You are on page 1of 36

ครูรุจน์ หาเรือนทรง จัดทําโดย : ครูรุจน์ หาเรือนทรง

1
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด

• วิเคราะห์ความสําคัญและความจําเป็ นที่ตอ้ งธํารงรักษาไว้ซึ่งการ


ปกครองตามระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็ น
ประมุข (ส 2.2 ม.4-6/1)

ครูรุจน์ หาเรือนทรง 2
การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริยเ์ ป็ นประมุข
1. ความหมายและลักษณะ
2. ฐานะและพระราชอํานาจของพระมหากษัตริย ์
กําหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ
3. พระราชอํานาจของพระมหากษัตริยท์ ี่ไม่ได้
กําหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ
4. พระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย ์
5. บทบาทของพระมหากษัตริยไ์ ทย
ครูรุจน์ หาเรือนทรง 3
ความหมายและลักษณะ
• การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเ์ ป็ น
ประมุข : ราชาธิปไตยภายใต้รฐั ธรรมนูญ (constitutional
monarchy) พระราชอํานาจของพระมหากษัตริยถ์ กู จํากัดอยูภ่ ายใต้
รัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริยไ์ ม่ทรงเป็ นประมุขของฝ่ ายบริหาร
เพราะฝ่ ายบริหารมีนายกรัฐมนตรีจากประชาชนเป็ นหัวหน้าหรือ
ประมุขอยูแ่ ล้ว การปกครองแบบนี้ เรียกอีกชื่อว่า ปริมิตาญาสิทธิ
ราชย์ (limited monarchy) ซึ่งไม่เหมือนกับราชาธิปไตยโดยสมบูรณ์

ครูรุจน์ หาเรือนทรง 4
พระราชฐานะของพระมหากษัตริยป์ ระมุขแห่งรัฐ (Head of State) :
พระมหากษัตริยท์ รงปกเกล้าแต่มิได้ปกครอง
(The King reigns but does not rules) คือ
1. ทรงทําหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญ
เช่น การแต่งตั้งนายกฯ ยุบสภา 1.องค์ประกอบที่มี
ประสิทธิภาพ (efficient)
2. ปฏิบตั ิพระราชภารกิจอย่างเป็ น
+2.องค์ประกอบที่ทรงไว้ซึ่ง
ทางการ เช่น พระราชพิธี งาน เกียรติยศ (dignfied)
พระราชกุศลต่างๆ (Walter Bagehot,1967)
3. ทรงเป็ นสัญลักษณ์และศูนย์รวม
จิตใจของชาติ
ครูรุจน์ หาเรือนทรง 5
พระราชฐานะของพระมหากษัตริยท์ ี่เกี่ยวกับฝ่ ายบริหาร

หลัก The King Can Do No Wrong – พระมหากษัตริยท์ รงอยูเ่ หนือ


ความรับผิดทางการเมือง เพื่อป้องกันพระมหากษัตริยจ์ ากการ
ต่อสูท้ างการเมือง
1. พระมหากษัตริยจ์ ะต้องทรงกระทําการใดๆ เกี่ยวกับการบริหารโดย
คําแนะนําของคณะรัฐมนตรี
2. ถ้อยแถลงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับรัฐบาลต้องทรงทําโดยคําแนะนําของ
คณะรัฐมนตรี
3. พระมหากษัตริยจ์ ะต้องยอมรับและสนับสนุ นคําแนะนําของ
คณะรัฐมนตรีที่ถวายต่อพระองค์

