You are on page 1of 12

บทบาทหน้าที่ของภาษา

1. ภาษาเป็ นเครื่องมือในการสื่อสาร มนุ ษย์ต้องใช้ภาษาพูดจา


สื่อสารกับคนที่อยููรอบข้างเพื่อให้ผู้อ่ ืนเข้าใจความคิด ความ
ต้องการ เพื่อบอกเลูาไตูถามความรู้และอื่น ๆ
2. ภาษาเป็ นพลังในการรวมตัวเป็ นอันหนึ่ งอันเดียวกันของ
คนในสังคม ภาษามีบทบาทสำาคัญที่ทำาให้คนในชาติ ซึ่งพูดภาษา
เดียวกันมีความผูกพันตูอกัน มีความสำานึ กในเชื้ อชาติ เผูาพันธ์ุ
ซึ่งสูงผลตูอการพัฒนาทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคม
3. ภาษาเป็ นภาพสะท้อนความเจริญทางสังคม ภาษาประจำาชาติ
ที่ใช้สืบตูอถูายทอดกันมานั้ นจะผูกพันกับสังคมของผู้ใช้ภาษา
อยูางใกล้ชิด คำาศัพท์ท่ีมีในภาษาจะแสดงให้เห็นลักษณะความ
เป็ นอยูู อาหารการกิน ความเชื่อ ทรัพยากรธรรมชาติ ฯลฯ ของ
สังคมนั้ น ความเจริญก้าวหน้าของสังคมยูอมมีผลตูอภาษาด้วย
ดังนั้ นภาษาจึงเป็ นหลักฐานแสดงอารยธรรมตูาง ๆ ของสังคม
เชูน ศิลปะ ศาสนา วิทยาศาสตร์ ฯลฯ
4. ภาษาเป็ นเครื่องมือในการบันทึกและถูายทอดทางวัฒนธรรม
โดยที่ภาษาเป็ นสัญลักษณ์ท่ีกำาหนดเพื่อแสดงความรู้สึกนึ กคิด
และความรู้สึกนึ กคิดของมนุ ษย์ก็เป็ นผลิตผลของวัฒนธรรมหรือ
แบบแผนชีวิตของสังคมมนุ ษย์ ดังนั้ น ภาษายูอมจะแสดงความ
รู้สึกนึ กคิด ทัศนะ และคูานิ ยมทางสังคมไว้ไมูมากก็น้อย
5. ภาษาเป็ นศิลปะ มีความงดงามในกระบวนการใช้ภาษา
กระบวนการใช้ภาษานั้ น มีระดับและลีลา ขึ้นอยููกับปั จจัยตูางๆ
หลายด้าน เชูน บุคคล กาลเทศะ ประเภทของเรื่อง ฯลฯ การที่
จะเข้าใจภาษา และใช้ภาษาได้ดีจะต้องมีความสนใจศึกษาสังเกต
ให้เข้าถึงรสของภาษาด้วย
ด้วยเหตุน้ ี หากต้องการเข้าใจวัฒนธรรมของผู้ใช้ภาษาใด ก็อาจ
ใช้ภาษานั้ นเป็ นข้อมูลเพื่อสืบกันได้ และในทางตรงกันข้าม หาก
เราไมูเข้าใจความหมายของถ้อยคำาในภาษาใดอยูางชัดเจน ก็อาจ
ศึกษาวัฒนธรรมของผู้ใช้ภาษานั้ น เพื่อหาความรู้วูาทำาไมเขาจึง
พูดหรือใช้คำานั้ นได้เชูนเดียวกัน

การใช้ภาษาไทย

การศึกาษาภาษาไทย นอกจากจะศึกษาลักษณะ

สำาคัญของภาษาแล้ว ยังต้องศึกษาเรื่อง
การใช้ภาษาที่ถูกต้อง เหมาะสมหากผู้ใช้ภาษามีความรู้เรื่องการ

