You are on page 1of 14

เรื่อง ปัญหาการใช้ ภาษาไทยของวัยรุ่นไทย

……………………………………………………………………………………………….......

ภาษาเป็ นสิ่ งแสดงภูมิปัญญาอันยอดของมนุษย์ ที่สามารถพัฒนาเสี ยงซึ่งเปล่งออกได้ดว้ ย


อาการตามธรรมชาติ ให้กลายเป็ นเครื่ องมือใช้สื่อความคิด ความรู ้สึก ความต้องการของตนให้
ผูอ้ ื่นรู ้และสื่ อสารกันได้จนเกิดเป็ น ภาษา มนุษย์ใช้ภาษาเป็ นเครื่ องมือในการติดต่อ สื่ อสารและ
ทำความเข้าใจกันในหมู่ชนที่ใช้ภาษาเดียวกันได้ ภาษาทำให้มนุษย์สามารถพัฒนาชีวิต ความเป็ น
อยูค่ วามรู ้ความสามารถในการหาเลี้ยงชีพ และความสามารถอื่น ๆ อีกมากมาย มนุษย์สามารถ
พัฒนาความรู ้ ความคิด จิตใจ คุณธรรม ความเชื่อ ศิลปะ ฯลฯ จนแตกต่างจากสัตว์ทุกชนิดและ
เป็ นผูค้ รองโลกได้กด็ ว้ ยภาษาของมนุษย์นี่เอง ภาษาจึงเป็ นส่ วนสำคัญ ของความเป็ นมนุษย์ ไม่
ว่าจะเป็ นกลุ่มชนที่เจริ ญก้าวหน้าจนเป็ นมหาอำนาจหรื อกลุ่มชนที่ลา้ หลังที่สุด ต่างก็มีภาษาใช้
สื่ อสารกันในกลุ่มของตน และทุกภาษาจะมีความสมบรู ณ์เพียงพอที่จะใช้สื่อสารกันได้ในกลุ่ม
เมื่อมนุษย์ได้ติดต่อกับคนต่างกลุ่ม ติดต่อกับคนที่ใช้ภาษาต่างไปจากตน การหยิบยืมทางภาษาก็
อาจเกิดขึ้นได้ในทุกกลุ่มชน การยืมจะมีมากหรื อน้อยขึ้นอยูก่ บั ความจำเป็ นและความต้องการ
ของคนในสังคมนั้นๆ มนุษย์เราใช้ภาษาควบคู่ไปกับการดำรงชีวิต ภาษาจึงอาจรับผลจากความ
เจริ ญหรื อความเสื่ อมของมนุษย์และอาจมีผลต่อ ความเจริ ญหรื อความเสื่ อมของสังคมมนุษย์ดว้ ย
ภาษาไทยเป็ นภาษาที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ มีรากฐานมาจากอ
อสโตรไทย ซึ่งมีความคล้ายคลึงกับภาษาจีน มีหลายคำที่ขอยืมมาจากภาษาจีน พ่อขุนรามคำเเหง
ได้ประดิษฐ์อกั ษรไทยขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 1826 (ค.ศ.1283) มี พยัญชนะ 44 ตัว (21 เสี ยง), สระ 21 รู ป
(32 เสี ยง), วรรณยุกต์ 5 เสี ยง คือ เสี ยง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา ภาษาไทยดัดแปลงลงมาจากบาลี
และ สันสกฤต ภาษาไทยเป็ นทั้งวัฒนธรรม เอกลักษณ์ และความภูมิใจของคนไทย
แต่ปัจจุบนั คนไทยจำนวนไม่นอ้ ยที่ใช้ภาษาไทยได้ไม่ดีพอ ไม่รู้วา่ พยัญชนะ สระ และ
วรรณยุกต์ในภาษาไทยมีกี่รูป กี่เสี ยง และยังมีคนไทยอีกจำนวนมากที่ยงั พูดภาษาไทยผิดบ้าง
เขียนผิดบ้าง หรื อบ้างก็จบั ใจความผิด ฟังผิด อ่านผิด บ้างก็พดู ภาษาไทยคำภาษาอังกฤษคำ จน
เกิดปัญหาการสื่ อสารและเข้าใจความหมายของภาษาในทางที่ผดิ ซึ่งสิ่ งเหล่านี้เป็ นต้นเหตุที่จะ
