
คลองกับคำอานภาษาไทย ใหแกใหสอดคลองกับคำอานภาษาไทยที่ถูกตอง

คูมือการจัดทำชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ
สวนวิเทศสัมพันธ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง 18
๕. ขอสังเกตเพิ่มเติม
๑. ชื่อหมูบานภาษาไทย ใหยึดตามที่มีการประกาศในราชกิจจานุเบกษา ประกาศจังหวัดเรื่อง
การจัดตั้งหมูบาน หรือเอกสารที่มีการใชอยางเปนทางการ หากมียังไมมีขอยุติในการใชชื่อ
หมูบาน หรือ อยูระหวางการขอเปลี่ยนแปลงชื่อหมูบานใหใสในชองหมายเหตุ
๒. ชื่อหมูบานบางหมูบาน จะมีคำวา “บาน” ขึ้นตน เชน หมูบานบานคลองกลวย ใหเขียนชื่อคำ
อานเปน “บาน-คลอง-กฺลวย” (ไมใช “คลอง-กฺลวย”)
๓. ชื่อหมูบานใดที่มีการตั้งชื่อตามพระนามของพระมหากษัตริย พระราชินี พระบรมวงศานุวงศ
บุคคลสำคัญทางประวัติศาสตร หรือเปนชื่อที่มีลักษณะพิเศษอื่น ๆ ที่จำเปนตองหลักการ
พิเศษในการถอดเสียง ขอใหพิจารณาและเพิ่มเติมในชองหมายเหตุ
๔. คำควบกล้ำหรืออักษรนำบางคำอาจทำใหโปรแกรมถอดเสียงผิดไปจากการออกเสียงในทองที่
เชน เมืองแหง เกตรี บานเขวา นาพละ จึงขอใหเขียนคำอานใหถูกตองโดยใสเครื่องหมายพินทุ
หรือจุดใตอักษรควบกล้ำหรือ อักษรนำนั้น แลวจึงเพิ่มเติมในชองหมายเหตุ เพื่อใหกอง
วิชาการและแผนงานดำเนินการตอไป
๕. หากในตำบลนั้นมีชื่อหมูบานที่มีการออกเสียงที่ใกลเคียงกัน อาจทำใหการถอดเสียงเปน
ภาษาอังกฤษเหมือนกัน เชน อำเภอบางซายและอำเภอบางไทร จะเขียนเปนภาษาอังกฤษ
วา Bang Sai เหมือนกัน ขอใหสังเกตและเพิ่มเติมในชองหมายเหตุ
๖. เมื่อถอดเสียงภาษาอังกฤษออกมาแลวปรากฏสระซอนกันหรือคำที่จะทำใหอานกำกวม เชน
ตำบลละอาย ถอดเสียงเปน La-ai (อาจถอดเสียงไดเปน Laai ซึ่งทำใหคำอานไมถูกตอง)
ขอใหสังเกตและเพิ่มเติมในชองหมายเหตุ
๗. ใหความสำคัญกับความหมายและที่มาของคำนั้น ๆ โดยสอบถามจากกำนันผูใหญบาน ปราชญ
ชาวบาน หรือผูสูงอายุที่ทราบประวัติของหมูบาน รวมถึงใหความสำคัญของการกรอนเสียง
และการเพี้ยนของเสียงดวย และขอใหบันทึกไวในชองความหมายหรือที่มาของชื่อนั้นพอ
สังเขป หากไมทราบความหมายหรือที่มาของชื่อนั้น ขอใหถอดเสียงเปนคำเดียวกันทั้งหมด
และเพิ่มเติมในชองหมายเหตุดวย

คูมือการจัดทำชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ
สวนวิเทศสัมพันธ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง 19
๖. แผนภูมิแสดงแนวทางการจัดทำชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ

