You are on page 1of 39

ถามตอบ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

คำถาม ตัวเลือก คำตอบ


1) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ก.5 เมษายน 2560 ตอบ ข. 6 เมษายน 2560
ไทยประกาศในราชกิจจานุเบกษา ข.6 เมษายน 2560 ข้อสังเกต
เมื่อใด ค.5 พฤษภาคม 2560 - ตราไว้วันที่ 6 เมษายน 2560
ง. 6 พฤษภาคม 2560 - ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 6 เมษายน 2560
- บังคับใช้ วันที่ 6 เมษายน 2560 (ตั้งแต่วันประกาศฯ)

2) พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็ นประมุข ก.สภาผู้แทนราษฎร + นายก ตอบ ง. รัฐสภา + คณะรัฐมนตรี + ศาล (มาตรา 3 วรรค
ทรงใช้อำนาจอธิปไตยผ่านทางใด รัฐมนตรี + ศาล หนึ่ง)
ข.รัฐสภา + นายกรัฐมนตรี +
ศาล
ค.สภาผู้แทนราษฎร + คณะ
รัฐมนตรี + ศาล
ง. รัฐสภา + คณะรัฐมนตรี +
ศาล
3) บุคคลใดแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิเป็ น ก.คณะองคมนตรีเลือกกันเอง ตอบ ง. พระมหากษัตริย์ (มาตรา 10 วรรคหนึ่ง)
ประธานองคมนตรี ข.นายกรัฐมนตรี
ค.ประธานรัฐสภา
ง. พระมหากษัตริย์
4) คณะองคมนตรีมีทั้งสิ้นกี่คน ก.17 คน ตอบ ค. 19 คน
ข.18 คน ข้อสังเกต
ค.19 คน - มีประธานองคมนตรี 1 คน + องคมนตรีอื่นอีกไม่เกิน
ง. 20 คน 18 คน
5) บุคคลใดมีหน้าที่ถวายความเห็น ก.นายกรัฐมนตรี ตอบ ค. คณะองคมนตรี (มาตรา 10 วรรคสอง)
ต่อพระมหากษัตริย์ในพระราช ข.วุฒิสภา
กรณียกิจทั้งปวงที่พระมหากษัตริย์ ค.คณะองคมนตรี
ทรงปรึกษา ง. ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
6) ผู้ลงนามรับสนองพระบรม ก. นายกรัฐมนตรี ตอบ ข. ประธานรัฐสภา (มาตรา 11 วรรคหนึ่ง + วรรค
ราชโองการแต่งตั้งประธาน ข. ประธานรัฐสภา สอง)
องคมนตรี / ให้ประธานองคมนตรี ค. ประธานวุฒิสภา
พ้นจากตำแหน่งคือใคร ง. ประธานคณะกรรมการการ
เลือกตั้ง
7) ผู้ลงนามรับสนองพระบรม ก.นายกรัฐมนตรี ตอบ ง. ประธานองคมนตรี (มาตรา 11 วรรคสาม)
ราชโองการแต่งตั้งองคมนตรีอื่น / ข.ประธานรัฐสภา
ให้องคมนตรีพ้นจากตำแหน่งคือ ค.ประธานวุฒิสภา
ใคร ง. ประธานองคมนตรี
8) องคมนตรีเป็ นบุคคลในข้อใดได้ ก. สมาชิกวุฒิสภา ตอบ ง. ไม่มีข้อถูก (มาตรา 12)
ข. ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ข้อสังเกต
ค. ข้าราชการพลเรือน - องคมนตรีต้องไม่เป็ น
ง. ไม่มีข้อถูก 1) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
2) สมาชิกวุฒิสภา
3) ดำรงตำแหน่งทางการเมืองอื่น
4) ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
5) ผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระ
6) พนักงานรัฐวิสาหกิจ
7) เจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ
8) สมาชิก / เจ้าหน้าที่ของพรรคการเมือง
9) ข้าราชการ เว้นแต่ การเป็ นข้าราชการในพระองค์ใน
ตำแหน่งองคมนตรี + ต้องไม่แสดงการฝั กใฝ่ ในพรรค
การเมืองใดๆ
9) ในกรณีที่ราชบัลลังก์หากว่างลง + ก. นายกรัฐมนตรี ตอบ ข. รัฐสภา (มาตรา 21 วรรคสอง)
เป็ นกรณีที่พระมหากษัตริย์มิได้ ข. รัฐสภา ข้อสังเกต
ทรงแต่งตั้งพระรัชทายาทไว้ การ ค. คณะรัฐมนตรี - คณะองคมนตรีเสนอพระนามผู้สืบราชสันตติวงศ์ต่อ
เสนอพระนามผู้สืบราชสันตติวงศ์ ง. คณะองคมนตรี คณะรัฐมนตรี เพื่อเสนอต่อรัฐสภา เพื่อรัฐสภาให้ความ
บุคคลใดเป็ นผู้ให้ความเห็นชอบ เห็นชอบ ให้ประธานรัฐสภาอัญเชิญองค์ผู้สืบราชสันตติ
วงศ์ขึ้นทรงราชย์เป็ นพระมหากษัตริย์ + ให้ประธาน
รัฐสภาประกาศให้ประชาชนทราบ
10) ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับศาลฎีกา ก. ทุกคดีที่ต้องมีการพิจารณาใช้ ตอบ ง. ถ้าจำเลยหลบหนีในระหว่างการพิจารณาคดีของ
แผนกคดีอาญาของผู้ดำรง องค์คณะเดียวกัน ศาล มิให้นับระยะเวลาที่ผู้ถูกกล่าวหา / จำเลยหลบหนี
ตำแหน่งทางการเมือง ข. คำพิพากษาของศาลฎีกา รวมเป็ นส่วนหนึ่งของอายุความ (มาตรา 25)
แผนกคดีอาญาของผู้ดำรง ข้อสังเกต
ตำแหน่งทางการเมือง จะ - ในการดำเนินคดีอาญาตาม พ.ร.บ. ประกอบ
ต้องอุทธรณ์ไปยังศาล รัฐธรรมนูญนี้ เมื่อได้ยื่นฟ้ องคดีต่อศาลแล้ว ให้อายุ