ทำให้เสน่ห์ของภาษาไทยค่อย ๆ เลือนหายไป ภาษาเป็ นวัฒนธรรมที่สำคัญของชาติ ภาษาเป็ น
สื่ อใช้ติดต่อกันและทำให้วฒั นธรรมอื่นๆเจริ ญขึ้น แต่ละภาษามีระเบียบของตนแล้วแต่จะตกลง
กันในหมู่ชนชาติน้ นั ภาษาจึงเป็ นศูนย์กลางยืดคนทั้งชาติ ดังข้อความ ตอนหนึ่งในพระราช
นิพนธ์ในพระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั เรื่ อง "ความเป็ นชาติโดยแท้จริ ง" ว่า ภาษา
เป็ นเครื่ องผูกพันมนุษย์ต่อมนุษย์แน่นเฟ้ นนกว่าสิ่ งอื่น และไม่มีสิ่งใด ที่จะทำให้คนรู ้สึกเป็ น
พวกเดียวกันหรื อแน่นอนยิง่ ไปกว่าภาษาเดียวกัน รัฐบาลทั้งปวงย่อมรู ้สึกในข้อนี้ อยูด่ ี เพราะ
ฉะนั้น รัฐบาลใดที่ตอ้ งปกครองคนต่างชาติต่างภาษา จึงต้องพยายามตั้งโรงเรี ยนและออกบัญญัติ
บังคับ ให้ชนต่างภาษาเรี ยนภาษาของผูป้ กครอง แต่ความคิดเห็นเช่นนี้ จะสำเร็ จตามปรารถนา
ของรัฐบาลเสมอก็หามิได้ แต่ถา้ ยังจัดการแปลง ภาษาไม่สำเร็ จอยูต่ ราบใด ก็แปลว่า ผูพ้ ดู ภาษา
กับผูป้ กครองนั้นยังไม่เชื่ออยูต่ ราบนั้นและยังจะเรี ยกว่าเป็ นชาติเดียวกันกับมหาชนพื้นเมืองไม่
ได้ อยูต่ ราบนั้น ภาษาเป็ นสิ่ งซึ่งฝังอยูใ่ นใจมนุษย์แน่นแฟ้ นยิง่ กว่าสิ่ งอื่ ดังนั้น ภาษาก็
เปรี ยบได้กบั รั้วของชาติ ถ้าชนชาติใดรักษาภาษาของตนไว้ได้ดี ให้บริ สุทธิ์ ก็จะได้ชื่อว่า รักษา
ความเป็ นชาติ คนไทยเป็ นผูท้ ี่โชคดีที่มีภาษาของตนเอง และมีอกั ษรไทย เป็ นตัวอักษร ประจำ
ชาติ อันเป็ นมรดกล้ำค่าที่บรรพบุรุษได้สร้างไว้ ซึ่งเป็ นเครื่ องแสดงว่าไทยเราเป็ นชาติที่มี
วัฒนธรรมสูงส่งมาแต่โบราณกาลและยัง่ ยืนมาจนปัจจุบนั คนไทยผูเ้ ป็ นเจ้าของภาษา ควรภาค
ภูมิใจที่ชาติไทยใช้ภาษาไทย เป็ นภาษาประจำชาติมากว่า 700 ปี แล้ว และจะยัง่ ยืนตลอดไป ถ้า
ทุกคนตระหนักในความสำคัญของภาษาไทย
ในปัจจุบนั นี้ ปรากฏว่า ได้มีการใช้คำออกจะฟุ่ มเฟื อย และไม่ตรงกับความหมายอัน
แท้จริ งอยูเ่ นือง ๆ ทั้งออกเสี ยงก็ไม่ถูกต้องตามอักขรวิธี ถ้าปล่อยให้เป็ นไปดังนี้ ภาษาของเราก็มี
แต่จะทรุ ดโทรม ชาติไทยเรามีภาษาของเราใช้เองเป็ นสิ่ งอันประเสริ ฐอยูแ่ ล้ว เป็ นมรดกอันมีค่า
ตกทอดมาถึงเราทุกคน จึงมีหน้าที่จะต้องรักษาไว้...“ พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทาน
ปริ ญญาบัตรแก่นิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2512 เราจะเห็นได้วา่
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงเน้นย้ำให้ประชาชนชาวไทยตระหนักถึงความสำคัญของภาษา