ใช้ภาษาไมูดีพอ อาจทำาให้การติดตูอสื่อสารเกิดความผิดพลาด

สื่อสารได้ไมูตรงความต้องการ หรือสื่อึความได้แตูไมูเหมาะสม

ทำาให้ขาดประสิทธิภาพ ในการสื่อสาร ความผิดพลาดหรือความ

ไมูเหมาะสมที่เกิดขึ้นดังกลูาวล้วนมีสาเหตุมาจากการใช้ภาษาที่

บกพรูองหรือไมูคำานึ งถึงการใช้ภาษาไทยอยูางถูกต้อง

ภาษาเป็ นระบบสัญลักษณ์ซ่ึงเกิดจากการที่คนใน

สังคมชูวยกันกำาหนดขึ้น ดังนั้ นการใช้ภาษาของมนุ ษย์จึงต้องอยูู

ภายในระบบ อันประกอบด้วยระเบียบและกฏเกณฑ์ท่ีสังคม

ยอมรับรูวมกัน หากใช้ผิดไปจากกฏเกณฑ์ท่ียอมรับกันแล้ว อาจ

กูอให้เกิดความสับสนในการสื่อความหมายได้ ข้อควรคำานึ งใน

การใช้ภาษาไทย มีดังนี้

- การใช้ภาษาผิด

- การใช้ภาษาไมูเหมาะสม

- การใช้ภาษาไมูชัดเจน

- การใช้ภาษาไมูสละสลวย
1. การใช้ภาษาผิด การใช้ภาษาผิด หมายถึง การใช้ภาษาผิด

หลักไวยากรณ์ หรือผิดความหมาย อาจเกิดจากการใช้คำาผิด

ความหมาย ใช้คำาผิดหลักไวยากรณ์ ใช้กลูุมคำาและสำานวนผิด

เรียงคำาหรือกลูุมคำาผิดลำาดับ และประโยคไมูสมบูรณ์ ดังนี้

1.1 ใช้คำาผิดความหมาย คือการนำาคำาที่มีความหมาย

อยูางหนึ่ งไปใช้โดยต้องการให้มีความหมายอีกอยูางหนึ่ ง ซึ่งแตก

ตูางไปจากความหมายไปจากความหมายที่ยอมรับกันอยููเดิม

เชูน

- นำ้าทูวมเป็ นเวลาหลายเดือน บัดนี้ แผูนดิน

แห้งแล้งลงแล้ว(แห้ง)

- คลองที่ไมูจำาเป็ นถูกทับถมไปจนหมด(ถม)

- วิชัยเป็ นคนเงียบๆ ไมูคูอยสูสีกับใคร(สุงสิง)

1.2 ใช้คำาผิดหลักไวยากรณ์ คือ การใช้คำาบุพบท สันธาน หรือ

ลักษณนามผิด เชูน

- เราแนะนำาการป้ องกันโรคให้กับเด็ก (แกู)

- ในหมููบ้านของผมมีถนนสายใหมูๆตัดผูาน

หลายทาง(สาย)
1.3 ใช้กลูุมคำาและสำานวนผิด ได้แกู การใช้กลูุมคำาและสำานวน

ผิดไป จากไวยากรณ์ เชูน

- เขาถูกตำารวจจับได้คาหลังคาเขา (คาหนั งคา

เขา )

- ขอให้คูบูาวสาวอยููรูวมกันยืดยาว จนถือ ไม้

เท้ายอดทองกระบองยอดเงิน

(ไม้เท้ายอดทอง กระบองยอดเพชร)

- คนทำาผิดมักจะแสดงอาการกินปูนร้อนท้อง

ให้จับได้ ( กินปูนร้อนท้อง)

1.4 เรียงคำาหรือกลูุมคำาผิดลำาคับ คือ การเรียงคำาไมูถูกต้องตาม

ห ลักไวยากรณ์ เชูน

- เขาไมูทราบสิ่งถูกต้องวูาอยูางไร (เขาไมูทราบวูาสิ่ง

ที่ถูกต้องเป็ นอยูางไร)

- การสร้างสรรค์สังคมนั้ น ต้องคนในสังคมรูวมมือกัน

(การสร้างสรรค์สังคมนั้ น

คนในสังคมต้องรูวมมือกัน)
1.5 ประโยคไมูสมบูรณ์ คือ ประโยคที่ขาดสูวนสำาคัญของประโย

คห รือขาดคำาบางคำาไป

ทำาให้ความหมายของประโยคไมูครบถ้วน เชูน

- ผู้ชายที่คิดวูา ตนมีอำานาจเหนื อผู้หญิง ( มัก

จิตใจหยาบกระด้าง)