อุทธรณ์ภายใน 30 วัน ความสะดุดหยุดลง ในกรณีผู้ถูกกล่าวหา / จำเลยหลบ
ค. คำพิพากษาของศาลฎีกา หนีไปในระหว่างถูกดำเนินคดี / ระหว่างการพิจารณา
แผนกคดีอาญาของผู้ดำรง คดีของศาล มิให้นับระยะเวลาที่ผู้ถูกกล่าวหา / จำเลย
ตำแหน่งทางการเมือง หลบหนีรวมเป็ นส่วนหนึ่งของอายุความ ซึ่งมีผลให้
อุทธรณ์ไม่ได้ จำเลยต้องหนีไปตลอดชีวิต เพราะหากจับตัวได้ ก็ต้อง
ง. ถ้าจำเลยหลบหนีในระหว่าง ถูกดำเนินคดีต่อ จึงไม่มีกรณีที่ศาลยกฟ้ องเพราะคดีขาด
การพิจารณาคดีของศาล มิ อายุความอีกต่อไป
ให้นับระยะเวลาที่ผู้ถูกกล่าว
หา / จำเลยหลบหนีรวมเป็ น
ส่วนหนึ่งของอายุความ
11) บุคคลใดต่อไปนี้ หากกระทำ ก. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ตอบ ค. นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด
ผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการไม่ ข. สมาชิกวุฒิสภา ข้อสังเกต
อยู่ในอำนาจของศาลฎีกาแผนก ค. นายกองค์การบริหารส่วน - สำหรับผู้บริหารท้องถิ่น / สมาชิกสภาท้องถิ่น ไม่อยู่ใน
คดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่ง จังหวัด ความหมายของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง หาก
ทางการเมือง ง. ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ บุคคลดังกล่าวกระทำผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ต้องไปขึ้น
ศาลที่มีอำนาจพิจารณาคดีอาญาของเจ้าหน้าที่รัฐทั่วไป
คือ ศาลอาญาคดีทุจริต + ประพฤติมิชอบ
12) การตรากฎหมายที่มีผล ก. ต้องไม่ขัดต่อหลักนิติธรรม ตอบ ง. ถูกทุกข้อ (มาตรา 26)
เป็ นการจำกัดสิทธิ / เสรีภาพของ ข. ไม่เพิ่มภาระ / จำกัดสิทธิ / ข้อสังเกต
บุคคล กฎหมายดังกล่าวต้องมี เสรีภาพของบุคคลเกิน - และต้องระบุเหตุผลความจำเป็ นในการจำกัดสิทธิ +
ลักษณะอย่างไร สมควรแก่เหตุ เสรีภาพไว้ด้วย
ค. ไม่กระทบต่อศักดิ์ศรีความ
เป็ นมนุษย์ของบุคคล
ง. ถูกทุกข้อ
13) รัฐธรรมนูญมิได้บัญญัติให้ ก. การเมือง ตอบ ข. ศีลธรรม (มาตรา 27)
กฎหมายมีอำนาจจำกัดสิทธิ + ข. ศีลธรรม ข้อสังเกต
เสรีภาพของข้าราชการในด้านใด ค. สมรรถภาพ - มาตรา 27 กำหนดให้ทหาร + ตำรวจ + ข้าราชการ +
ง. วินัย เจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ + พนักงาน / ลูกจ้างขององค์กร
จ. จริยธรรม ของรัฐ ย่อมมีสิทธิ + เสรีภาพเช่นเดียวกับบุคคลทั่วไป
เว้นแต่ ในส่วนที่เกี่ยวกับการเมือง / สมรรถภาพ / วินัย
/ จริยธรรม
14) ข้อใดไม่ถือว่าเป็ นการเลือก ก.มาตรการที่รัฐกำหนดขึ้นเพื่อ ตอบ ข. มาตรการที่รัฐกำหนดขึ้นเพื่อคุ้มครอง / อำนวย
ปฏิบัติโดยไม่เป็ นธรรม คุ้มครอง / อำนวยความ ความสะดวกให้แก่คนพิการ (มาตรา 27 วรรคสี่)
สะดวกให้แก่ทหาร ตำรวจ ข้อสังเกต
ข.มาตรการที่รัฐกำหนดขึ้นเพื่อ - มาตรการที่รัฐกำหนดขึ้นเพื่อขจัดอุปสรรค / ส่งเสริมให้
คุ้มครอง / อำนวยความ บุคคลสามารถใช้สิทธิ / เสรีภาพ
สะดวกให้แก่คนพิการ
ค.มาตรการที่รัฐกำหนดขึ้นเพื่อ
คุ้มครอง / อำนวยความ
สะดวกให้แก่สมาชิก
พรรคการเมือง
ง. ถูกทุกข้อ
15) การจับ + การคุมขังบุคคลจะ ก. มีคำสั่ง / หมายของศาล ตอบ ก. มีคำสั่ง / หมายของศาล (มาตรา 28)
กระทำมิได้ ยกเว้นข้อใดสามารถ ข. มีคำสั่ง / หมายของพนักงาน
จับ + คุมขังได้ อัยการ
ค. มีคำสั่ง / หมายของตำรวจ
ง. ถูกทุกข้อ
16) การควบคุม / คุมขังผู้ต้องหา / ก. เพื่อป้ องกันมิให้ไปกระทำ ตอบ ข. เพื่อป้ องกันมิให้มีการหลบหนี (มาตรา 29 วรรค
จำเลยตามรัฐธรรมนูญ ให้กระทำ ความผิดอีก สาม)
ได้เพียงเท่าที่จำเป็ นเพื่ออะไร ข. เพื่อป้ องกันมิให้มีการหลบหนี
ค. เพื่อเป็ นการลงโทษ
ง. ถูกทุกข้อ
17) การเกณฑ์แรงงานจะกระทำ ก. มีประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ตอบ ง. ถูกทุกข้อ (มาตรา 30)
มิได้ เว้นแต่ข้อใด ข. มีการประกาศใช้กฎอัยการ ข้อสังเกต
ศึก - รวมทั้ง กรณีกฎหมายที่ตราขึ้นเพื่อป้ องกันพิบัติ
ค. ประเทศอยู่ในภาวะสงคราม สาธารณะ
/ การรบ
ง. ถูกทุกข้อ