ไทยและพระราชทานแนวความคิดในการอนุรักษ์ภาษาไทยในโอกาสต่าง ๆ อยูเ่ สมอ ที่สำคัญยิง่
กว่านี้ คือ เป็ นที่ประจักษ์วา่ พระองค์มีพระปรี ชาญาณและพระอัจฉริ ยภาพในการใช้ภาษาไทย
ทรงรอบรู ้ปราดเปรื่ องและเป็ นแบบอย่างแก่ประชาชนในการใช้ภาษาไทยมาโดยตลอด
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการใช้ภาษาไทยของวัยรุ่ น
ปัญหาการใช้ภาษาไทยได้เกิดขึ้นมาเป็ นระยะเวลาอันยาวนานหลายสิ บปี แต่ในยุค
ปัจจุบนั นี้ ปัญหายิง่ วิกฤติความรุ นแรงมากขึ้นเรื่ อย ๆ ซึ่งมีปัจจัยหนุนนำที่สำคัญนัน่ คือความ
ก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่กา้ วล้ำไปอย่างรวดเร็ว เราจึงพบการใช้ภาษาไทยแบบผิด ๆ มากมาย
จนเกือบจะกลายเป็ นความคุน้ ชิน โดยเฉพาะในกลุ่มวัยรุ่ น ยิง่ น่าเป็ นห่วงมากที่สุด เป็ นกลุ่มที่
นิยมใช้ภาษาที่มีวิวฒั นาการทางภาษาที่เฉพาะกลุ่ม ซึ่งเป็ นภาษาที่เกือบจะไม่มีไวยากรณ์ ไม่วา่
จะจากการรับส่ งข้อความสั้น (SMS) การส่ งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) การสนทนา
ออนไลน์ (MSN) หรื อแม้แต่การแสดงความคิดเห็นในโลกอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ต การใช้
ภาษาไทยที่เกิดจากอินเทอร์เน็ตนั้นเริ่ มลุกลามมาจากโปรแกรมแช็ทรู มและเกมออนไลน์ ซึ่งดู
คล้ายเป็ นการสนทนากันธรรมดา แต่เมื่อได้เข้าไปสัมผัสแล้ว มิใช่เลย การสนทนาอันไม่มีขีด
จำกัดของภาษาทำให้เกิดปัญหาขึ้นมากมาย ดังเช่นที่พบตามหน้าหนังสื อพิมพ์ในปัจจุบนั และ
ในขณะเดียวกันก็สร้างปัญหาให้แก่วงการภาษาไทยด้วย นัน่ คือการกร่ อนคำ และการสร้างคำ
ใหม่ให้มีความหมายแปลกไปจากเดิม หรื ออย่างที่เรี ยกว่าภาษาเด็กแนวนัน่ เอง วัยรุ่ น เป็ นช่วงวัย
ที่มีการสื่ อสารกันมากและมีรูปแบบการสื่ อสารด้วยคำที่ทนั สมัย มีความหมายเฉพาะสำหรับ
กลุ่มและช่วงวัย วัยรุ่ นจึงขาดความคำนึงถึงความถูกต้องเหมาะสมของภาษาที่ใช้ให้เหมาะสม มี
หลายสาเหตุที่ทำให้วยั รุ่ นใช้ภาษาที่ผดิ ๆ โดยเฉพาะเทคโนโลยีเข้ามาเกี่ยวข้องอย่างมาก ทำให้มี
ความสะดวกในการใช้ชีวิตประจำวัน รวมทั้งการสื่ อสาร วัยรุ่ นในประเทศไทยยุคใหม่บางกลุ่ม
ได้สร้างค่านิยมที่ผดิ ๆ มาใช้ คือ การใช้ภาษาไทยที่ผดิ จากคำเดิม จึงทำให้ภาษาไทยของเรา
เปลี่ยนแปลงไป เยาวชนยุคหลังๆ จึงใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้อง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้จดั ทำการทดสอบวัดสมรรถภาพในการใช้ภาษาไทย หัวข้อ