- ผู้มีปัญญาผูานอุปสรรคได้โดยงูาย (ยูอม)

5.2 การใช้ภาษาไมูเหมาะสม การใช้ภาษาไมูเหมาะสม

หมายถึง การใช้ถ้อยคำาไมูเหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคลและ

การใช้ภาษาผิดระดับ อาจเกิดการใช้ภาษาพูดในภาษาเขียน ใช้

คำาไมูเหมาะสมกับความรู้สึก ใช้คำาตูางระดับและใช้ภาษาตูาง

ประเทศปะปนในภาษาไทย ดังนี้

5.2.1 ใช้ภาษาพูดในภาษาเขียน คือ การใช้

ภาษาระดับภาษาปากหรือ ภาษาพูดปะปนกับภาษาเขียน

- นั กธุรกิจเหลูานี้ ทำายังไงถึงได้รำ่ารวยยังงี้

(อยูางไร , อยูางนี้ )
- เขาได้รบ
ั คัดเลือกเป็ นพนั กงานดีเดูน โดย

ไมูร้เนื้ อร้้ตัว (ไมูทราบลูวงหน้า)

- ปั จจุบันนี้ จังหวัดโคราช เป็ นเมืองที่เจริญ

มากที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนื อ

(นครราชสีมา,จังหวัด )

5.2.2 ใช้คำาที่ไมูเหมาะแกูความรู้สึก คือ การ

เลือกใช้คำาที่ส่ ือความหมาย

ไมูตรงกับความรู้สึกของผู้พูดเชูน

- เขาดีใจที่ตอ
้ งออกไปรับรางวัล (เขา

ดีใจที่ได้ออกไปรับรางวัล )

- สุพรรณรู้สึกใจหายที่ต้องสูญเสีย

เพื่อนไปเสียที (สุพรรณรู้สึกใจกายที่ต้องสูญเสียเพื่อนไป)

5.2.3 ใช้คำาตูางระดับ คือ การนำาคำาที่อยููใน

ระดับภาษาตูางกัน มาใช้ใ น
ประโยคเดียวกัน เชูน

- หลวงตาที่ชาวบ้านเคารพนั บถือ ได้

เสียชีวิตลงแล้วอ ยูางสงบ(มรณภาพ)

- รถเมล์จอดรับผู้โดยสารตรงป้ าย

จอดรถประจำาทาง (รถประจำาทาง)

5.2.4 ใช้ภาษาตูางประเทศปะปนใน

ภาษาไทย คือ การนำาคำาภาษาอ ังกฤษแบบ

"ทับศัพท์" มาใช้ปะปนในภาษาไทยซึ่งจะใช้ในภาษาพูดเทูานั้ น

ไมูควรนำามาใช้ในภาษาเขียนหรือ ภาษาทางการและกึ่งทางการ

เชูน

- มีบริการสูง แฟ็ กซ์แกูลูกค้าฟรี

(โทรสาร , โดยไมูคิดเงิน)

- คะแนนสอบมิดเทอมที่ผูานมา

ไมูนาพอใจ(กลางภาค)

- ไฟลท์ท่ี 71 จะมาถึงเวลา

ประมาณ 17.30 น. (เที่ยวบิน)


3. การใช้ภาษาไมูชัดเจนหมายถึง การใช้ภาษาที่ไมูสามารถสื่อ

ความหมายที่ผู้ใช้ต้องการได้ การใช้ภาษาไมูชัดเจน อาจเกิดจาก

การใช้คำาที่มีความหมายกว้างเกินไป การใช้คำาที่มีความหมาย ไมู

เฉพาะเจาะจง การใช้คำาที่มีความหมายขัดแย้ง หรือการใช้

ประโยคที่ทำาให้เข้าใจได้หลายความหมาย ดังนี้

5.3.1 ใช้คำาที่มีความหมายกว้างเกินไป

- เขาถูกทำาทัณฑ์บนเพราะทำาความผิด

(กูอการทะเลาะวิวาท)

- ใครๆก็อยากได้คนดีมาเป็ นคููครอง(คนที่

มีความรับผิดชอบต ่อครอบครัว )