18) ข้อใดเป็ นเสรีภาพบริบูรณ์ตาม ก. การนับถือศาสนา ตอบ ก. การนับถือศาสนา (มาตรา 31)
รัฐธรรมนูญ ข. การเสนอข่าวสาร
ค. การติดต่อสื่อสาร
ง. การเลือกถิ่นที่อยู่
19) ข้อใดเป็ นเสรีภาพตาม ก. ความเป็ นอยู่ส่วนตัว + ตอบ ค. การรวมกันเป็ นสมาคม (มาตรา 32)
รัฐธรรมนูญ เกียรติยศ + ชื่อเสียง + ข้อสังเกต
ครอบครัว - ที่เหลือเป็ นสิทธิ
ข. การแสดงความคิดเห็น +
การพูด + การเขียน + การ
ได้รับบริการสาธารณสุขของ
รัฐ
ค. การรวมกันเป็ นสมาคม
ง. การสืบมรดก
20) การค้นเคหสถาน / ที่รโหฐาน ก. มีคำสั่ง / หมายของศาล ตอบ ก. มีคำสั่ง / หมายของศาล (มาตรา 33)
จะกระทำมิได้ เว้นแต่การค้นตาม ข. มีคำสั่ง / หมายของพนักงาน ข้อสังเกต
ข้อใด อัยการ - หรือมีเหตุอย่างอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ
ค. มีคำสั่ง / หมายของตำรวจ
ง. ถูกทุกข้อ
21) ผู้ใดทราบว่ามีการกระทำเพื่อ ก. มีสิทธิร้องต่ออัยการสูงสุด ตอบ ก. มีสิทธิร้องต่ออัยการสูงสุด (มาตรา 49 วรรค
ล้มล้างการปกครองระบอบ ข. มีสิทธิร้องต่อศาลปกครอง สอง)
ประชาธิปไตยอันมีพระมหา ค. มีสิทธิร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญ ข้อสังเกต
กษัตริย์ทรงเป็ นประมุข ย่อมมีสิทธิ ง. มีสิทธิร้องต่อประธานศาล - จะยื่นคำร้องโดยตรงต่อศาลรัฐธรรมนูญได้ก็ต่อเมื่อ
ตามข้อใด ฎีกา 1) อัยการสูงสุดมีคำสั่งไม่รับดำเนินการตามที่ร้องขอ /
2) อัยการสูงสุดไม่ดำเนินการภายใน 15 วันนับแต่วันที่
ได้รับคำร้องขอ
22) หากมีบุคคลใช้สิทธิ / เสรีภาพ ก. บุคคลที่ทราบว่ามีการกระทำ ตอบ ค. เมื่อศาลรัฐธรรมนูญสั่งห้ามการกระทำนั้น
เพื่อล้มล้างการปกครองระบอบ นั้น มีสิทธิร้องต่ออัยการ พนักงานสอบสวนย่อมดำเนินคดีอาญากับบุคคลดังกล่าว
ประชาธิปไตยอันมีพระมหา สูงสุด เพื่อให้อัยการสูงสุดสั่ง ได้อีก (มาตรา 49)
กษัตริย์ทรงเป็ นประมุข ข้อใดถูก ห้ามการกระทำนั้นได้
ต้อง ข. บุคคลที่ทราบว่ามีการกระทำ
นั้น มีสิทธิไปร้องต่อศาล
รัฐธรรมนูญด้วยตนเอง
โดยตรงทันทีได้
ค. เมื่อศาลรัฐธรรมนูญสั่งห้าม
การกระทำนั้น พนักงาน
สอบสวนย่อมดำเนินคดี
อาญากับบุคคลดังกล่าวได้อีก
ง. บุคคลใดทราบว่า บทบัญญัติ
แห่งกฎหมายมีลักษณะล้ม
ล้างการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหา
กษัตริย์ทรงเป็ นประมุข มี
สิทธิร้องต่ออัยการสูงสุด เพื่อ
ร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญ
พิจารณาวินิจฉัยได้
23) ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของปวงชน ก. เข้ารับการศึกษาอบรมในการ ตอบ ค. เสียภาษีอากรตามที่คณะรัฐมนตรีกำหนด
ชาวไทย ศึกษาภาคบังคับ (มาตรา 50 (9))
ข. ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง /
ประชามติอย่างอิสระ โดย
คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม
ของประเทศเป็ นสำคัญ
ค. เสียภาษีอากรตามที่คณะ
รัฐมนตรีกำหนด
ง. ไม่ร่วมมือ / สนับสนุนการ
ทุจริต + ประพฤติมิชอบทุก
รูปแบบ
24) รัฐต้องดำเนินการให้เด็กทุกคน ก. 10 ปี ตอบ ข. 12 ปี (มาตรา 54 วรรคหนึ่ง)
ได้รับการศึกษาเป็ นเวลากี่ปี ข. 12 ปี
ค. 15 ปี
ง. 18 ปี
25) รัฐต้องดำเนินการให้เด็กทุกคน ก. ตั้งแต่วัยเรียนจนจบการ ตอบ ข. ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับ (มาตรา
ได้รับการศึกษาเป็ นเวลา 12 ปี ศึกษาภาคบังคับ 54 วรรคหนึ่ง)
อย่างมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้ ข. ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษา
จ่าย ตั้งแต่เมื่อไร ภาคบังคับ
ค. ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษา
ปริญญาตรี
ง. ตั้งแต่วัยเรียนจนจบการ
ศึกษาปริญญาตรี
26) การเปิ ดเผยข้อมูล / ข่าวสาร ก. ข้อมูลที่เป็ นความลับของทาง ตอบ ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. และ ข. (มาตรา 59)
สาธารณะในครอบครองของหน่วย ราชการ
งานของรัฐที่จะกระทำไม่ได้ คือ ข. ข้อมูลเกี่ยวกับความมั่นคง
กรณีใด ของรัฐ
ค. ข้อมูลที่เป็ นของทางราชการ
ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. และ ข.