ครูรุจน์ หาเรือนทรง 6
พระราชฐานะของพระมหากษัตริยเ์ ป็ นประมุขแห่งศาสนจักร

1. เป็ นพุทธมามกะ แปลว่า ผูท้ ี่ประกาศตนว่าเป็ นผูท้ ี่นบั ถือพุทธ


ศาสนา
2. อัครศาสนูปถัมภก แปลว่า หัวหน้าผูท้ าํ นุบาํ รุงศาสนา

ครูรุจน์ หาเรือนทรง 7
พระราชฐานะของพระมหากษัตริยเ์ ป็ นประมุขของกองทัพ

• จอมทัพ (Commander-in-chief) คือ ผูส้ ามารถใช้อาํ นาจสูงสุดหรือ


กองกําลังทหารทั้งปวงในประเทศ โดยทัว่ ไปผูท้ ี่ดาํ รงตําแหน่ งนี้ คือ
ประมุขของรัฐหรือหัวหน้ารัฐบาลซึ่งอาจเป็ นพลเรือนก็ได้
• สําหรับในประเทศไทยจอมทัพเป็ นตําแหน่ ง ไม่ใช่ยศทหาร ผูท้ ี่ดาํ รง
ตําแหน่ งจอมทัพ คือ พระมหากษัตริย์ เป็ นการถวายพระเกียรติตาม
ความเชื่อตามคติโบราณ

ครูรุจน์ หาเรือนทรง 8
พระมหากษัตริยเ์ ป็ นที่มาแห่งความยุตธิ รรม
(Fountain of Justice)
• ศาล คือ ศาลของ
พระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริยจ์ ะต้อง
• ผูพ้ ิพากษา คือ ผูพ้ ิพากษาของ ทรงใช้พระราชอํานาจตาม
คําแนะนําของ
พระมหากษัตริย์ พิพากษาใน
คณะรัฐมนตรี/รัฐสภา ใน
นามของพระมหากษัตริย์ การพระราชทานอภัยโทษ
• นักโทษ คือ นักโทษของ หรือ แต่งตั้งผูพ้ ิพากษา
พระมหากษัตริย์

ครูรุจน์ หาเรือนทรง 9
พระมหากษัตริยเ์ ป็ นที่มาแห่งเกียรติยศ
(Fountain of Honour)
• แนวคิด : พระมหากษัตริยจ์ ะพระราชทานรางวัลแห่งเกียรติยศให้กบั
ทหารที่เข้าร่วมสงคราม ผูท้ ี่รบั ใช้พระมหากษัตริยด์ ว้ ยความซื่อสัตย์
จงรักภักดี หรือผูท้ ี่ทาํ คุณประโยชน์แก่แผ่นดิน

ครูรุจน์ หาเรือนทรง 10
รัฐแบบราชาธิปไตยภายใต้รฐั ธรรมนูญส่วนใหญ่มกั
ปกครองด้วยระบบรัฐสภา

ครูรุจน์ หาเรือนทรง 11
สถาบันพระมหากษัตริยไ์ ทยและคุณธรรมการปกครอง
ทศพิธราชธรรม หรือธรรมของพระราชา 10 ประการ
สถาบันพระมหากษัตริยไ์ ทยยึดมัน่ ใน
ทศพิธราชธรรมอันมีคุณค่ายิง่ ได้แก่
1. ทาน
2. ศีล ทรงปฏิบตั ิพระองค์ตามหลักศาสนาเป็ น
แบบอย่างที่ดีต่อประชาชน
3. บริจาค คือ สละอุทิศสิ่งทั้งปวงเพื่อส่วนรวม
4. ความซื่อตรง (อาชชวะ) ทรงซื่อสัตย์สุจริตต่อชาติ
และประชาชนของพระองค์
5. ความอ่อนโยน (มัททวะ)

ครูรุจน์ หาเรือนทรง 12
6. ความเพียร (ตบะ) ทรงมีพระราชอุตสาหะปฏิบตั ิพระราชกรณียกิจ
อย่างสมบูรณ์ครบถ้วน
7. ความอดกลั้นไม่แสดงความโกรธ (อักโกธะ) ทรงมีเมตตา
8. ความไม่เบียดเบียน(อวิหิงสา)
9. ความอดทน (ขันติ)
10. ความเที่ยงธรรม (อวิโรธนะ) ทรงตั้งอยูใ่ นขัตติยราชประเพณี ทรง
ยึดในพระราชจริยานุ วตั รอันถูกต้อง

