You are on page 1of 3

รหัส 6141019524

แบบทดสอบเก็บคะแนน
1. อธิบายบทบาท ความสำคัญของภาษาอาหรับในโลกปCจจุบันพอสังเขป
ภาษาอาหรับเป,นภาษาในตระกูลเซมิติก โดยเป,นภาษามีต;นกำเนิดมาเป,นระยะเวลายาวนานในทาง
ประวัติศาสตรBภาษาอาหรับเป,นภาษาในคัมภีรBอัลกุรอานในศาสนาอิสลาม ปEจจุบันภาษาอาหรับถูกใช;เป,นภาษา
ราชการในหลายประเทศและเป,นภาษาที่คนพูดเป,นอันดับ 5 ของโลก ประเทศที่ใช;ภาษาอาหรับเป,นภาษาราชการ
เชNน อียิปตB เลบานอน โมร็อกโก ซาอุดีอาระเบีย จอรBแดน เป,นต;น ซึ่งจะเป,นประเทศสNวนมากในแถบประเทศ
ภูมิภาคตะวันออกกลาง อยNางไรก็ตามประเทศใกล;เคียงยังคงมีประชากรจำนวนมากที่สามารถสื่อสารภาษาอาหรับ
ได;เชNนกัน ดังนั้นภาษาอาหรับจึงเป,นภาษาที่จำเป,นสำหรับผู;ที่ต;องการไปทำงานหรือไปเรียนในตะวันออกกลาง อีก
ทั้งประเทศในตะวันออกกลางที่ใช;ภาษาอาหรับสื่อสารยังเป,นประเทศที่มีอิทธิพลในการเมืองระหวNางประเทศของ
โลกและเป,นประเทศที่เป,นมหาอำนาจทางเศรษฐกิจอยNางน้ำมันและแกWสธรรมชาติ นอกจากนี้ภาษาอาหรับถูก
จัดเป,นหนึ่งในภาษาสำคัญขององคBกรสหประชาชาติ ได;แกN ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาจีน ภาษาสเปน
ภาษารัสเซีย และภาษาอาหรับ หากกลNาวโดยสรุป ในปEจจุบันภาษาอาหรับกลายเป,นภาษาที่มีอิทธิพลในทาง
การเมืองระหวNางประเทศ เศรษฐกิจ และสังคมในกรณีที่เป,นภาษาในคัมภีรอB ัลกุรอาน การเรียนภาษาอาหรับจึง
ชNวยให;เข;าใจถึงคำสอนมากขึน้
2. อธิบายลักษณะเดIนของภาษาอาหรับมาอยIางนJอย 5 ประการ
1. ภาษาอาหรับเป,นภาษาที่เริ่มเขียนจากขวาไปซ;าย ซึ่งภาษาสNวนมากในโลกจะเขียนจากซ;ายไปขวา
2. ภาษาอาหรับแบNงคำออกเป,น 3 ประเภท คือ คำนาม คำกริยา และคำอนุภาคเชNนคำบุพบท ซึ่งทำประโยค
ในภาษาอาหรับจะมีด;วยกัน 2 ประเภท คือ ประโยคคำนาม เป,นประโยคที่ขึ้นต;นด;วยคำนาม และ
ประโยคคำกริยา เป,นประโยคที่ขึ้นต;นด;วยคำกริยาอาจเป,นได;ทั้งคำกริยาอดีตกาล หรือปEจจุบันและ
อนาคตกาล
3. ภาษาอาหรับเป,นภาษาที่แม;พูดมาคำเดียวสามารถแยกออกมาได;หลายคำ เชNน ‫ت‬ ْ َ‫ﺷِرﺑ‬
َ แปลวNา หลNอน
ผู;หญิงคนหนึ่งได;ดื่มแล;ว เนื่องมาจาก ‫ت‬ที่ลงท;ายแสดงให;เห็นถึงคำกริยาที่ผู;หญิงบุรษที่ 3 ทำ และแสดง
ให;เห็นถึงวNาเป,นลักษณะของกริยาอดีตกาล โดยสรุปคือคำๆเดียวในภาษาอาหรับสามารถแสดงให;เห็นทั้ง
ประธานของประโยค ประเภทคำกริยาได;ภายในคำเดียว
4. ภาษาอาหรับสามารถอNานได;แม;ไมNมีสระ และโดยสNวนมากภาษาอาหรับในชีวิตประจำวันจะไมNนิยมใสNสระ
ให;เห็น
5. ภาษาอาหรับมีพจนB 3 พจนB คือ เอกพจนB ทวิพจนB และพหูพจนB โดยการผันคำกริยาและคำนามจะต;องผัน
ให;สอดคล;องกัน เชNน ‫ﺷرﺑﺎ اﻟﺣﻠﯾب اﻟطﺎﻟﺑﺎن‬แปลวNา นักเรียนชายสองคนกำลังดื่มนม
รหัส 6141019524