27) รัฐสภาประกอบด้วย ก. สภาผู้แทนราษฎร + พฤฒิ ตอบ ค. สภาผู้แทนราษฎร + วุฒิสภา (มาตรา 79)
สภา
ข. สภาผู้แทนราษฎร + สภาสูง
ค. สภาผู้แทนราษฎร + วุฒิสภา
ง. สภาผู้แทนราษฎร + สภา
นิติบัญญัติ
28) กรณีใดระหว่างไม่มีสภาผู้แทน ก. สมาชิกวุฒิสภาซึ่งมีอายุมาก ตอบ ข. รองประธานวุฒิสภา (มาตรา 80 วรรคสาม)
ราษฎร ประธานวุฒิสภาต้องทำ ที่สุด ข้อสังเกต
หน้าที่ประธานรัฐสภา แต่ถ้าไม่มี ข. รองประธานวุฒิสภา - ถ้าไม่มีรองประธานวุฒิสภา ให้สมาชิกวุฒิสภาซึ่งมีอายุ
ประธานวุฒิสภา ให้บุคคลใดทำ ค. สมาชิกวุฒิสภาดำเนินการ มากที่สุดในขณะนั้นทำหน้าที่ประธานรัฐสภา + ให้
หน้าที่ประธานรัฐสภา เลือกประธานวุฒิสภา ดำเนินการเลือกประธานวุฒิสภาโดยเร็ว
ง. สมาชิกรัฐสภาเลือกสมาชิก
ในที่ประชุมเป็ นประธาน
รัฐสภา
29) บุคคลใดเป็ นผู้วินิจฉัยว่า ก. ประธานวุฒิสภา ตอบ ค. ศาลรัฐธรรมนูญ (มาตรา 82 วรรคแรก)
สมาชิกภาพของสมาชิกวุฒิสภาผู้ ข. ประธานรัฐสภา ข้อสังเกต
นั้นสิ้นสุดลงหรือไม่ ค. ศาลรัฐธรรมนูญ - รวมทั้งสมาชิกผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลง
ง. คณะกรรมการการเลือกตั้ง
30) สภาผู้แทนราษฎรประกอบ ก. 700 คน ตอบ ข. 500 คน (มาตรา 83)
ด้วยสมาชิกจำนวนกี่คน ข. 500 คน
ค. 350 คน
ง. 200 คน
31) สภาผู้แทนราษฎรประกอบ ก. 400 คน ตอบ ก. 400 คน (มาตรา 83)
ด้วยสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้ง ข. 350 คน ข้อสังเกต
แบบแบ่งเขตเลือกตั้งจำนวนกี่คน ค. 300 คน - ฉบับก่อนการแก้ไขมี 350 คน
ง. 250 คน
32) สภาผู้แทนราษฎรประกอบ ก. 350 คน ตอบ ง. 100 คน (มาตรา 83)
ด้วยสมาชิกซึ่งมาจากบัญชีรายชื่อ ข. 250 คน ข้อสังเกต
ของพรรคการเมืองจำนวนกี่คน ค. 150 คน - ฉบับก่อนการแก้ไขมี 150 คน
ง. 100 คน
33) ในการเลือกตั้งทั่วไป ให้ ก. ไม่เกิน 4 รายชื่อ ตอบ ข. ไม่เกิน 3 รายชื่อ (มาตรา 88)
พรรคการเมืองที่ส่งผู้รับสมัครรับ ข. ไม่เกิน 3 รายชื่อ
เลือกตั้งแจ้งรายชื่อบุคคลซึ่ง ค. ไม่เกิน 2 รายชื่อ
พรรคการเมืองนั้น มีมติว่าจะเสนอ ง. เพียง 1 รายชื่อ
ให้สภาผู้แทนราษฎรเพื่อพิจารณา
ให้ความเห็นชอบแต่งตั้งเป็ นนายก
รัฐมนตรีจำนวนกี่รายชื่อต่อคณะ
กรรมการการเลือกตั้ง
34) บุคคลใดไม่ต้องห้ามมิให้ใช้ ก. สามเณร ตอบ ค. บุคคลล้มละลาย (มาตรา 96)
สิทธิเลือกตั้ง ข. ผู้ถูกคุมขังอยู่โดยหมายของ
ศาล
ค. บุคคลล้มละลาย
ง. บุคคลวิกลจริต
35) บุคคลใดไม่มีสิทธิเลือกตั้ง ก. ผู้ที่อยู่ในระหว่างถูกเพิกถอน ตอบ ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. + ข. (มาตรา 96)
สิทธิเลือกตั้งที่คดีถึงที่สุดแล้ว ข้อสังเกต
ข. ผู้ที่อยู่ในระหว่างถูกเพิกถอน - อยู่ในระหว่างถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งไม่ว่าคดีนั้นจะ
สิทธิเลือกตั้งที่คดีอยู่ใน ถึงที่สุดแล้วหรือไม่
ระหว่างอุทธรณ์
ค. ผู้ที่ถูกศาลออกหมายจับแต่
ยังจับตัวไม่ได้
ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. + ข.
36) บุคคลผู้มีคุณสมบัติซึ่งเป็ นผู้มี ก. ไม่ต่ำกว่า 25 ปี นับถึงวันยื่น ตอบ ข. ไม่ต่ำกว่า 25 ปี นับถึงวันเลือกตั้ง (มาตรา 97)
สิทธิรับเลือกตั้งเป็ นสมาชิกสภาผู้ ใบสมัครเลือกตั้ง
แทนราษฎรต้องมีอายุเท่าไร ข. ไม่ต่ำกว่า 25 ปี นับถึงวัน
เลือกตั้ง
ค. ไม่ต่ำกว่า 35 ปี นับถึงวันยื่น
ใบสมัครเลือกตั้ง
ง. ไม่ต่ำกว่า 35 ปี นับถึงวัน
เลือกตั้ง
37) บุคคลใดต่อไปนี้ ไม่อาจจะ ก. นางสมศรีมีสัญชาติไทยโดย ตอบ ก. นางสมศรีมีสัญชาติไทยโดยการแปลงสัญชาติ
สมัครรับเลือกตั้งเป็ นสมาชิกผู้ การแปลงสัญชาติ มาแล้ว 10 มาแล้ว 10 ปี (มาตรา 97 (1))
แทนราษฎรได้เลย ปี ข้อสังเกต
ข. นางศรีนวลมีชื่ออยู่ใน - บุคคลผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็ นสมาชิกผู้แทนราษฎร
ทะเบียนบ้านในจังหวัดที่ ต้องมีสัญชาติไทยโดยการเกิด
สมัครรับเลือกตั้งมาแล้ว เป็ น
เวลาติดต่อกัน 5 ปี นับถึงวัน
สมัครรับเลือกตั้ง
ค. นางวันเพ็ญเป็ นสมาชิกพรรค
ภูมิในใจ เป็ นเวลาติดต่อกัน
ไม่น้อยกว่า 90 วันนับถึงวัน
เลือกตั้ง
ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. + ข.
จ. ถูกเฉพาะข้อ ก. + ข. + ค.