ทักษะการเขียนภาษาไทยเพื่อการประกอบอาชีพ โดยนำนิสิตจากจุฬาฯจำนวน 398 คน มา
ทำการทดสอบ ซึ่งพบข้อผิดพลาดอยูห่ ลายจุด และพบว่าไม่มีผใู้ ดได้ผลในเกณฑ์ดีมาก ในระดับ
ดีมีอยูเ่ พียง 28 คน ข้อผิดพลาดที่พบคือ เรื่ องวรรคตอนผิด ใช้คำไม่หลากหลาย ซึ่งมีผผู้ า่ นเกณฑ์
การทดสอบ 250 คนที่บ่งบอกว่าเป็ นผูใ้ ช้ปฏิบตั ิงานได้ สื่ อความคิดได้ครบถ้วน แต่ยงั คงต้องเพิม่
เรื่ องการเชื่อมโยงความคิด การใช้คำเชื่อม การใช้คำให้ตรงความหมาย และการสะกดคำ ขณะที่
มีผทู้ ดสอบไม่ผา่ น 120 คน ปัญหาที่สรุ ปได้คือ ยังขาดความสามารถในการเขียนที่ จำเป็ นต้องใช้
ในการปฏิบตั ิงาน ควรแก้ไขการสื่ อความคิดที่ไม่ชดั เจนหรื อวกวน ใช้คำผิด สะกดผิด ใช้ภาษา
ไม่เหมาะสมกับประเภทของงานเขียน ผูป้ กครอง พ่อแม่อยากจะให้ลูกเก่งภาษาต่างประเทศแต่
ภาษาไทยก็ไม่ควรละทิ้ง หรื อไม่สนใจการใช้ที่ถูกต้อง เพราะภาษาทุกภาษาย่อมมีหลักการใช้ที่
เหมือนกันคือ ต้องใช้ให้ถูกกาลเทศะ สถานที่ ถูกบุคคล ต้องชัดเจนทั้งการออกเสี ยงและใช้
ประโยค ถูกต้องตามความหมาย และบริ บทของภาษา
นอกจากการเรี ยนรู ้ภาษาไทยกลางและภาษาต่างประเทศแล้วภาษาถิ่นของไทยก็มีความ
สำคัญมากเช่นกัน ในช่วงหลายสิ บปี ที่ผา่ นมา กระแสสังคมคนอาศัยในต่างจังหวัดจะสอนลูกให้
พูดภาษากลางอย่างเดียว ไม่สอนภาษาถิ่น ทำให้ลูกพูดภาษาถิ่นไม่ได้ ทำให้เด็กขาดความรู ้ใน
เรื่ องนี้ และสังคมท้องถิ่นก็ขาดการสื บทอดสิ่ งที่บรรพบุรุษถ่ายทอดกันมา ซึ่งเป็ นเรื่ องละเอียด
อ่อน เช่น ตำราที่ใช้คำท้องถิ่น ทั้งตำรับยา ชื่อต้นไม้ หรื อพิธีกรรม เป็ นต้น สื่ อมวลชน ก็เป็ น
ปัจจัยหนึ่งที่ทำให้เกิดการใช้ภาษาไทยแบบผิดๆของประชาชนเพราะ สื่ อมวลชนเป็ นผูท้ ี่ให้
ข้อมูล ข่าวสารกับประชาชนทุกวัน สื่ อมวลชนต้องเป็ นผูนำ ้ ที่ดีที่สุดของการใช้ภาษาและต้องให้
ข้อคิดอยูเ่ สมอว่า ภาษานั้นสะท้อนความเป็ นตัวของเราเอง ถ้าใช้ภาษาดี ภาษาที่ถูกต้อง ภาษาที่
นำสังคมไปในทางสร้างสรรค์ สร้างความสามัคคี สร้างความรัก สร้างความภูมิใจในชาติจะ
ทำให้ทุกคนเห็นคล้อยตาม แต่ถา้ หากว่าสื่ อมวลชนนำภาษาที่ประหลาด ภาษาที่ไม่ถูกต้องเอามา
เผยแพร่ บ่อยๆ คนจะคิดว่าสิ่ งที่สื่อมวลขนมาเผยแพร่ น้ นั ถูกต้อง เป็ นสิ่ งที่ดี มันจะทำลายภาษา
ไทย โดยเฉพาะการใช้ภาษาในข่าวพาดหัวหนังสื อพิมพ์หรื อโทรทัศน์ต่างๆ เป็ นต้น ปัจจัยอีก
อย่างหนึ่งในการใช้ภาษาไทย ก็คือ ปัญหาการใช้ภาษาไทยของครู และนักเรี ยน เกิดจาก ครู
เนื่องจากครู คือ ผูป้ ระสาทวิชา เป็ นผูใ้ ห้ความรู ้แก่ศิษย์ ดังนั้นความรู ้ในด้านต่างๆ เด็กๆจึงมักจะ
