You are on page 1of 6

นางสาวสุมต

ิ ตรา คงขจร 594301040A


วิชาภาษาไทยถิน ่ ชัน
้ ปี ที3
่ กลุม
่ เรียน(อังคารเช้า)

การแปรของคาศ ัพท ์และวรรณยุกต ์ตามกลุม


่ อายุและทัศ
นคติตอ
่ ภาษาในภาษาโซ่ง
่ ดใน อาเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุร ี
(ไทยดา) ทีพู
นางสาวสุนทร ัตร ์ แสงงาม
ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร ์
คณะอักษรศาสตร ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ความเป็ นมาของปั ญหา1-4

 ว ัตถุประสงค ์ในการวิจ ัย
่ เคราะห ์การแปรของภาษาโซ่งทีพู
1.เพือวิ ่ ดอาเภอเขาย ้อยจังหวัดเพ
ชรบุรต ่ าศัพท ์และวรร
ี ามตัวแปรอายุและทัศนคติแปลภาษาในเรืองค
ณยุกต ์
่ เคราะห ์และเปรียบเทียบทิศทางการเปลียนแปลงของภาษาสิ
2.เพือวิ ่ ่

งทีแสดงโดยการแปรของคาศัพท ์และวรรณยุกต ์

 ขอบเขตของการวิจ ัย
่ ชาวโซ่งอาศัยอยู่อย่าง
1.ศึกษาภาษาโซ่งโดยเลือกเฉพาะตาบลทีมี
หนาแน่ นมากทีสุ่ ด ่ ้แก่
ซึงได ตาบลหนองปรงอาเภอเขาย ้อย
จังหวัดเพชรบุร ี
นางสาวสุมต
ิ ตรา คงขจร 594301040A
วิชาภาษาไทยถิน ่ ชัน
้ ปี ที3
่ กลุม
่ เรียน(อังคารเช้า)
2.ศึกษาวรรณยุกต ์จากคาพยางค ์เดียวเท่านั้น
และเก็บข ้อมูลเฉพาะคาทีเป็ ่ นพยางค ์มีทงหมด
้ั 9 คาได ้แก่ ขา คา
ปา ข่า ค่า ป่ า ผ้า ป้ า ค ้า

3.วิเคราะห ์ระบบวรรณยุกต ์โดยใช ้การฟังและวิเคราะห ์เพือการจ าแ
นกหน่ วยเสียงวรรณยุกต ์ด ้วยวิธก
ี ารทางกลศาสตร ์โดยใช ้โปรแกรม
่ ยง praat
วิเคราะห ์คลืนเสี

+งานวิจย ่ ยวข้
ั ทีเกี ่ อง
การคัดเลือกจุดเก็บข้อมู ล
ผู ้ วิ จั ย ไ ด ้ มี ก า ร คั ด เ ลื อ ก จุ ด เ ก็ บ ข ้ อ มู ล
โดยการใช ้วิธส ี อบถามจากเจ ้าหน้าทีของศู่ นย ์วัฒ นธรรมไทยทรง
ด า แล ะช าวบ ้า น ใน แถ บ อ าเภ อ เข าย ้อ ย โด ย ใช ค ้ าถ าม ว่ า
“ท่านคิดว่าหมู่บ ้านใดและตาบลใดในอาเภอเขายอ้ ยทีคนส่ ่ วนใหญ่เ
ป็ น ค น โ ซ่ ง ” แ ต่ ใ น ก า ร เ ก็ บ ข ้ อ มู ล จ ริ ง ที่ ใ จ
้ า ที่ เป็ น ธ ร รม ช า ติ ใ น ก า ร ส อ บ ถ า ม ข ้ อ มู ล ดั ง ก ล่ า ว
ได ้ใ ช ค
ผลปรากฏว่ า ผู ต ้ อบค าถามส่ ว นใหญ่ เลือ กตอบต าบลหนองปรง
ซึ่ ง มี ทั้ ง ห ม ด 6 ห มู่ บ ้ า น
โดยทุกหมู่บ ้านมีอาณาเขตบริเวณติดต่อกันไปแนวเดียวกันทังหมด ้
ดั ง นั้ น ผู ้ วิ จั ย จึ ง เ ก็ บ ข ้ อ มู ล ทั้ ง 6
ห มู่ บ ้ า น เ ป็ น จ า น ว น ใ ก ล ้ เ คี ย ง กั น ทุ ก ห มู่ บ ้ า น