38) อายุของสภาผู้แทนราษฎรมี ก. 4 ปี นับแต่วันสมัครเลือกตั้ง ตอบ ค. 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง (มาตรา 99)
กำหนดคราวละเท่าไร ข. 4 ปี นับแต่วันประกาศผลการ
เลือกตั้ง
ค. 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง
ง. 5 ปี นับแต่วันประกาศผลการ
เลือกตั้ง
39) เมื่ออายุของสภาผู้แทนราษฎร ก. 30 วัน ตอบ ข. 45 วัน (มาตรา 102)
สิ้นสุดลง พระมหากษัตริย์จะได้ ข. 45 วัน
ทรงตราพระราชกฤษฎีกาให้มีการ ค. 60 วัน
เลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ง. 45 – 60 วัน
ใหม่ เป็ นการเลือกตั้งทั่วไปภายใน
กี่วัน
40) วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิก ก. 700 คน ตอบ ง. 200 คน (มาตรา 107)
จำนวนเท่าไร ข. 500 คน
ค. 350 คน
ง. 200 คน
41) ในวาระเริ่มแรกให้วุฒิสภา ก. 350 คน ตอบ ค. 250 คน (มาตรา 269)
ประกอบด้วยสมาชิกจำนวนกี่คน ข. 300 คน
ค. 250 คน
ง. 200 คน
42) สมาชิกวุฒิสภาต้องมี ก. อายุไม่ต่ำกว่า 25 ปี ตอบ ค. อายุไม่ต่ำกว่า 40 ปี (มาตรา 108)
คุณสมบัติตามข้อใด ข. อายุไม่ต่ำกว่า 35 ปี
ค. อายุไม่ต่ำกว่า 40 ปี
ง. อายุไม่ต่ำกว่า 45 ปี
43) อายุของวุฒิสภามีกำหนดคราว ก. 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง ตอบ ง. 5 ปี นับแต่วันประกาศผลการเลือกตั้ง (มาตรา
ละกี่ปี ข. 4 ปี นับแต่วันประกาศผล 109)
การเลือก
ค. 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง
ง. 5 ปี นับแต่วันประกาศผล
การเลือกตั้ง
44) เมื่ออายุของวุฒิสภาสิ้นสุดลง ก. ไม่ช้ากว่า 30 วัน ตอบ ก. ไม่ช้ากว่า 30 วัน (มาตรา 110 + 107 วรรคห้า)
ให้มีการเลือกสมาชิกวุฒิสภาใหม่ ข. ภายใน 45 วัน
โดยคณะกรรมการการเลือกตั้ง ค. ไม่น้อยกว่า 45 วันแต่ไม่เกิน
กำหนดวันเริ่มดำเนินการเพื่อเลือก 60 วัน
ภายในกี่วันนับแต่วันที่พระราช ง. ไม่น้อยกว่า 45 วันแต่ไม่เกิน
กฤษฎีกาเลือกสมาชิกวุฒิสภามีผล 90 วัน
ใช้บังคับ
45) บุคคลผู้เคยดำรงตำแหน่ง ก. รัฐมนตรี ตอบ ก. รัฐมนตรี (มาตรา 112)
สมาชิกวุฒิสภา + สมาชิกภาพสิ้น ข. สมาชิกสภาท้องถิ่น ข้อสังเกต
สุดลงมาแล้วยังไม่เกิน 2 ปี จะ ค. ผู้บริหารท้องถิ่น - จะเป็ นรัฐมนตรี / ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองไม่ได้ แต่
ดำรงตำแหน่งใดไม่ได้ ง. ถูกทุกข้อ เป็ นสมาชิกสภาท้องถิ่น / ผู้บริหารท้องถิ่นได้
46) ข้อใดไม่ถูกต้อง ก. องค์ประชุมของการประชุม ตอบ ง. การประชุมสภาผู้แทนราษฎร + การประชุม
สภาผู้แทนราษฎร + การ วุฒิสภาทุกครั้ง ต้องมีรายงานการประชุม + บันทึกการ
ประชุมวุฒิสภาในกรณีปกติ ออกเสียงลงคะแนนของสมาชิกสภาแต่ละคนต้องเปิ ดเผย
ต้องมีสมาชิกมาประชุมไม่ ให้ประชาชนทราบได้ทั่วไป (มาตรา 120)
น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวน ข้อสังเกต
สมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของ - การประชุมลับ / การออกเสียงลงคะแนนเป็ นการลับไม่
แต่ละสภา ต้องเปิ ดเผย
ข. ในกรณีที่ไม่มีบัญญัติไว้เป็ น
อย่างอื่นในรัฐธรรมนูญ การ
ลงมติวินิจฉัยข้อปรึกษาให้ถือ
เสียงข้างมาก
ค. การประชุมสภาผู้แทนราษฎร
+ การประชุมวุฒิสภาในการ
ออกเสียงลงคะแนน ถ้ามี
คะแนนเสียเท่ากันให้
ประธานในที่ประชุมออก
เสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็ น
เสียงชี้ขาด
ง. การประชุมสภาผู้แทนราษฎร
+ การประชุมวุฒิสภาทุกครั้ง
ต้องมีรายงานการประชุม +
บันทึกการออกเสียงลง
คะแนนของสมาชิกสภา
แต่ละคนต้องเปิ ดเผยให้
ประชาชนทราบได้ทั่วไป
47) ในปี หนึ่งให้มีสมัยประชุม ก. 1 สมัย ตอบ ข. 2 สมัย (มาตรา 121 วรรคสอง)
สามัญของรัฐสภาจำนวนกี่สมัย ข. 2 สมัย
ค. 3 สมัย
ง. 4 สมัย
48) สมัยประชุมสามัญของรัฐสภา ก. 90 วัน ตอบ ค. 120 วัน (มาตรา 121 วรรคสอง)
สมัยหนึ่งให้มีกำหนดเวลากี่วัน ข. 100 วัน
ค. 120 วัน
ง. 180 วัน
49) บุคคลใดมีสิทธิเข้าชื่อร้องขอ ก. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร + ตอบ ก. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร + สมาชิกวุฒิสภาทั้ง
ต่อประธานรัฐสภาให้นำความ สมาชิกวุฒิสภาทั้งสองสภา สองสภารวมกัน มีจำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจำนวน
กราบบังคมทูลเพื่อมีพระบรม รวมกัน มีจำนวนไม่น้อยกว่า สมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา (มาตรา 123)
ราชโองการประกาศเรียกประชุม 1 ใน 3 ของจำนวนสมาชิก ข้อสังเกต
รัฐสภาเป็ นการประชุมสมัย ทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสอง - หรือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร มีจำนวนไม่น้อยกว่า 1