(1) ชื่อเฉพาะ ถอดเสียงเปนภาษาอังกฤษเปนคำเดียวกัน

(2) คำมูล ตัวอยาง


• แพงพวย = Phaengphuai (1)
(3) คำประสมที่เกิดจากคำมูล
• กะดุนง = Kadunong (1)
ตั้งแตสองพยางคและทำใหเกิด
• กระบือ = Krabue (2)
ความหมายใหม
• ลิบง = Libong (2)
(4) คำสมาสที่อานแบบสมาส • ปากน้ำ = Paknam (3)
หรือ อานเรียงพยางค • สหัสขันธ = Sahatsakhan (4)
(5) คำสนธิ • เทพราช = Theppharat (4)
• กมลาไสย = Kamalasai (4)
(6) ไมทราบความหมายหรือที่มา • ลิ่นถิ่น = Linthin (5)

ถอดเสียงเปนภาษาอังกฤษแยกตามความหมายของคำ
(7) คำประสมที่เกิดจากคำมูล
ตั้งแตสองคำและคำมูลแตละคำ ตัวอยาง
นั้นมีความหมายในตัวเอง • ประสาทสิทธิ์ = Prasat Sit (6)
• เขาชะงุม = Khao Cha-ngum (6)
(8) คำสมาสที่ไมอานออกเสียง • คลองตาคด = Khlong Ta Khot (6)
แบบคำสมาส หรือไมอานแบบ • ไชยสถาน = Chai Satan (7)
เชื่อมคำ หรือเมื่อแยกคำแลวแต • มหาราช = Maha Rat (7)
ละคำมีความหมายในตัวเอง
• ปตูมุดี = Pitu Mudi (2) + (2)

คูมือการจัดทำชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ
สวนวิเทศสัมพันธ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง 20
๗. ตารางสรุปตัวอยางการจัดทำชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ
การปอน
คำหมาย/ที่มาที่สื่อถึง ชื่อ
ตัวอยางชื่อ คำอาน ขอมูลใน หมายเหตุ
ชื่อ ภาษาอังกฤษ
โปรแกรม
ตำบลเขื่อน ไดรับพระราชทานชื่อ เขื่อน-อุ-บน- เขื่อน อุบล Khuean ถอดเสียง
อุบลรัตน ตามพระนาม รัด รัตน Ubolratana ตามหลัก
ทูลกระหมอมหญิงอุบล ประเพณี
รัตนราชกัญญาฯ นิยม
อำเภอวิภาวดี ไดรับพระราชทานชื่อ วิ-พา-วะ-ดี วิภาวดี Vibhavadi ถอดเสียง
ตามพระนามพระองค ตามหลัก
เจาหญิงวิภาวดีรังสิต ประเพณี
นิยม
ตำบลเสวียด มาจากชื่อพันธุไมชนิด สะ-เหวียด สะเหวียด Sawiat มาจากชื่อ
หนึ่ง พันธไม
เขียนเปน
คำเดียว
หมูบานปะตง หมูบานที่มีไผตง เสียง ปะ-ตง ปะตง Patong ชื่อพันธุไม
กรอนเปน ปะตง เขียนเปน
คำเดียว
หมูบานเสอ มาจากชื่อดงไมขนาด เสอ-เพลอ เสอเพลอ Soephloe ชื่อดงไม
เพลอ ใหญ หรือมีที่มาจาก หรือคำ
เรื่องเลาในทองถิ่นวา ประสม
บริเวณนี้เคยมีเสือที่ถูก เขียนเปน
พรานปราบ ตึงเรียก คำเดียว
กันวา “ดงเสือเผลอ”
แลวจึงกรอนเสียงเปน
“เสอเพลอ”

คูมือการจัดทำชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ
สวนวิเทศสัมพันธ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง 21
การปอน
คำหมาย/ที่มาที่สื่อถึง ชื่อ
ตัวอยางชื่อ คำอาน ขอมูลใน หมายเหตุ
ชื่อ ภาษาอังกฤษ
โปรแกรม
หมูบานสบวินมาจากคำมูลสองคำ สบ-วิน สบวิน Sopwin เปนคำ
ประสมกันแลวมี ประสม
ความหมายใหมวา เขียนเปน
บริเวณที่ลำน้ำแมวินมา คำเดียว
บรรจบกับลำน้ำแมวาง
ตำบลปากน้ำ มาจากคำมูลสองคำ ปาก-น้ำ ปากน้ำ Paknam เปนคำ
ประสมกันแลวมี ประสม
ความหมายใหมวา เขียนเปน
บริเวณที่แมน้ำสายเล็ก คำเดียว
ไหลไปบรรจบกับแมน้ำ
สายใหญ หรือบริเวณที่
แมน้ำไหลลงสูทะเล
ตำบลเทพราช มาจากคำวา เทพ + เทบ-พะ-ราด เทพราช Theppharat คำสมาส
ราช เปนคำสมาสที่อาน เขียนเปน
แบบสมาส คำเดียว
อำเภอกมลาไสย มาจากคำวา กมล + กะ-มะ-ลา-ไส กมลาไสย Kamalasai คำสนธิ
อาศัย เปนคำสนธิ เขียนเปน
หมายถึงที่อยูของบัว คำเดียว
ตำบลชะไว ไมทราบที่มาหรือ ชะ-ไว ชะไว Chawai เขียนเปน
ความหมายที่แนชัด คำเดียว
ตำบลตะนาวศรี มาจากชื่อเทือกเขา ตะ-นาว-สี ตะนาว สี Tanao Si เขียนแยก
ตะนาวศรีเปนชื่อเฉพาะ คำ
จากภาษาตางประเทศ
อำเภอดำเนิน มาจากชื่อคลองที่ ดำ-เนิน-สะ- ดำเนิน Damnoen เขียนแยก
สะดวก หมายถึงการเดินทางที่ ดวก สะดวก Saduak คำ
สะดวกสบาย
ประกอบดวยคำมูลสอง
คำคือ
ดำเนิน + สะดวก

คูมือการจัดทำชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ
สวนวิเทศสัมพันธ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง 22
การปอน
คำหมาย/ที่มาที่สื่อถึง ชื่อ
ตัวอยางชื่อ คำอาน ขอมูลใน หมายเหตุ
ชื่อ ภาษาอังกฤษ
โปรแกรม
หมูบานบานโคก มาจากคำมูลสองคำที่ บาน-โคก บาน โคก Ban Khok เขียนแยก
รวมกันแลวเกิด คำ
ความหมายคลายเดิม
หมายถึง หมูบานบนที่
สูง

ตำบลมะลวน มาจากคำมูลสองคำที่ มะ-ลวน มะ ลวน Ma Luan เขียนแยก


รวมกันแลวเกิด คำ
ความหมายคลายเดิม
เปนคำวา “มาลวง”
ตอมากรอนเสียงเหลือ
เพียง “มะลวน”
ตำบลตะปาน มาจากคำมูลสองคำ คือ ตะ-ปาน ตะ ปาน Ta Pan เขียนแยก
ชื่อผูตั้งถิ่นฐานคนแรก คำ
ชื่อ “ปาน” เปนชาย
จึงเรียกกันวา “ตา
ปาน”
ตำบลนิคม มาจากคำวา นิคม + นิ-คม-พัด- นิคม พัฒนา Nikhom เขียนแยก
พัฒนา พัฒนา มีความหมาย ทะ-นา Phatthana คำ
คลายเดิมวาเปนชุมชน
ตั้งอยูในเขตและพัฒนา
โดยนิคมสรางตนเอง
ตำบลบางกะไชย มาจากคำมูลสองคำ บาง-กะ-ไช บาง กะไช Bang เขียนแยก
รวมกัน คือ บาง + Kachai คำ
กุยชายที่เปนภาษาจีน
หมายถึงผักชนิดหนึ่ง
เนื่องจากเปนบริเวณที่
ชาวจีนมาตั้งถิ่นฐาน

คูมือการจัดทำชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ
สวนวิเทศสัมพันธ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง 23
การปอน
คำหมาย/ที่มาที่สื่อถึง ชื่อ
ตัวอยางชื่อ คำอาน ขอมูลใน หมายเหตุ
ชื่อ ภาษาอังกฤษ
โปรแกรม
ตำบลปากน้ำ มาจากลักษณะตาม ปาก-น้ำ- ปากน้ำ Paknam คำแรกเปน
แหลมสิงห ภูมิศาสตร หมายถึง แหลม-สิง แหลม สิง Laem Sing คำประสม
บริเวณเปนปากแมน้ำ เกิด
อันเปนสวนที่แหลมของ ความหมาย
เขาแหลมสิงหและมี ใหม เขียน
ศิลากอนหนึ่งรูปราง เปนคำ
คลายสิงหหมอบอยูจึงมี เดียว อีก
ชื่อเรียกรวมกัน สองคำ
วา “ปากน้ำแหลม เขียน
สิงห” เกิดจากการนำ แยกกัน
คำมารวมกันคือ
ปากน้ำ + แหลม +
สิงห
ตำบลสันติสุข มาจากคำวา สันติ + สุข ถอดเสียง
ที่มีความหมายใกลเคียง แยก
กัน
เกาะเปริด เปนชื่อเกาะที่สมัยกอน เกาะ-เปฺริด เกาะ เปริด Ko Proet โปรแกรม
ชาวจีนแผนดินใหญ ถอดเสียง
ลองเรือสำเภามา เปน Ko Pe
คาขายไดอาศัยพักพิง Rit ไม
และตั้งบานเรือนใน สอดคลอง
บริเวณที่เปนเกาะเปด กับคำอาน
ตอมาออกเสียงเปน แกไขเปน
“เกาะเปริด” โดยคำวา Ko Proet
“เกาะเปด” เปนภาษา
เขมร แปลวา กวาง

คูมือการจัดทำชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ
สวนวิเทศสัมพันธ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง 24
ภาคผนวก ก
การถอดเสียงตามการสะกดแบบบาลี-สันสกฤต หรือ แบบประเพณีนิยม
การถอดเสียงภาษาไทยเปนอักษรโรมันตามการสะกดแบบบาลีสันสกฤต (Transliteration)
ตารางเทียบเสียงพยัญชนะ
พยัญชนะไทย อักษรโรมัน พยัญชนะไทย อักษรโรมัน
ก K น N
ข Kh บ B
ค G ป P
ฆ Gh ผ Ph
ง Ng ฝ F
จ Ch พ Ph
ฉ Chh ฟ F
ช X ภ Bh
ซ S ม M
ฌ - ย Y
ญ N หรื อ Ng ร R
ฎ D ล L
ฏ T ว V หรื อ W
ฐ Th ศ
ถ D ษ
ฒ Dh ส S
ณ N ห H
ด D ฬ
ต T ฮ H
ถ Th ฤ Ri, Rî
ท Th ฦ Li, Lî
ธ Th

คูมือการจัดทำชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ
สวนวิเทศสัมพันธ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง 25
ตารางเทียบเสียงสระ
สระไทย อักษรโรมัน สระไทย อักษรโรมัน
อะ a อิว iu
อา â อุย uy
อิ i เอว eo
อี î แอว aeo
อุ u เออ oe
อู û เอย oey
เอ e ออย oy
โอ ô โอย ôy
อึ ü อัว ua
อือ ûe อวย uay
แอ ae เอียะ ia
ใอ ไอ âi เอีย îa
อาย ai หรือ ay เอือ iia
เอา au หรือ oa เอือย iiay
อาว âo เอียว iâu

ที่มา: หลักการเทียบอักษรไทยกับอักษรโรมันและหลักการเทียบสระตามระบบของพระบาทสมเด็จ
พระมงกุฎเกลา ฯ (จมื่นอมรดรุณารักษ, 2511)

คูมือการจัดทำชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ
สวนวิเทศสัมพันธ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง 26
ภาคผนวก ข
การถอดอักษรไทยเปนอักษรโรมันแบบถายเสียงตามแนวทางของราชบัณฑิตยสถาน
หลักเกณฑการถอดอักษรไทยเปนอักษรโรมันนี้ เปนการถอดโดยวิธีถายเสียง
(Transcription) เพื่อใหอานคำภาษาไทยที่เขียนดวยอักษรโรมันใหไดเสียงใกลเคียง โดยไม
คำนึงถึงการสะกดการันตและวรรณยุกต เชน จันทร = chan, พระ = phra, แกว = kaeo