ได้รับมาจากครู เป็ นส่ วนใหญ่ ในขณะที่ครู บางคนนั้นมีความรู ้แต่ไม่แตกฉาน โดยเฉพาะวิชา
ภาษาไทยเป็ นวิชาที่มีความละเอียดอ่อน และมีส่วนประกอบแยกย่อยอย่างละเอียดลออ เมื่อครู
ไม่เข้าใจภาษาไทยอย่างกระจ่าง จึงทำให้นกั เรี ยนไม่เข้าใจตามไปด้วย จนพานเกลียดภาษาไทย
ไปในที่สุด ซึ่งเป็ นปัญหาที่ปรากฏให้เห็นอยูม่ ากมายในปัจจุบนั
รู ปแบบการใช้ภาษาไทยของวัยรุ่ น การใช้ภาษาเป็ นเรื่ องของการสื่ อสาร ซึ่งผูส้ ่ งสารจะ
ต้องทำให้ผรู้ ับสารเข้าใจความหมายของตน ให้มากที่สุด แต่การสื่ อสารที่มีรูปแบบแตกต่างกัน
จะทำให้การใช้ภาษามีความแตกต่างกันไปด้วย เช่น การสื่ อสารแบบเผชิญหน้าย่อมแตกต่างจาก
การสื่ อสารแบบผ่านเครื่ องมือการสื่ อสาร หรื อการสื่ อสารด้วย สื่ อสิ่ งพิมพ์ ย่อมมีความแตกต่าง
การสื่ อสารด้วยสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งมีท้ งั ภาพและเสี ยง
ในปัจจุบนั ปัญหาที่พบเป็ นอย่างมากเกี่ยวกับการใช้ภาษาไทยคือการใช้ภาษาในทางวิบตั ิ
และมีการเปลี่ยนแปลงรู ปแบบการใช้ภาษาอยูห่ ลายประเภท เช่น
1. รู ปแบบการพูด เป็ นประเภทของภาษาวิบตั ิที่ใช้เวลาพูดกัน ซึ่งบางครั้งก็ปรากฏขึ้นในการ
เขียนด้วย แต่นอ้ ยกว่ากลุ่มที่ใช้ในเวลาเขียน โดยการพูดมักจะพูดให้มีเสี ยงสั้นลง หรื อยาวขึ้น
หรื อไม่ออกเสี ยงควบกล้ำเลย ประเภทนี้ เรี ยกได้อีกอย่างว่ากลุ่มเพี้ยนเสี ยง
2. รู ปแบบการเขียน รู ปแบบของภาษาวิบตั ิประเภทนี้ โดยทั้งหมดจะเป็ นคำพ้องเสี ยงที่นำมาใช้
ผิดหลักของภาษา คนที่ใช้ภาษาวิบตั ิเวลาเขียนนั้นจะเขียนตามเสี ยงอ่าน เพราะไม่ตอ้ งการอยูใ่ น
กรอบหรื อ ต้องการทำอะไรที่คิดว่าใหม่ ไม่เลียนแบบของเก่า ได้แก่
2.1 การเขียนตามเสี ยงพูด
2.2 การสร้างรู ปการเขียนใหม่
3.รู ปแบบของการเปลีย่ นแปลงเสี ยงอ่ าน

4.กลุ่มที่เปลีย่ นแปลงความหมาย
ตัวอย่าง การใช้ภาษาโดยมีการเปลี่ยนแปลง
แปลงเสี ยงสั้ นเสียงยาว
อะไร แปลงเป็ น อาราย
ได้ แปลงเป็ น ด้าย
ไม่ใช่ แปลงเป็ น ม่ายช่าย
ไป แปลงเป็ น ปาย
ใคร แปลงเป็ น คราย
ทําไม แปลงเป็ น ทามมาย
มาก แปลงเป็ น มัก่
ด้วย แปลงเป็ น ดัว่
สัตว์ แปลงเป็ น สาด
กติกา แปลงเป็ น กติกู
แปลงสระ
คิดถึง แปลงเป็ น คิดถุง
กว่า แปลงเป็ น กัว่
ไม่ แปลงเป็ น มะ
แล้ว แปลงเป็ น แระ
เอา แปลงเป็ น แอง
จะ แปลงเป็ น จา,จิ
เพื่อน แปลงเป็ น เพิ ่ล
เปล่า แปลงเป็ น ป่ าว,ปะ
ไป แปลงเป็ น ปาย
ทํา แปลงเป็ น ทาม
ขอบคุณ แปลงเป็ น ขอบคุง
เลย แปลงเป็ น โรย