วิสามัญได้ สภา ใน 3 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสอง
ข. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร มี สภา
จำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 3
ของจำนวนสมาชิกทั้งหมด
เท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทน
ราษฎร
ค. สมาชิกวุฒิสภา มีจำนวนไม่
น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจำนวน
สมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของ
วุฒิสภา
ง. ถูกทุกข้อ
50) บุคคลใดไม่มีเอกสิทธิ์ตาม ก. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ตอบ ค. คณะกรรมการการเลือกตั้ง (มาตรา 124)
รัฐธรรมนูญ ข. รัฐมนตรี ข้อสังเกต
ค. คณะกรรมการการเลือกตั้ง - เอกสิทธิ์ = สิทธิพิเศษแก่บุคคลบางประเภทนอกเหนือ
ง. สมาชิกวุฒิสภา จากบุคคลทั่วไป อันถือได้ว่าเป็ นข้อยกเว้นหลักของ
ความเสมอภาค ได้แก่
1) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
2) สมาชิกวุฒิสภา
3) รัฐมนตรี
51) ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับความคุ้ม ก. ความคุ้มกันมีอยู่ตลอดไป ตอบ ค. ความคุ้มกันรวมถึงการหมายเรียกตัวสมาชิก
กันตามรัฐธรรมนูญ ข. ความคุ้มกันมุ่งคุ้มครอง รัฐสภาไปทำการสอบสวนในฐานะผู้ต้องหาด้วย (มาตรา
เฉพาะคดีอาญา + คดีแพ่ง 125)
ทุกประเภท ข้อสังเกต
ค. ความคุ้มกันรวมถึงการหมาย - ความคุ้มกัน = สถานะพิเศษของบุคคลบางประเภทที่ไม่
เรียกตัวสมาชิกรัฐสภาไป ต้องตกอยู่ภายใต้อำนาจตามกฎหมายที่ตามปกติบุคคล
ทำการสอบสวนในฐานะผู้ ทั่วไป ได้แก่
ต้องหาด้วย 1) สมาชิกรัฐสภา
ง. ความคุ้มกันรวมถึงการที่ 2) กรรมการการเลือกตั้ง
สมาชิกรัฐสภาถูกฟ้ องคดีด้วย - ความคุ้มกันคุ้มกันเฉพาะสมาชิกรัฐสภาเท่านั้น ไม่รวม
ถึงบุคคลอื่นซึ่งไม่ได้เป็ นสมาชิกรัฐสภาด้วย
- ความคุ้มกันมุ่งคุ้มครองในคดีอาญาทุกประเภท ไม่ว่าคดี
นั้นจะมีโทษทางอาญามาก / น้อยเพียงใด / แม้เป็ น
ความผิดลหุโทษ แต่ไม่รวมถึงคดีแพ่ง
- ความคุ้มกันคุ้มกันเฉพาะระหว่างที่อยู่สมัยประชุม
เท่านั้น หากพ้นจากสมัยประชุมย่อมไม่ได้รับความคุ้ม
กัน
- ความคุ้มกันจำกัดเฉพาะการจับ / คุมขัง / หมายเรียก
ตัวสมาชิกรัฐสภาไปทำการสอบสวนในฐานะผู้ต้องหา
เท่านั้น แต่หากเป็ นกรณีที่อยู่ระหว่างสมัยประชุมมีการ
หมายเรียกตัวสมาชิกรัฐสภาไปทำการสอบสวนในฐานะ
พยานในคดีอาญา สมาชิกผู้นั้นย่อมไม่ได้รับความคุ้มกัน
แต่อย่างใด
- ความคุ้มกันไม่รวมถึงการฟ้ องคดี
52) ในระหว่างสมัยประชุม ข้อใด ก. จับสมาชิกรัฐสภาไม่ได้ ตอบ ง. จับสมาชิกรัฐสภาในขณะกระทำความผิดไม่ได้
ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับความคุ้มกัน ข. คุมขังสมาชิกรัฐสภาไม่ได้ (มาตรา 125 วรรคสอง)
ค. ค้นบ้านสมาชิกรัฐสภาไม่ได้ ข้อสังเกต
ง. จับสมาชิกรัฐสภาในขณะ - กรณีที่จับในขณะกระทำความผิด เป็ นกรณีที่สมาชิกผู้
กระทำความผิดไม่ได้ นั้นได้กระทำความผิดซึ่งหน้า สามารถจับได้ทันที เมื่อได้
จับสมาชิกเพราะเหตุกระทำความผิดซึ่งหน้าแล้ว
มาตรา 125 วรรคสอง กำหนดให้ต้องรายงานไปยัง
ประธานแห่งสภาที่ผู้นั้นเป็ นสมาชิกโดยพลัน + ประธาน
แห่งสภาที่ผู้นั้นเป็ นสมาชิกอาจสั่งให้ปล่อยผู้ถูกจับเพื่อ
มาประชุมก็ได้ กรณีนี้จะเห็นได้ว่าอำนาจในการสั่ง
ปล่อยตามมาตรา 125 วรรคสองเป็ นอำนาจโดยเฉพาะ
ของประธานแห่งสภา
- ความคุ้มกันตามมาตรา 125 ไม่ได้ห้ามมิให้มีการค้น
เคหสถานของผู้เป็ นสมาชิก ดังนั้น หากศาลออกหมาย
ค้นบ้านสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในระหว่างสมัยประชุม
ก็ย่อมทำได้ + เจ้าหน้าที่ตำรวจก็มีสิทธิเข้าค้นบ้านของ
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามหมายนั้นได้เช่นกัน
53) ร่างพระราชบัญญัติประกอบ ก. คณะรัฐมนตรี โดยข้อเสนอ ตอบ ก. คณะรัฐมนตรี โดยข้อเสนอแนะของศาลฎีกา /
รัฐธรรมนูญจะเสนอได้ก็แต่โดย แนะของศาลฎีกา / ศาล ศาลรัฐธรรมนูญ / องค์กรอิสระที่เกี่ยวข้อง (มาตรา 131)
บุคคลใด รัฐธรรมนูญ / องค์กรอิสระที่ ข้อสังเกต
เกี่ยวข้อง - ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ จะเสนอได้ก็
ข. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แต่โดย
จำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 4 1) คณะรัฐมนตรี โดยข้อเสนอแนะของศาลฎีกา / ศาล
ของจำนวนสมาชิกทั้งหมด รัฐธรรมนูญ / องค์กรอิสระที่เกี่ยวข้อง
เท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทน 2) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน
ราษฎร 10 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทน
ค. สมาชิกวุฒิสภาจำนวนไม่ ราษฎร