ตารางเทียบเสียงพยัญชนะ

อักษรโรมัน
พยัญชนะไทย ตัวอยาง
ตัวตน ตัวสะกด
ก K k กา = ka, นก = nok
ขฃคฅฆ Kh k ขอ = kho, สุข = suk
โค = kho, ยุค = yuk
ฆอง = Khong, เมฆ = Mek
ง ng ng งาม = ngam, สงฆ = song
จฉชฌ ch t จีน = chin, อำนาจ = amnat
ฉิ่ง = ching
ชิน = chin, คช = khot
เฌอ = choe
ซ ทร (เสียง ซ) s t ซา = sa, กาซ = kat
ศษส ทราย = sai
ศาล = san, ทศ = thot
รักษา = raksa, กฤษณ = krit
สี = si, รส = rot
ญ y n ญาติ = yat, ชาญ = chan
ฎ ฑ (เสียง ด) ด d t ฎีกา = dika, กฎ = kot
บัณฑิต = bandit, ษัฑ = sat
ดาย = dai, เปด = pet
ฏต t t ปฏิมา = patima, ปรากฏ = prakot
ตา = ta, จิต = chit
คูมือการจัดทำชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ
สวนวิเทศสัมพันธ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง 27
อักษรโรมัน
พยัญชนะไทย ตัวอยาง
ตัวตน ตัวสะกด
ฐฑฒถทธ th t ฐาน = than, รัฐ = rat
มณฑล = monthon
เฒา = thao, วัฒน = wat
ถาน = than, นาถ = nat
ทอง = thong, บท = bot
ธง = thong, อาวุธ = awut
ณน n n ประณีต = pranit, ปราณ = pran
นอย = noi, จน = chon
บ b p ใบ = bai, กาบ = kap
ป p p ไป = pai, บาป = bap
ผพภ ph p ผา = pha
พงศ = phong, ลัพธ = lap
สำเภา = samphao, ลาภ = lap
ฝฟ f p ฝง = fang
ฟา = fa, เสิรฟ = soep
ม m m มาม = mam
ย y - ยาย = yai
ร r n รอน = ron, พร = phon
ลฬ l n ลาน = lan, ศาล = san
กีฬา = kila, กาฬ = kan
ว w - วาย = wai
หฮ h - หา = ha
ฮา = ha

คูมือการจัดทำชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ
สวนวิเทศสัมพันธ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง 28
ตารางเทียบเสียงสระ
สระไทย อักษรโรมัน ตัวอยาง
อะ, -ั (อะ ลดรูป) a ปะ = pa, วัน = wan, สรรพ = sap
รร (มีตัวสะกด), อา มา = ma
รร (ไมมีตัวสะกด) an สรรหา = sanha, สวรรค = sawan
อำ am รำ = ram
อิ, อี i มี = mi, มีด = mit
อึ, อื ue นึก = nuek, หรือ = rue
อุ, อู u ลุ = lu, หรู = ru
เอะ, เ-็ (เอะ ลดรูป), เอ e เละ = le, เล็ง =leng, เลน = len
แอะ, แอ ae และ = lae, แสง = saeng
โอะ, - (โอะ ลดรูป), o โละ = lo, ลม = lom, โล = lo
โอ, เอาะ, ออ เลาะ = lo, ลอม = lom
เออะ, เ-ิ (เออะ ลดรูป) oe เลอะ = loe, เหลิง = loeng,
เออ เธอ = thoe
เอียะ, เอีย ia เผียะ = phia, เลียน = lian
เอือะ, เอือ uea -*, เลือก = lueak
อัวะ, อัว, ua ผัวะ = phua, มัว = mua,
-ว- (อัว ลดรูป) รวม = ruam
ใอ, ไอ, อัย, ไอย, อาย ai ใย = yai, ไล = lai, วัย = wai,
ไทย = thai, สาย = sai
เอา, อาว ao เมา = mao, นาว = nao
อุย ui ลุย = lui
โอย, ออย oi โรย = roi, ลอย = loi
เอย oei เลย = loei
เอือย ueai เลื้อย = lueai
อวย uai มวย = muai
อิว io ลิ่ว = lio

คูมือการจัดทำชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ
สวนวิเทศสัมพันธ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง 29
สระไทย อักษรโรมัน ตัวอยาง
เอ็ว, เอว eo เร็ว = reo, เลว = leo
แอ็ว, แอว aeo แผล็ว = phlaeo, แมว = maeo
เอียว iao เลี้ยว = liao
ฤ (เสียง รึ),  rue ฤษี, ษี = ruesi
ฤ (เสียง ริ) ri ฤทธิ์ = rit
ฤ (เสียง เรอ) roe ฤกษ = roek
ฦ,  lue -*,
สาย = luesai