3. อธิบายความหมายของภาษา โดยยกตัวอยIางแนวคิดเกี่ยวกับการกำเนิดของภาษามา 1 แนวคิด


ทฤษฎีการลอกเลียนแบบ เป,นแนวคิดที่เชื่อวNาภาษากำเนิดมาจากการลอกเลียนแบบ โดยมนุษยBลอกเลียน
เสียงสิ่งตNาง ๆ จากการการเคลื่อนไหว การร;อง เชNน แมวมีเสียงร;องเหมียว ๆ มนุษยBอาจเลียนแบบเสียงเหมียวๆ
จนเมื่อมนุษยBมีคลังศัพทBมากขึ้นและพัฒนาคำตามใจตนเอง จนเกิดมาเป,นคำวNาแมว เสียงของอีกา ที่ร;องกากากา
มนุษยBเลยเรียกวNาวNา อีกา นักวิชาการในสายทฤษฎีนี้เชNน Ibn Jinny นักปราชญBอาหรับในยุคกลาง
4. อธิบายลักษณะทั่วไปของภาษาอยIางนJอย 2 ประการ
1. ภาษาเป,นสิ่งเฉพาะของมนุษยB มนุษยBสามารถพูดทุกสิ่งทุกอยNางตามใจของตนเองได; ไมNมีข;อจำกัดในการ
ถNายทอด ซึ่งแตกตNางจากสัตวBที่มีข;อจำกัด และไปตามสัญชาตญาณ เชNน สัตวBมีการถNายทอดและสื่อสารที่
เป,นไปตามสัญชาตญาณ ปราศจากการยับยั้งชั่งใจและไตรNตรองถึงผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นเมื่อสื่อสารไป
แล;ว ในขณะที่มนุษยBตามที่อริสโตเติลและนักคิดสัญญาประชาคมอยNาง John Locke และ Russeau เชื่อ
วNามนุษยBเป,นผู;ที่มีเหตุผล ดังนั้นหากมองในด;านการสื่อสารจะเห็นได;วNามนุษยBสามารถคิดกNอนที่จะพูดได;
ไตรNตรองถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นหากพูดออกไปแล;ว รวมถึงมีวิจารณญาณในการรับสารวNาสารที่รับ
นNาเชื่อถือมากน;อยเพียงใด
2. ภาษามีระดับ กลNาวคือในทุกภาษามีระดับของการสื่อสารวNาภาษาระดับนี้ควรจะใช;กับใคร สถานการณBใด
เชNน คำวNา รับประทานเป,นคำสุภาพของคำวNากิน มักใช;ในสถานการณBที่เป,นทางการ ในขณะที่คำวNากิน
เป,นคำพูดที่ใช;ทั่วไป หากเราใช;คำวNารับประทานในการพูดกับเพื่อนอาจทำให;การสนทนาไมNลื่นไหล
นอกจากนี้ยังมีคำอื่นๆ ที่แปลวNากิน เชNน ฉัน ใช;กับพระภิกษุสามเณร เสวย ใช;กับสมาชิกของราชวงศB และ
เขมือบที่ใช;กับสัตวBบางจำพวก กระแทกปากหรือแดก อาจใช;ในหมูNเพื่อนฝูงที่ใกล;ชิดสนิทสนม เป,นต;น
นอกจากภาษาจะมีระดับแล;ว ระดับของภาษายังสะท;อนให;เห็นถึงอารมณBของผู;พูดได;เชNนกัน เชNน วันนี้
โคตรหิวเลย ไปหาไรกระแทกปากกันดีกวNา! แสดงถึงความรู;สึกหิว หรือหากเราโกรธเราอาจสื่อสารใน
ลักษณะระดับภาษาเดิมที่เคยพูดหรือต่ำกวNาปกติได; แตNสิ่งที่เห็นได;ชัดคือ อารมณBและความรูส; ึกที่
แสดงออกผNานมาทางภาษา
รหัส 6141019524