ครูรุจน์ หาเรือนทรง 13
ฐานะและพระราชอํานาจของพระมหากษัตริย ์
ที่กาํ หนดไว้ในรัฐธรรมนูญ
• 1) ทรงใช้อาํ นาจอธิปไตย (มาตรา3)
ทรงใช้อาํ นาจนิตบิ ญ
ั ญัตผิ ่านทางรัฐสภา
ทรงใช้อาํ นาจบริหารผ่านทางคณะรัฐมนตรี
ทรงใช้อาํ นาจตุลาการผ่านทางศาล
• ศาลรัฐธรรมนูญ
• ศาลยุตธิ รรม
• ศาลปกครอง
• ศาลทหาร
ครูรุจน์ หาเรือนทรง 14
เพิ่มเติม เรื่อง ศาล
• ศาลยุติธรรมประกอบไปด้วย
• 1. ศาลชั้นต้น : ศาลเพ่ง ศาลกรุงเทพใต้ ศาลเพ่งธนบุรี
ศาลอาญา ศาลอาญากรุงเทพใต้ ศาลอาญาธนบุรี ศาล
จังหวัด ศาลแขวง และศาลชํานัญพิเศษอื่นๆ
• 2. ศาลอุทธรณ์ : ศาลอุทธรณ์และศาลอุทธรณ์ภาค
• 3. ศาลฎีกา (เป็ นศาลยุติธรรมสูงสุดมีศาลเดียว)

ครูรุจน์ หาเรือนทรง 15
• 2) พระมหากษัตริยท์ รงดํารงอยูใ่ นฐานะอันเป็ นที่
เคารพสักการะผูใ้ ดจะละเมิดมิได้ (มาตรา8)
• พระมหากษัตริยไ์ ม่ทรงกระทําผิด (The King can do
no wrong) หมายความว่า พระมหากษัตริยไ์ ม่ตอ้ ง
รับผิดชอบในพระบรมราชโองการหรือการกระทําใน
พระปรมาภิไธยของพระองค์ในกรณีที่มีความเสียหาย
บกพร่องเกิดขึ้ น

ครูรุจน์ หาเรือนทรง 16
หลัก The King Can Do No Wrong - พระมหากษัตริยท์ รงอยู่
เหนื อความรับผิดทางการเมือง
พระมหากษัตริยใ์ นระบอบ
ประชาธิปไตยจะทรงใช้พระราชอํานาจ
รัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้ ต่อเมื่อมีผทู้ ลู เกล้าฯ ขึ้ นไปเท่านั้น
มาตรา ๑๙๕ บทกฎหมาย พระราชหัตถเลขา และพระบรมราชโองการอัน
เกี่ยวกับราชการแผ่นดิน ต้องมีรฐั มนตรีลงนามรับสนองพระบรมราช
โองการ เว้นแต่ที่มีบญ ผูล้ งนามรั
ั ญัติไว้เป็ นอย่างอื่นในรัฐธรรมนู ญนี้ บสนองพระบรมราช
โองการคือผูม้ ีอาํ นาจหน้าที่ในการ
หมายความว่า ถ้ารัฐธรรมนูญบัญญัติให้ ทูลเกล้า
ใครเป็ นผูล้ งนามรับสนองพระบรมราช
หมายถึงนายกรัฐมนตรี เว้นแต่
โองการในเรื่องใด ก็เป็ นไปตามนั้น ถ้าไม่
ในเรื่องที่มีกฎหมายบัญญัติไว้วา่
บัญญัติเอาไว้ คนลงนามรับสนองพระ
เป็ นอํานาจของรัฐมนตรี
บรมราชโองการคือนายกรัฐมนตรี
ครูรุจน์ หาเรือนทรง กระทรวงใดเป็ นการเฉพาะ 17
• 3) ทรงเป็ นพุทธมามกะและทรงเป็ นอัครศาสนูปถัมภก (มาตรา9)