เพือให ่
้ได ้ข ้อมูลทีครอบคลุ มมากทีสุ ่ ด

วิธก
ี ารเก็บข้อมู ล

1.ขันตอนแรกให ้ผูช ่ นคนในพืนที
้ ว่ ยวิจยั ซึงเป็ ้ พาไปยั
่ งบ ้านขอ
่ คุณสมบัตต
งผูบ้ อกภาษาทีมี ิ รงตามทีผู ่ ว้ จิ ยั กาหนดไวแ้ ละช่วยแนะ
นางสาวสุมต
ิ ตรา คงขจร 594301040A
วิชาภาษาไทยถิน ่ ชัน
้ ปี ที3
่ กลุม
่ เรียน(อังคารเช้า)
น า ผู ้ วิ จั ย ใ ห ้ กั บ ผู ้ บ อ ก ภ า ษ า ท่ า น นั้ น
หลังจากนั้นผูว้ จิ ยั จึงทาการพูดคุยกับผูบ้ อกภาษาเพือที ่ จะท ่ าความ
คุน้ เคยก่อนการสัมภาษณ์โดยในการสัมภาษณ์นีจะมี ้ การสัมภาษ
ณ์ผูบ้ อกภาษาทีละคนและมีการเดินไปตามบา้ นต่างๆแลว้ มีการใช ้
คาถามในส่วนแรกของแบบสอบถามซึงเป็ ่ นเรืองเกี
่ ่
ยวกั บข ้อมูลส่วน
ตั ว ข อ ง ผู ้ บ อ ก ภ า ษ า

เพือตรวจสอบคุ ณสมบัตข ิ องผูบ้ อกภาษาว่าตรงกับทีผู่ ว้ จิ ยั กาหนดไ
ี ครง้ั
ว ้หรือไม่อก
2. ผูว้ จิ ยั ควรนาแบบสอบถามส่วนที่ 2 เพือเก็ ่ บข ้อมูลคาศัพท ์
7 0
คาอธิบายกับผู ้บอกภาษาว่าผู ้วิจยั ต ้องการมาขอความรู ้เรืองภาษาที ่ ่
คนในแถบนี ใช ้ ้ในชีวต ิ ประจาวันไม่ได ้เจาะจงภาษาใดเป็ นพิเศษฉะนั้
นคาตอบจึงไม่มถ ี กู หรือผิดเพือป้ ่ องกันมิให ้ผูบ้ อกภาษาตอบแบบคา
่ นภาษาไทยกรุงเทพฯหรือภาษาโซ่งเพียงอย่างเดียวเมือผู
ศัพท ์ทีเป็ ่ ว้ ิ
จัยถามคาถามก็ให ้ตอบตามความเป็ นจริงหลังจากนั้นผู ้วิจยั ได ้สัมภ
าษณ์ผู บ ้ อกภาษาโดยถามค าถามตามรายการเตรีย มมาทีล ะค า
ในส่วนของคาทีผู ่ ว้ จิ ยั สามารถหารูปภาพหรือของจริงมาประกอบก
ารถามคาถามได ้ผูว้ จิ ยั จะใหผ ้ ูบ้ อกภาษาดูรูปภาพหรือของจริงส่วน
คาถามทีไม่ ่ สามารถหารูปภาพมาได ้ผูว้ จิ ยั จะใช ้การทาท่าทางประก

อบซึงในขั ้
นตอนนี ้ ใจจะเป็
ที ่ นผูถ้ อ ื แบบสอบถามไว ้กับตัวเองไม่ใหผ
้ ู้
ปกภาษาเห็ นแบบสอบถามโดยเด็ดขาดและวิจยั เป็ นผูเ้ ลือกคาตอบ
่ ่ในแบบสอบถามหรือเขียนเพิมเติ
ทีอยู ่ มลงไปในกรณี ทคี่ าตอบไม่ตร
งกับตัวเลือกในแบบสอบถามทีเตรี ่ ยมมาล่วงหน้า

3
่ จั
เมือที ่ ดเก็บข ้อมูลคาศัพท ์เรียบร ้อยแล ้วหลังจากนั้นผู ้วิจยั จึงเก็บข ้
อมูลวรรณยุกต ์จากรายการคาแก ้วคาสาหร ับทดสอบเสียงวรรณยุก
นางสาวสุมต
ิ ตรา คงขจร 594301040A
วิชาภาษาไทยถิน ่ ชัน
้ ปี ที3
่ กลุม
่ เรียน(อังคารเช้า)
ต ์โดย

พีใจใส่ รป
ู ภาพของจริงและการแสดงท่าทางประกอบการสัมภาษณ์เ
ช่นการในส่วนของการทดสอบเรืองวรรณยุ ่ กต ์ผู ้วิจยั จะซ ักซ ้อมวิธก ี
ารในการออกเสียงกับผู ้หมวดภาษา 1 ครงก่ ้ั อน
หรือจนกว่าผู ้บอกภาษาจะเข ้าใจเพราะระหว่างทีเก็ ่ บข ้อมูลผู ้วิจยั ต ้อ
งการให ้ผู ้บอกภาษาแบ่งเสียงคาคานั้นออกมาจริงๆไม่ใช่เกิดจากกา
รชีน้ าของผูว้ จิ ยั จากนั้นจึง
ทาการทดสอบจริงในระหว่างการเก็บข ้อมูลเสียงวรรณยุกต ์วิจยั จะ
ทาการบันทึก เสียงด ้วยเครืองบั ่ นทึกเสียงแบบดิจต ิ อลยีห่ ้อ
creative รุน ่ muvo 200 ขนาด 256 MB
ตลอดระยะเวลาการเก็บข ้อมูลนอกจากนี ผู ้ ้วิจยั สอบถามข ้อมูลเพิมเ ่
ติม