น้อยกว่า 1 ใน 4 ของจำนวน
สมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของ
วุฒิสภา
ง. ถูกทุกข้อ
54) บุคคลใดเป็ นผู้ไม่มีสิทธิเสนอ ก. นายกรัฐมนตรี ตอบ ก. นายกรัฐมนตรี (มาตรา 133)
ร่างพระราชบัญญัติ ข. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จำนวนไม่น้อยกว่า 20 วัน
ค. ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
จำนวนไม่น้อยกว่า 10,000
บาท
ง. คณะรัฐมนตรี
55) ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการ ก. เมื่อสมาชิกรัฐสภาเห็นว่าร่าง ตอบ ข. สมาชิกรัฐสภาต้องรวมเสียงให้ได้ไม่น้อยกว่า 1
ควบคุมร่างกฎหมายมิให้ขัดกับ พ.ร.บ. ขัดรัฐธรรมนูญ แล้วมี ใน 5 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ จึงจะเสนอ
รัฐธรรมนูญ การเสนอไปยังประธาน เรื่องดังกล่าวได้ (มาตรา 148 (1))
รัฐสภา หากประธานรัฐสภา ข้อสังเกต
เห็นว่าไม่ได้ขัดกับ - ที่ถูกต้อง คือ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร / สมาชิก
รัฐธรรมนูญ จะไม่เสนอเรื่อง วุฒิสภา / สมาชิกรัฐสภาต้องรวมเสียงให้ได้ไม่น้อยกว่า
ดังกล่าวไปยังศาล 1 ใน 10 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ จึงจะ
รัฐธรรมนูญไม่ได้ เสนอเรื่องดังกล่าว
ข. สมาชิกรัฐสภาต้องรวมเสียง
ให้ได้ไม่น้อยกว่า 1 ใน 5 ของ
จำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มี
อยู่ จึงจะเสนอเรื่องดังกล่าว
ได้
ค. หากนายกรัฐมนตรีเห็นว่า
ร่างกฎหมายขัดกับ
รัฐธรรมนูญ มีสิทธิเสนอเรื่อง
โดยตรงไปยังศาลรัฐธรรมนูญ
ได้โดยไม่ต้องผ่านรัฐสภา
ง. ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจ
ตรวจร่างกฎหมายได้ทั้งเรื่อง
กระบวนการตรา + เนื้อหา
56) ข้อใดไม่ใช่อำนาจของศาล ก. ตรวจสอบว่าบทบัญญัติแห่ง ตอบ ค. ตรวจสอบว่าคำสั่งทางปกครองที่ออกโดยนายก
รัฐธรรมนูญ กฎหมายขัดกับรัฐธรรมนูญ รัฐมนตรีชอบด้วยรัฐธรรมนูญหรือไม่ (มาตรา 148 + 210
หรือไม่ + 212)
ข. ตรวจสอบว่าร่างพระราช
บัญญัติขัดกับรัฐธรรมนูญ
หรือไม่
ค. ตรวจสอบว่าคำสั่งทาง
ปกครองที่ออกโดยนายก
รัฐมนตรีชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
หรือไม่
ง. วินิจฉัยปั ญหาเกี่ยวกับอำนาจ
ของสภาผู้แทนราษฎร
57) คณะรัฐมนตรีมีจำนวนทั้งสิ้นกี่ ก. 34 คน ตอบ ค. 36 คน (มาตรา 158)
คน ข. 35 คน ข้อสังเกต
ค. 36 คน - ประกอบด้วยนายกรัฐมนตรี 1 คน + รัฐมนตรีอื่นอีกไม่
ง. 37 คน เกิน 35 คน
58) ให้บุคคลใดเป็ นผู้ลงนามรับ ก. ประธานสภาผู้แทนราษฎร ตอบ ก. ประธานสภาผู้แทนราษฎร (มาตรา 158 วรรค
สนองพระบรมราชโองการแต่งตั้ง ข. ประธานวุฒิสภา สาม)
นายกรัฐมนตรี ค. ประธานรัฐสภา
ง. ประธานคณะกรรมการการ
เลือกตั้ง
59) การดำรงตำแหน่งนายก ก. ดำรงตำแหน่งเกินกว่า 2 ตอบ ข. ดำรงตำแหน่งรวมกันแล้วเกิน 8 ปี ไม่ได้ ไม่ว่าจะ
รัฐมนตรีข้อใดถูกต้องที่สุด วาระติดต่อกันไม่ได้ เป็ นการดำรงตำแหน่งติดต่อกันหรือไม่ (มาตรา 158
ข. ดำรงตำแหน่งรวมกันแล้ว วรรคสี่)
เกิน 8 ปี ไม่ได้ ไม่ว่าจะ
เป็ นการดำรงตำแหน่งติดต่อ
กันหรือไม่
ค. ดำรงตำแหน่งติดต่อกัน 8 ปี
ไม่ได้
ง. ดำรงตำแหน่งเกิน 10 ปี
ติดต่อกันไม่ได้
60) กระบวนการแต่งตั้งนายก ก. มติของสภาผู้แทนราษฎรที่ ตอบ ค. มติที่เห็นชอบการแต่งตั้งมีคะแนนเสียงไม่น้อย
รัฐมนตรีข้อใดไม่ถูกต้อง เห็นชอบการแต่งตั้งบุคคลใด กว่า 1 ใน 10 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของ
ให้เป็ นนายกรัฐมนตรี ต้อง สภาผู้แทนราษฎร (มาตรา 159)
กระทำการโดยลงคะแนนโดย ข้อสังเกต
เปิ ดเผย - ที่ถูกต้องคือ มีคะแนนเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวน
ข. บุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้ง สมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร
เป็ นนายกรัฐมนตรี เป็ นผู้
มีชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อของ
พรรคการเมืองที่มีสมาชิกได้
รับเลือกเป็ นสมาชิกสภาผู้
แทนราษฎรไม่น้อยกว่าร้อย
ละ 5 ของจำนวนสมาชิก
ทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้
แทนราษฎร
ค. มติที่เห็นชอบการแต่งตั้งมี
คะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 1
ใน 10 ของจำนวนสมาชิก
ทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้
แทนราษฎร
ง. ถูกทุกข้อ
61) รัฐมนตรีต้องมีคุณสมบัติตาม ก. อายุไม่ต่ำกว่า 25 ปี ตอบ ข. อายุไม่ต่ำกว่า 35 ปี (มาตรา 160)
ข้อใด ข. อายุไม่ต่ำกว่า 35 ปี
ค. อายุไม่ต่ำกว่า 40 ปี
ง. อายุไม่ต่ำกว่า 45 ปี
62) รัฐมนตรีทั้งคณะไม่พ้นจาก ก. นายกรัฐมนตรีถึงแก่ความ ตอบ จ. สภาผู้แทนราษฎรมีมติไม่ไว้วางใจ (มาตรา 167)