ครูรุจน์ หาเรือนทรง 18
• 4) ทรงดํารงตําแหน่งจอมทัพไทย (มาตรา10) :
เป็ นผูน้ ํากองทัพยามสงคราม และเป็ นขวัญกําลังใจแก่
ทหารทุกเหล่าทัพ

ครูรุจน์ หาเรือนทรง 19
• 5) ทรงไว้ซึ่งพระราชอํานาจในการสถาปนา
ฐานันดรศักดิ์และพระราชทาน
เครือ่ งราชอิสริยาภรณ์ (มาตรา11)
• 6)ทรงเลือกและแต่งตัง้ ผูท้ รงคุณวุฒิเป็ น
องคมนตรี 1+18 (มาตรา12)

ครูรุจน์ หาเรือนทรง 20
• 7) พระราชอํานาจในการแต่งตัง้ ผูส้ าํ เร็จราชการ
แผ่นดิน
• 8) ทรงแต่งตัง้ นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ผูพ้ ิพากษา
ข้าราชการในพระองค์ และข้าราชการระดับสูง
• 9) พระราชอภัยโทษ
*ตามการถวายคําแนะนํา/เห็นชอบของรัฐสภา/คณะรัฐมนตรีตอ่ พระมหากษัตริย ์

ครูรุจน์ หาเรือนทรง 21
พระราชอํานาจของพระมหากษัตริย ์
ที่ไม่ได้กาํ หนดไว้ในรัฐธรรมนูญ
• 1) พระราชอํานาจตามประเพณีการ
ปกครองแผ่นดิน
พระราชอํานาจในยามวิกฤติ
พระราชอํานาจพิจารณาฎีกา
พระราชอํานาจยับยัง้ กฎหมาย
ครูรุจน์ หาเรือนทรง 22
• 2) พระราชอํานาจของพระมหากษัตริยใ์ นส่วน
ที่สมั พันธ์กบั ราชการของรัฐบาล
การพระราชทานคําปรึกษาหารือ : เป็ นสิทธิของ
พระมหากษัตริยท์ ี่จะทรงได้รบั การถวายรายงานให้ทรงทราบถึง
สถานการณ์หรือเรื่องราวของบ้านเมืองเสมอ
เป็ นกําลังใจ สนับสนุน : สิทธิที่จะพระราชทาน หรือให้การ
สนับสนุ นการกระทํา หรือกิจการใดๆ ของรัฐหรือเอกชนได้
ตักเตือน : สิทธิที่จะให้คาํ แนะนํา ตักเตือนในบางเรื่อง บางกรณี
แก่รฐั สภา รัฐบาลและศาล หรือองค์กรอื่น ๆ ที่ทรงเห็นว่าถ้า
กระทําไปแล้วจะเกิดผลเสียหายแก่บา้ นเมือง
ครูรุจน์ หาเรือนทรง 23
พระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย ์

• 1) พิธีการและศาสนา
• 2) สงเคราะห์ประชาชน
• 3) พัฒนาสังคม
• 4) การเมืองการปกครอง

ครูรุจน์ หาเรือนทรง 24
พิธีการและศาสนา
• พระมหากษัตริยท์ รงเป็ นองค์ประธานในพิธีการต่างๆ ได้แก่ การเปิ ด
และปิ ดสมัยประชุมรัฐสภา ทรงเป็ นผูแ้ ทนทางการทูตของประเทศใน
การเจริญสัมพันธไมตรีกบั ต่างประเทศ และทรงต้อนรับแขกเมือง
พระราชทานปริญญาบัตรและพระบรมราโชวาทแก่บณ ั ฑิตของ
มหาวิทยาลัยต่างๆ