แปลงคำควบกล้ำ
จริ งสิ แปลงเป็ น จิงดิ
เปล่า แปลงเป็ น ป่ าว,ปะ
หรื อเปล่า แปลงเป็ น อ๊ะป่ าว
จ้า แปลงเป็ น จร้า
ค่า แปลงเป็ น คร่ า
ซ้ำตัวสะกด
ว้าย แปลงเป็ น ว๊ายยยย
โอ๊ย แปลงเป็ น โอ๊ยยยย
ครับ แปลงเป็ น ค๊าบบบบ
รัก แปลงเป็ น ร๊ ากกก

ซ้ำสระ
เอ้า แปลงเป็ น เอ้าาาา
จ้า แปลงเป็ น จร้าาาา
ค่า แปลงเป็ น คร่ าาาาา
เขียนแตกต่ างจากเดิม
ขอบใจ แปลงเป็ น ขอบจัย
อย่างไร แปลงเป็ น ยังงัย
ทําให้ แปลงเป็ น ทำหั้ย
เธอ แปลงเป็ น เทอ
จริ ง แปลงเป็ น จิง
เขียนรูปแบบหรือสั ญลักษณ์
เสี ยงหัวเราะฮ่าฮ่าฮ่า แปลงเป็ น 555
ยิม้ แปลงเป็ น :)
ยิม้ ขยิบตา แปลงเป็ น ;
ทําหน้าตาเบื่อโลก แปลงเป็ น -_-
การแทรกเสี ยง
มึง แปลงเป็ น มรึ ง
กู แปลงเป็ น กรู
จ้า แปลงเป็ น จร้า
ค่า แปลงเป็ น คร่ า
ค่ะ แปลงเป็ น คระ
คิด แปลงเป็ น คริ ด
สุ ดตีน แปลงเป็ น สุ ดตรี น
การกลมกลืนเสียง
แม่มึง แปลงเป็ น แม่ง
ดูซิ แปลงเป็ น ดูดิ
กระโปรง+กางเกง แปลงเป็ น กระเปรง
ค.วาย+แรด แปลงเป็ น แคว๊ด
แฟน+ควาย แปลงเป็ น แควน
โวยวาย แปลงเป็ น วีน
การตัดเสี ยง
ซุปเปอร์สตาร์ แปลงเป็ น ซุปตาร์
มหาวิทยาลัย แปลงเป็ น มหาลัย
คอนเฟิ ร์ม แปลงเป็ น เฟิ ร์ม
ไม่ไหวที่จะเคลียร์ แปลงเป็ น ไม่ไหวจะเคลียร์
งอนตุ๊บป่ อง แปลงเป็ น งอนป่ อง,งอนป่ องๆ
อิทธิพล แปลงเป็ น อิด
พารานอย(paranoid) แปลงเป็ น นอย
โอเค แปลงเป็ น โอ
สตรอเบอรี่ แปลงเป็ น สะตอ
แนบเนียน แปลงเป็ น เนียน
อิมพอสสิ เบล แปลงเป็ น อิม
เนิบนาบ แปลงเป็ น เนิบ
ติ๊งต๊อง แปลงเป็ น ติ ๊ง
สวัสดี แปลงเป็ น หวัดดี
การกร่ อนเสียง
ใช่ไหม กร่ อนเสี ยงเป็ น ชิมิ
ตาวัน กร่ อนเสี ยงเป็ น ตะวัน
หมากกรู ด กร่ อนเสี ยงเป็ น มะกรู ด
หมากนาว กร่ อนเสี ยงเป็ น มะ
แฟน กร่ อนเสี ยงเป็ น ฟุ๊ บุ
กระล่อน กร่ อนเสี ยงเป็ น หลี
ขี้เหร่ กร่ อนเสี ยงเป็ น เหี ยก
ช่างทำได้นะ กร่ อนเสี ยงเป็ น กล้านะ
เสี ยว กร่ อนเสี ยงเป็ น เซี้ ยว
อร่ อย กร่ อนเสี ยงเป็ น เอ็ดย่า
กับ กร่ อนเสี ยงเป็ น กะ
แจ๋ ว(คนใช้) กร่ อนเสี ยงเป็ น แจ๋ ง
ปอด กร่ อนเสี ยงเป็ น ป๊ อด

ความหมายต่ างไปจากเดิม
ปวดตับ หมายถึง เครี ยด
กลิ่นตุๆ หมายถึง เค้าลางของการทุจริ ต
เกาเหลา หมายถึง ไม่ถูกกัน,ไม่กินเส้น
ตู ้ หมายถึง เด็กเรี ยน
สิ ว-สิ ว หมายถึง เรื่ องขี้ ผง เรื่ องเล็กๆ ง่ายมาก
ซึม หมายถึง พวกชอบทำไม่รู้ไม่ช้ ี แต่ที่แท้ตวั ดี
ป๊ อด หมายถึง ไม่กล้า
กิ๊บ หมายถึง เจ๋ งมากๆ
เบๆ หมายถึง ง่ายๆ หมูๆ
ออนป้ า หมายถึง ทำตัวแก่ประมาณคุณป้ า