เกียวกั บแวดวงการใช ้ภาษาและข ้อมูลในการใช ้สือต่ ่ างๆเช่นวิทยุโท
รทัศน์เป็ นต ้นเพือศึ่ กษาว่าด ้วยวงการใช ้ภาษาและสือจะเข ่ ้ามามีอท ิ
ธิพลต่อการใช ้ภาษาโซ่งในชีวต ิ ประจาวันของชาวโซ่งมากน้อยเพีย

งใดเพือให ้เห็นภาพการแปรของภาษาโซ่งช ัดเจน
่ น้
มากยิงขึ
4 . ก า ร เ ก็ บ ข ้ อ มู ล ทั ศ น ค ติ ด ้ ว ย ค า ถ า ม ทั้ ง 1 0
ข ้ อ นี ้ จ ะ ท า ห ลั ง จ า ก ก า ร ที่ เ ก็ บ ข ้ อ มู ล
คาศัพท ์เรียกวรรณยุกต ์เสร็จเรียบร ้อยแล ้วมิฉะนั้นผูบ้ อกภาษาอาจ
จะคาดเดาได ้ว่าผูว้ จิ ยั ต ้องการข ้อมูลอะไรและทาให ้ตอบคาถามไม่ต
รงความเป็ นจริงได ้ก่อนถามคาถามผูว้ จิ ยั เกรินน ่ าไปก่อนว่าคาถาม
้ นคาถามเพือแสดงให
นี เป็ ่ ่
้เห็นความคิดเห็นโดยทัวไปชนะให ้ตอบตา
มความรู ้สึกนึ กคิดของผูป้ กภาษาเองไม่ต ้องกลัวว่าถูกหรือผิดระหว่
างการสัมภาษณ์ข ้อมูลทัศนคตินีพยายามไม่ ้ ื่
ให ้ผูอ้ นเข ้ามาร่วมวงส
น ท น า ด้ ว ย เ พ ร า ะ
นางสาวสุมต
ิ ตรา คงขจร 594301040A
วิชาภาษาไทยถิน ่ ชัน
้ ปี ที3
่ กลุม
่ เรียน(อังคารเช้า)
อาจทาใหผ้ ูบ้ อกภาษาเกิดความกลัวผีหรือไม่กลา้ ตอบคาถามตาม
่ ้จริงของตัวเอง
ความเห็นทีแท

+การสร ้างรายการคาคัดเลือกรายการคาจากงานวิจ ัย
+การสร ้างแบบสอบถาม
ผลการศึกษาด้านคาศ ัพท ์ 42
การกระจายคาศ ัพท ์
่ จากการทดสอบคาศ ัพท ์จ ัดลาดับได้ด ังต่อไปนี ้
ข้อมู ลทีได้
การใช้คาศ ัพท ์ในจ ังหว ัดเพชรบุร ี
การกระจายด้านเสียง
การเปรียบเทียบการใช้ภาษาจากการทดสอบด้านศ ัพท ์และ
เสียง
+อภิปรายผล 97-98

 ข ้อเสนอแนะ
1.ผู ้ วิ จั ย ค ว ร จ ะ มี ก า ร เ พิ่ ม จุ ด เ ก็ บ ข ้ อ มู ล
โดยเก็บข ้อมูลทุกตาบลในอาเภอเขายอ้ ยหรืออาเภออืนที ่ มี
่ ชาวโซ่ง
อ า ศั ย อ ยู่
่ ามาเปรียบเทียบว่ามีความเหมือนหรือต่างจากผลการวิจยั นี ห
เพือน ้
รือไม่
นางสาวสุมต
ิ ตรา คงขจร 594301040A
วิชาภาษาไทยถิน ่ ชัน
้ ปี ที3
่ กลุม
่ เรียน(อังคารเช้า)
2

ผูว้ จิ ยั ควรมีการศึกษาลักษณะเช่นนี ในภาษาชนกลุ ่
่มน้อยอืนๆเช่นภ
า ษ า ล า ว ค ร ว ญ ภ า ษ า ล า ว ค ร่ั ง
่ กษาแนวโน้มการเปลียนแปลงของภาษาชนกลุ
เพือศึ ่ ่ ามี
่มน้อยอืนๆว่
ลักษณะเหมือนหรือต่างจากภาษาโซ่งหรือไม่
3 ผู ้ วิ จั ย ค ว ร ศึ ก ษ า ก า ร ใ ช ้ ภ า ษ า โ ซ่ ง
ตามตัวแปรอายุและทัศนคติต่อภาษาหากมีการศึกษาตัวแปรทางสัง
ค ม อื่ น ๆ เช่ น เพ ศ ก า ร ศึ ก ษ า ก า ร ค ม น า ค ม ถิ่ น ที่ อ ยู่

อาจจะทาให ้เห็นลักษณะการเปลียนแปลงบางอย่ างในภาษาโซ่งเพิม ่
มากขึน้

You might also like