ครูรุจน์ หาเรือนทรง 25
• ในทางศาสนาพระมหากษัตริยท์ รงเป็ นพุทธมามกะและองค์อคั ร
ศาสนู ปถัมภก พระองค์ทรงบําเพ็ญพระราชกรณียกิจทางศาสนา
เกี่ยวกับภารกิจด้านพระราชกุศลและพิธีต่างๆ และทรงมีพระบรมรา
ชานุ เคราะห์เพื่อความมัน่ คงแห่งสถาบันศาสนาต่างๆ ทั้ง
พระพุทธศาสนาและศาสนาอื่นๆ

ครูรุจน์ หาเรือนทรง 26
สงเคราะห์ประชาชน
• ได้แก่ พระราชทานทุนการศึกษา สงเคราะห์คนยากจน คนพิการ
เจ็บป่ วย และชราเมื่อราษฎรประสบภัยธรรมชาติ หรือความทุกข์ยาก
พระองค์พระราชทานความช่วยเหลือ ทรงเป็ นผูน้ ําทางด้านสังคม
สงเคราะห์อย่างแท้จริง

ครูรุจน์ หาเรือนทรง 27
• โครงการเพื่อประโยชน์สุขของปวงชนชาวไทย ได้แก่ โครงการอีสาน
เขียว โครงการปฏิรปู ที่ดิน โครงการ สหกรณ์แบบต่างๆ โครงการ
ด้านการเกษตร โครงการฝนหลวง โครงการนาสาธิต โครงการแพทย์
หลวง โครงการพัฒนาที่ดิน โครงการการศึกษา โรงเรียนร่มเกล้า
โครงการแก้ปัญหาจราจรในกรุงเทพมหานคร โครงการฝึ กอาชีพต่างๆ
เป็ นต้น โครงการทั้งหลายนี้ ล้วนได้รบั การสนับสนุ นจากราษฎร หน่ วย
ราชการ เกิดผลดีต่อประเทศชาติและประชาชน

ครูรุจน์ หาเรือนทรง 28
พัฒนาสังคม
พระมหากษัตริยท์ รงบําเพ็ญพระราชกรณียกิจทั้งปวงเพื่อให้เกิด
ประโยชน์สุขและความเจริญแก่สงั คม ได้ทรงริเริ่มโครงการต่างๆ ทํา
ให้เกิดการพัฒนาขึ้ นทั้งในด้านเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
พระราชดําริและโครงการที่ทรงริเริ่มมีมากซึ่งล้วนแต่เป็ นรากฐานใน
การพัฒนาชาติท้งั สิ้ น

ครูรุจน์ หาเรือนทรง 29
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ หมายความว่า “โครงการที่
พระราชทานแนวพระราชดําริไว้เบื้ องต้นเท่านั้น โดยทุกฝ่ ายที่
เกี่ยวข้องจะนําไปพิจารณากลัน่ กรองตามขั้นตอนก่อนที่จะดําเนิ นการ
หากเห็นว่าไม่เหมาะสมและบางกรณีก็มิได้มีการดําเนิ นการ ก็ไม่ทรง
ว่าประการใด เพราะพระองค์เพียงพระราชทานแนวความคิดเท่านั้น”
(โครงการตามพระราชประสงค์/โครงการหลวง/โครงการตาม
พระราชดําริ/โครงการในพระบรมราชานุ เคราะห์)

• ที่มา : คณะกรรมการพิเศษเพื่อการประสานงานโครงการอันเนื่ องมาจากพระราชดําริ (กปร.)

ครูรุจน์ หาเรือนทรง 30
ตัวอย่างโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ
โครงการพระราชดําริเกี่ยวกับป่ า
โครงการพระราชดําริเกี่ยวกับดิน
โครงการพระราชดําริเกี่ยวกับนํ้า
โครงการทางด้านวิศวกรรม
โครงการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม
โครงการพัฒนาเกษตร
โครงการพัฒนาเกษตรในชนบท
โครงการเสริมอาชีพ
โครงการสวัสดิการสังคม
โครงการด้านคมนาคมและการสื่อสาร
โครงการสาธารณสุข