5.3.2 ใช้คำาที่มีความหมายขัดแย้งกัน

- นานๆครั้งเขาจะไปหาครู เสมอๆ(นานๆ

ครั้งเขาจึงไปหาครู )

(เขาจะไปหาครูเสมอ)

- นั กศึกษาส่วนมากมาสายทุกคน

(นั กศึกษาสูวนมากมาสาย)
(นั กศึกษามาสายทุกคน)

5.3.3 ใช้ประโยคกำากวม เชูน

- มีการแสดงต้นไม้ชนิ ดตูางๆ ทีม


่ ีช่ ื อใน

วรรณคดี(มีช่ ือเสียง, มีช่ ือปรากฏ)

- เขาสนิ ทกับน้องสาวคุณวิมลทีเ่ ป็ น

อาจารย์

(เขาสนิ ทกับอาจารย์ซ่ึงเป็ นน้อง

สาวคุณวิมล)

(เขาสนิ ทกับน้องสาวอาจารย์วิมล)

มนุ ษย์เรานั้ นมีการพัฒนาภาษาพูดขึ้นมากูอน เหตุท่ีเป็ น

เชูนนี้ เพราะการติดตูอสื่อสารยุคแรกจำากัดอยููในกลูุมสังคมเล็ก

พูดคุย สูงเสียง ปู าวร้องหรือตะโกนถึงกันได้โดยงูายและฟั ง

เข้าใจทันทีในกลูุมของตน อีกทั้งการออกเสียงยังเป็ นกริยาที่

งูาย ไมูซับซ้อนอะไรนั ก ระบบภาษาในอดีตจึงเริม


่ พัฒนาขึ้นจาก

คำาพูดด้วยการกำาหนดเสียงขึ้นแทนความหมายของสิ่งตูางๆที่
รู้จักไมูมีใครยืนยันได้แนูนอนวูา มนุ ษย์เปลี่ยนมาใช้ภาษาพูด

อยูางเต็มรูปแบบครั้งแรกเมื่อไร แตูส่ิงที่ต้องเข้าใจกันตรงนี้ คือ

คำาตูางๆไมูได้เกิดขึ้นพร้อมกันในคราวเดียวกัน กลูาวคือ คำา

ตูางๆที่มีใช้ในแตูละกลูุมสังคม ไมูวูาจะเป็ นชื่อนาม กริยา

คุณศัพท์ ฯลฯ ที่ใช้ในชีวิตประจำาวันทัว่ ไป ไมูได้มาจากการ

กำาหนดขึ้นแบบปุบปั บทันทีทุกคำาโดยใครเพียงผู้เดียว แตูเกิด

ขึ้นผูานการยอมรับในสังคมมายาวนานกวูาจะเป็ นคำา

เมื่อมีการใช้ภาษาพูดอยูางเป็ นธรรมดาทัว่ ไปแล้ว คำาตูางๆก็เริม


หลากหลายขึ้นตามกาลเวลา จากคำาพื้ นๆก็เริม


่ ซับซ้อนขึ้นโดย

สัมพันธ์กับความเชื่อ วัฒนธรรมและสติปัญญาของสมาชิกใน

สังคมนั้ นๆ คำาใหมูเกิดขึ้นตลอดเวลา มีการแบูงระดับของคำาที่

ใช้กับบุคคล สร้างอารมณ์ความรู้สึกให้กับคำา บางคำากำาหนดใช้

กับสิ่งสามัญ บางคำากำาหนดใช้กับสิ่งวิสามัญ มีการกูอรูางสร้าง

ตัวของแบบแผนการใช้ภาษาจนกลายเป็ นระเบียบไวยากรณ์ ทั้ง

ที่งูายและยากขึ้นตามลำาดับ แตกตูางกันไปในแตูละกลูุมสังคม

ดังนั้ นภาษาตูางๆที่เราใช้ในการสื่อสารกันนั้ นล้วนแตูมีส่ ือกลาง

ด้วยกันทั้งสิ้น และสื่อกลางที่วูานี้ ก็คือ มนุ ษย์เรานั ่นเอง


อ้างอิง http://writer.dek-
d.com/ads_rata/story/viewlongc.php?id=76571&chapter=2

http://www.st.ac.th/bhatips/tip49/talk_write.html

You might also like