เนิร์ด(Nerd) หมายถึง เด็กเรี ย
งานเข้า หมายถึง ได้เรื่ องหรื อมีเรื่ องเดือดร้อนเข้ามา
ยาวไป หมายถึง เที่ยวกลางคืนจนถึงดึกดื่นถึงเช้า
เนียน หมายถึง ทำได้กลมกลืน ทำเนียบเนียนดีมาก
วีนแตก หมายถึง ชอบอาละวาด ชอบโวยวาย
เฟิ ร์มนะ หมายถึง ตกลงแน่นอนตามนั้นใช่ไหม่
โดนใจ หมายถึง ประทับใจ

และยังมีคำอีกมากมายที่ถูกบัญญัติข้ ึนโดยกลุ่มผูใ้ ช้ที่เป็ นวัยรุ่ น จนแทบจะกลายเป็ น


ภาษาทางการของกลุ่มวัยรุ่ นที่นิยมใช้กนั อย่างแพร่ หลายและนับวันยิง่ ขยายวงกว้างออกไป
เรื่ อยๆ ซึ่งปัญหาเหล่านี้หากทุกภาคส่ วนในสังคมยังคงปล่อยวางไม่เร่ งรี บหาทางแก้ไข และยังคง
มีการใช้บ่อยๆ ก็จะทำให้เกิดความเคยชิน อีกทั้งมีการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันจนในที่สุดก็จะ
กลายเป็ นเรื่ องปกติ ซึ่งน่าหวัน่ เกรงยิง่ นักว่าในอนาคตปัญหาวิกฤติภาษาไทยก็จะยิง่ ยากเกินการ
เยียวยาแก้ไข สาเหตุที่สำคัญในการเปลี่ยนแปลงของภาษาของวัยรุ่ นที่ใช้กนั ในปัจจุบนั เนื่องจาก
สาเหตุหลายประการ ดังนี้
1.เมื่อการติดต่ อผ่ านเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ กลายเป็ นช่ องทางใหม่ ในการสื่ อสาร ภาษาในยุคนีจ้ ึง
แปลกเปลีย่ น เกิดภาษาใหม่ ๆ บางคำมาจากแป้นพิมพ์ที่อยู่ติดกัน พิมพ์ง่ายกว่ าจึงเกิดคำใหม่ แทน
คำเก่ า
2.เพือ่ ลดความรุนแรงในการใช้ ภาษาที่ไม่ สุภาพ
3.คำศัพท์ ใหม่ ๆ ที่วยั รุ่นหรือคนบางกลุ่มนำมาใช้ จนแพร่ หลายนั้น ก็เพราะว่ าคำไทยที่มีอยู่เดิม
อาจจะไม่ สามารถสื่ อถึงลักษณะและรายละเอียดของสิ่ งที่ต้องการจะสื่ อสารได้ มากพอ คนส่ งสาร
ก็เลยต้ องพยามยามคิดคำขึน้ มาใหม่ ให้ สามารถบอกรายละเอียดและความรู้ สึกของตนเองให้ ได้
มากที่สุด
4.การเขียนคำไทยในอินเตอร์ เน็ต หรือนิตยสารเพือ่ ความบันเทิง จะเขียนตามเสี ยงอ่ านเพราะ
ไม่ ต้องการอยู่ในกรอบ หรือต้ องการทำอะไรที่คดิ ว่ าใหม่ ไม่ เลียนแบบของเก่ า
5.ทุกสิ่ งในโลกล้วนเป็ นอนิจจัง วัฏจักรของชีวติ มีเกิด แก่ เจ็บ ตาย ภาษาก็มีวฏั จักรชีวติ เช่ น
เดียวกัน
ภาษามีเกิด คือ มีการสร้างคำใหม่ๆ ขึ้นมา
ภาษามีแก่ คือ คำที่คิดว่าเก๋ เท่ ในยุคหนึ่ง ก็กลับกลายเป็ นคำที่ลา้ สมัยในปัจจุบนั
ภาษามีเจ็บ คือ ความบกพร่ องในการใช้ภาษา ต้องอาศัยการเยียวยารักษา
ภาษามีตาย คือ คำบางคำไม่มีการนำกลับมาใช้อีก
อย่างไร ก็ตามภาษาวิบตั ิยงั เป็ นคำพูดที่ไม่ได้รับความยินยอมให้ใช้ทวั่ ไปในระดับสากล หากแต่