ครูรุจน์ หาเรือนทรง 31
การเมืองการปกครอง
• สถาบันพระมหากษัตริยไ์ ด้มีบทบาทเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง
การรวมชาติ การสร้างเอกราช การวางรากฐานการเมืองการ
ปกครอง การสร้างเสถียรภาพทางการเมืองการปกครอง การปฏิรปู
การปกครองแผ่นดินตั้งแต่อดีตสืบต่อมาตลอดปั จจุบนั

ครูรุจน์ หาเรือนทรง 32
บทบาทของพระมหากษัตริยไ์ ทย
1. พระมหากษัตริยท์ รงเป็ นศูนย์รวมจิตใจของประชาชน
2. พระมหากษัตริยท์ รงเป็ นสัญลักษณ์แห่งความต่อเนื่องของชาติ
3. พระมหากษัตริยไ์ ทยทรงเป็ นพุทธมามกะและอัครศาสนูปถัมภก
4. พระมหากษัตริยท์ รงเป็ นพลังในการสร้างขวัญและกําลังใจของ
ประชาชน

ครูรุจน์ หาเรือนทรง 33
5. พระมหากษัตริยท์ รงมีสว่ นสําคัญในการรักษาผลประโยชน์ของ
ประชาชนและทําให้การบริหารงานประเทศเป็ นไปด้วยดี
6. พระมหากษัตริยท์ รงแก้ไขวิกฤตการณ์
7. พระมหากษัตริยท์ รงส่งเสริมความมั ่นคงของประเทศ
8. พระมหากษัตริยท์ รงมีสว่ นเสริมสร้างสัมพันธไมตรีระหว่าง
ประเทศ
9. พระมหากษัตริยท์ รงเป็ นผูน้ าํ ในการพัฒนาและปฏิรูปเพื่อ
ประโยชน์ของประเทศชาติ
10. พระมหากษัตริยท์ รงมีสว่ นเกื้อหนุนระบอบประชาธิปไตย
จบจ้า
ครูรุจน์ หาเรือนทรง 34
บรรณานุกรม
กระทรวงศึกษาธิการ. 2553. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและ
การดําเนินชีวิตในสังคม.กรุงเทพฯ: สกสค. ลาดพร้าว
เจษฎา พรไชยา. 2546. พระราชอํานาจของพระมหากษัตริยข์ องประเทศไทยกับประเทศ
อังกฤษ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปริญญา เทวานฤมิตรกุล. 2553. การพัฒนาการเรียนรูป้ ระชาธิปไตย (หน้าที่พลเมือง)เพื่อ
ส่งเสริมประชาธิปไตยในสถานศึกษา. (PowerPoint) , ๓ สิงหาคม ๒๕๕๓
ณัทธนัท เลี่ยวไพโรจน์. ม.ป.ป. คัมภีรพ์ ิชิตEntrance สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม.
กรุงเทพฯ: พ.ศ.พัฒนา จํากัด
วันเพ็ญ เว็นตระกูล. 2530. ทศพิธราชธรรม. (online).
http://www.dhammajak.net/ratchathum/rat01.htm ,24 ตุลาคม 2556
อุทิศ จึงนิ พนธ์สกุล. ม.ป.ป. O-NET ม.6 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: ไฮ
เอ็ดพับลิชชิ่ง จํากัด
อํานวย พุทธมี. (2552). หนังสือเรียนแม็ค หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดําเนินชีวิต
ในสังคม. กรุงเทพฯ:แม็ค
ครูรุจน์ หาเรือนทรง 35
เว็ปไซด์
1.วิกิพิเดีย : th.wikipedia.org/wiki/ราชาธิปไตยภายใต้รฐั ธรรมนูญ
2.โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ :www.mwit.ac.th/~keng/lesson05/7.doc
3.เรารักพระเจ้าอยูห่ วั โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ : http://www.xn--
12co9drbac8a9as5aiidh8isei1npa.com/content/index.php?page=category&t
ype=view&cat=14

ครูรุจน์ หาเรือนทรง 36

You might also like