5. ความสำคัญของการศึกษาทางดJานเสียง
เสียงเป,นจุดกำเนิดของภาษา การได;ยินเสียงนำมาซึ่งการเลียนแบบเสียงของมนุษยBและถูกพัฒนาจนมา
เป,นภาษา โดยเสียงประกอบขึ้นมาจากหนNวยเสียงที่เป,นสNวนที่มีขนาดเล็กที่สุด เมื่อเสียงประกอบกับเสียงจะ
กลายเป,นหนNวยคำ และหากหนNวยคำประกอบกับหนNวยคำจะกลายเป,นคำ และเมื่อคำประกอบกับคำก็จะ
กลายเป,นประโยค ดังนั้นในการศึกษาเรื่องเสียงจึงมีความสำคัญมากตNอการพัฒนาการของภาษา และการเรียน
ภาษา เพราะการจะสื่อสารภาษาใดภาษาหนึ่ง การเรียนรู;เรื่องเสียงเป,นสิ่งจำเป,นหากต;องการพูดให;ถูกต;องและ
เจ;าของภาษาสามารถเข;าใจในการสื่อสาร ศาสตรBที่ศึกษาเกี่ยวกับเสียงคือ สัทศาสตรB (Phonetics) และสามารถ
แยกยNอยลงไปอีกในหลายสาขา ได;แกN สรีรสัทศาสตรB (Articulatory Phonetics) ศึกษาเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว
ของเสียงเมื่อผNานอวัยวะตNางๆที่ใช;ในการพูดอยNาง ปาก ลิ้น เพดาน จมูก เชNน วNา เสียงที่พูดออกมาใช;อวัยวะใดใน
การออกเสียงบ;าง เสียงสั่นตรงไหนบ;าง เป,นต;น และกลสัทศาสตรB ( Acoustic Phonetics) ศึกษาเสียงผNาน
เครือ่ งมือทางวิทยาศาสตรB เชNน Sound Spectrograph เชNน คลื่นเสียงที่ได;มลี ักษณะเป,นอยNางไร เป,นต;น
6. ความหมายและหนJาที่ของหนIวยเสียง (Phoneme)
จากการที่ได;กลNาววNาเสียงประกอบขึ้นมาจากหนNวยเสียงที่เป,นสNวนที่มีขนาดเล็กที่สุด เมื่อเสียงประกอบกับ
เสียงจะกลายเป,นหนNวยคำ และหากหนNวยคำประกอบกับหนNวยคำจะกลายเป,นคำ และเมื่อคำประกอบกับคำก็จะ
กลายเป,นประโยค นั่นคือ หนNวยเสียง (Phoneme) เป,นสNวนที่มีขนาดเล็กทีส่ ุดของคำและประโยค หน;าที่ของ
หนNวยเสียงจึงมีความสำคัญอยNางยิ่งในภาษาของมนุษยB เพราะคำพูดที่เราพูดกันอยูNทุกวันประกอบขึ้นมาจากสNวนที่
เล็กที่สุด นั่นคือหนNวยเสีง มีวิชาที่ศึกษาเรื่องหนNวยเสียง คือ สรศาสตรB (Phonemics) เป,นวิชาที่ศึกษาหนNวยเสียงที่
ได;ยินผNานการเอาเสียงมาวิเคราะหBอีกที หรือเสียงเป,ยวัตถุดิบสำหรับการศึกษาหนNวยเสียง เชNน คำวNา Paper เสียง
พ ที่ออกในพยางคBแรก และเสียง ป ในพยางคBหลัง ถือเป,นหนNวยเสียงเดียวกันหรือไมN โดยเป,นวิชาที่มีประโยชนB
สำหรับการจัดทำตัวอักษรที่มีประสิทธิภาพได;แกNภาษาที่ยังไมNมตี ัวเขียน

You might also like