หมายเหตุ : -* = ไมมีคำที่ประสมดวยสระเสียงนี้ใชในภาษาไทย
ที่มา: สำนักงานราชบัณฑิตยสภา [http://www.royin.go.th]

คูมือการจัดทำชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ
สวนวิเทศสัมพันธ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง 30
ภาคผนวก ค
ตัวอยางแผนภูมิการจัดทำชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ

ชื่อหมูบาน

ตรวจสอบจำนวนพยางค

มากกวา 1 พยางค พยางคเดียว

ตรวจสอบทีม่ าของชือ่ ถายทอดเสียงตามหลักราชบัณฑิต

พระนาม/นามพระราชทาน คำมูล คำประสม คำสมาส คำสนธิ

ถายทอดเสียงตามหลักประเพณีนิยม ถายทอดเสียงตามหลักราชบัณฑิต แยกคำเปนสวน ๆ

ถายทอดเสียงตามหลักราชบัณฑิต

คูมือการจัดทำชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ
สวนวิเทศสัมพันธ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง 31
ตัวอยางที่ 1

ชื่อหมูบาน

แก

ตรวจสอบจำนวนพยางค

มากกวา 1 พยางค พยางคเดียว

ตรวจสอบทีม่ าของชือ่ ถายทอดเสียงตามหลักราชบัณฑิต

Kae

พระนาม/นามพระราชทาน คำมูล คำประสม คำสมาส คำสนธิ

ถายทอดเสียงตามหลักประเพณีนิยม ถายทอดเสียงตามหลักราชบัณฑิต แยกคำเปนสวน ๆ

ถายทอดเสียงตามหลักราชบัณฑิต

คูมือการจัดทำชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ
สวนวิเทศสัมพันธ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง 32
ตัวอยางที่ 2

ชื่อหมูบาน

โสน

ตรวจสอบจำนวนพยางค

มากกวา 1 พยางค พยางคเดียว

ตรวจสอบทีม่ าของชือ่ ถายทอดเสียงตามหลักราชบัณฑิต

พระนาม/นามพระราชทาน คำมูล (ชื่อพันธุไม) คำประสม คำสมาส คำสนธิ

ถายทอดเสียงตามหลักประเพณีนิยม ถายทอดเสียงตามหลักราชบัณฑิต แยกคำเปนสวน ๆ

Sano ถายทอดเสียงตามหลักราชบัณฑิต

คูมือการจัดทำชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ
สวนวิเทศสัมพันธ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง 33
ตัวอยางที่ 3

ชื่อหมูบาน

หนองโสน

ตรวจสอบจำนวนพยางค

มากกวา 1 พยางค พยางคเดียว

ตรวจสอบทีม่ าของชือ่ ถายทอดเสียงตามหลักราชบัณฑิต

พระนาม/นามพระราชทาน คำมูล คำประสม คำสมาส คำสนธิ

ถายทอดเสียงตามหลักประเพณีนิยม ถายทอดเสียงตามหลักราชบัณฑิต แยกคำเปนสวน ๆ


หนอง โสน

ถายทอดเสียงตามหลักราชบัณฑิต

Nong Sano

คูมือการจัดทำชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ
สวนวิเทศสัมพันธ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง 34
ตัวอยางที่ 4

ชื่อหมูบาน

เทพราช

ตรวจสอบจำนวนพยางค

มากกวา 1 พยางค พยางคเดียว

ตรวจสอบทีม่ าของชือ่ ถายทอดเสียงตามหลักราชบัณฑิต

พระนาม/นามพระราชทาน คำมูล คำประสม คำสมาส คำสนธิ

ถายทอดเสียงตามหลักประเพณีนิยม ถายทอดเสียงตามหลักราชบัณฑิต แยกคำเปนสวน ๆ


เทพราช

ถายทอดเสียงตามหลักราชบัณฑิต

Theppharat

คูมือการจัดทำชื่อหมูบานเปนภาษาอังกฤษ
สวนวิเทศสัมพันธ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง 35

You might also like