ใช้พดู กันเองในกลุ่มเพื่อนฝูงหรื อในกลุ่มวัยรุ่ น โดยการใช้ภาษาเหล่านี้มกั จะได้รับการต่อต้าน
จากผูห้ ลักผูใ้ หญ่ในสังคมอยูเ่ สมอ
ณ วันนี้ หากฝื นปล่อยให้กลุ่มคนที่ชอบใช้ภาษาแบบผิดๆ ด้วยค่านิยมที่ผดิ ๆ เพียงรู ้สึกว่าการใช้
ภาษาตามค่านิยมวัยรุ่ นเหล่านั้นดูเป็ นคำที่น่ารักและยังช่วยให้พมิ พ์ง่ายขึ้น โดยที่ไม่คำนึงถึงสิ่ งที่
จะตามมา นัน่ คือการทำลายภาษาไทยโดยทางอ้อม และที่น่ากลัวยิง่ คือวัยรุ่ นบางกลุ่มได้นำคำ
เหล่านี้ไปใช้ในชีวิตประจำวันและได้แพร่ หลายเข้าไปในสถานศึกษา ซึ่งจะเป็ นหนทางที่จะ
นำพาความหายนะมาสู่ วงการภาษาไทยซึ่งเป็ นเอกลักษณ์ของชาติที่ทุกฝ่ ายไม่ควรมองข้าม
อ.ดร.อภิชาติ สุ ขอร่ าม
ชื่อ.............................................นามสกุล......................................รหัส......................................
สาขาวิชา..............................................................................................
งานในกิจกรรมนี้ ให้ นศ.วิเคราะห์ แนวทางการจัดการกับปัญหาการใช้ ภาษาไทยของวัย
รุ่นโดยศึกษาบทความนีแ้ ล้ ว วิเคราะห์ ในแนวทางแก้ ปัญหาโดยอาศัยแนวทางดังต่ อไปนี้
ตัวอย่ าง แนวทางในการจัดการกับปัญหาการใช้ ภาษาไทยของวัยรุ่น อาจจะต้ องให้ หน่ วยงานที่
เกีย่ วข้ องเข้ ามาช่ วยสอดส่ องดูแลอย่ างสม่ำเสมอ แต่ ถึงอย่ างไรการจัดการกับปัญหานีก้ ไ็ ม่ ใช่
หน้ าที่ของหน่ วยงานรัฐเพียงอย่ างเดียว สิ่ งที่จะช่ วยจัดการกับปัญหาการใช้ ภาษาไทยของวัยรุ่น
ได้ ง่ายที่สุด คือ
1.สถาบันครอบครัว
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
2.สถาบันการศึกษา
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
............................................................................................................................................
3.สื่ อ ...............................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
4.สำหรับครู
อาจารย์ ...........................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
....
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................

ให้ นศ.ปริ้นบทความและใบงานศึกษาและสรุปตอบตามประเด็นหัวข้ อที่กำหนดให้ โดยส่ ง


เฉพาะใบงาน ส่ งในลิน้ ชักส่ งงานของ อ.อภิชาติ สุ ขอร่ าม อาคาร 6 หน้ าห้ อง 624
(ส่ งก่ อนวันที่ 22 กรกฎาคม 2563 ส่ งเป็ นสาขาวิชานะครับ) ปล.สามารถเพิม่ กระดาษในการตอบ
ได้ นะครับ

You might also like