ตำแหน่งในกรณีใด ตาย ข้อสังเกต
ข. มีการยุบสภาผู้แทนราษฎร - กรณีนี้เป็ นการพ้นเฉพาะตัวบุคคล ไม่พ้นทั้งคณะ
ค. คณะรัฐมนตรีลาออก รัฐมนตรี
ง. ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า มี
การส่วนไม่ว่าโดยทางตรง /
ทางอ้อมในการใช้งบ
ประมาณรายจ่าย
จ. สภาผู้แทนราษฎรมีมติไม่ไว้
วางใจ
63) ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจตรวจ ก. พระราชกำหนด ตอบ ก. พระราชกำหนด (มาตรา 172 + 173)
สอบกฎหมายใดตามรัฐธรรมนูญ ข. กฎ
บ้าง ค. คำสั่งทางปกครอง
ง. พระราชกฤษฎีกา
64) การประกาศใช้ + เลิกใช้กฎ ก. พระมหากษัตริย์ ตอบ ก. พระมหากษัตริย์ (มาตรา 176)
อัยการศึกเป็ นอำนาจของบุคคลใด ข. นายกรัฐมนตรี
ค. รัฐสภา
ง. ผู้บัญชาการทหารสูงสุด
65) พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระ ก. นายกรัฐมนตรี ตอบ ค. รัฐสภา (มาตรา 177)
ราชอำนาจในการประกาศ ข. คณะรัฐมนตรี
สงครามเมื่อได้รับความเห็นชอบ ค. รัฐสภา
ของใคร ง. ผู้บัญชาการทหารสูงสุด
66) อำนาจในการทำหนังสือ ก. พระมหากษัตริย์ ตอบ ก. พระมหากษัตริย์ (มาตรา 177)
สัญญาสันติภาพ สัญญาสงบศึก ข. นายกรัฐมนตรี
กับนานาประเทศ / กับองค์การ ค. รัฐสภา
ระหว่างประเทศ เป็ นของบุคคลใด ง. ผู้บัญชาการทหารสูงสุด
67) หนังสือสัญญาใดมีบท ก. รัฐสภา ตอบ ก. รัฐสภา (มาตรา 178 วรรคสอง)
เปลี่ยนแปลงอาณาเขตไทย / เขต ข. สภาผู้แทนราษฎร ข้อสังเกต
พื้นที่นอกอาณาเขตซึ่งประเทศมี ค. ศาลปกครอง - และให้รวมถึง หนังสือสัญญาอื่นที่อาจมีผลกระทบต่อ
สิทธิอธิปไตย / มีเขตอำนาจตาม ง. ศาลรัฐธรรมนูญ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ / สังคม / การค้า / การ
หนังสือสัญญา / ตามกฎหมาย ลงทุนของประเทศอย่างกว้างขวาง ได้แก่ หนังสือสัญญา
ระหว่างประเทศ / จะต้องออก เกี่ยวกับ
พระราชบัญญัติ เพื่อให้การเป็ นไป 1) การค้าเสรี
ตามหนังสือสัญญา จะต้องได้รับ 2) เขตศุลกากรร่วม
ความเห็นชอบขององค์กรใด 3) การให้ใช้ทรัพยากรธรรมชาติ / ทำให้ประเทศต้อง
สูญเสียสิทธิในทรัพยากรธรรมชาติทั้งหมด / บางส่วน
4) หนังสือสัญญาอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ
68) เมื่อมีปั ญหาว่าหนังสือสัญญา ก. รัฐสภา ตอบ ง. ศาลรัฐธรรมนูญ (มาตรา 178 วรรคห้า)
ใดเป็ นหนังสือสัญญาอื่นที่อาจมี ข. องค์กรอัยการ
ผลกระทบต่อความมั่นคงทาง ค. ศาลปกครอง
เศรษฐกิจ / สังคม / การค้า / การ ง. ศาลรัฐธรรมนูญ
ลงทุนของประเทศอย่างกว้าง
ขวางหรือไม่ ให้องค์กรใดเป็ นผู้
พิจารณาวินิจฉัย
69) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ก. 3 ประเภท ศาลชั้นต้น ศาล ตอบ ง. 4 ประเภท ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลยุติธรรม ศาล
ไทย พ.ศ. 2560 แบ่งศาลออกเป็ น ชั้นอุทธรณ์ ศาลฎีกา ปกครอง ศาลทหาร (หมวด 10 + 11)
กี่ประเภท อะไรบ้าง ข. 2 ประเภท ศาลยุติธรรม
ศาลปกครอง
ค. 3 ประเภท ศาลรัฐธรรมนูญ
ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง
ง. 4 ประเภท ศาลรัฐธรรมนูญ
ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง
ศาลทหาร
70) ศาลทั้งหลายทุกๆ ศาลจะตั้ง ก. รัฐธรรมนูญ ตอบ ข. พระราชบัญญัติ (มาตรา 189)
ขึ้นได้โดยอาศัยกฎหมายใด ข. พระราชบัญญัติ
ค. พระราชกฤษฎีกา
ง. พระราชกำหนด
71) คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาด ก. ศาลยุติธรรมกับศาลปกครอง ตอบ ข. ศาลยุติธรรมกับศาลรัฐธรรมนูญ (มาตรา 192)
อำนาจหน้าที่ระหว่างศาล ไม่มี ข. ศาลยุติธรรมกับศาล ข้อสังเกต
อำนาจวินิจฉัยชี้ขาดปั ญหาเกี่ยว รัฐธรรมนูญ - วินิจฉัยชี้ขาดได้เฉพาะระหว่างศาลยุติธรรม / ศาล
กับหน้าที่ + อำนาจระหว่างศาล ค. ศาลยุติธรรมกับศาลทหาร ปกครอง / ศาลทหาร เท่านั้น
ในข้อใด ง. ศาลปกครองกับศาลทหาร - คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
ประกอบด้วย
1) ประธานศาลฎีกา (ประธาน)
2) ประธานศาลปกครองสูงสุด (กรรมการ)
3) หัวหน้าสำนักตุลาการทหาร (กรรมการ)
4) ผู้ทรงคุณวุฒิอื่นอีกไม่เกิน 4 คน (กรรมการ)
72) ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับศาล ก. ตุลาการมีอิสระในการ ตอบ ข. ให้ศาลยุติธรรม + ศาลปกครอง + ศาลทหารมี
พิจารณาพิพากษาอรรถคดี + ระบบเงินเดือน + ค่าตอบแทนเป็ นการเฉพาะตามความ
การบริหารงานบุคคลเกี่ยว เหมาะสม
กับผู้พิพากษาศาลยุติธรรม ข้อสังเกต
ต้องมีความเป็ นอิสระ - กรณีนี้ไม่รวมถึง ศาลทหาร
ข. ให้ศาลยุติธรรม + ศาล
ปกครอง + ศาลทหารมี
ระบบเงินเดือน + ค่า
ตอบแทนเป็ นการเฉพาะตาม
ความเหมาะสม
ค. ศาลรัฐธรรมนูญประกอบด้วย
ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
จำนวน 9 คน
ง. ศาลรัฐธรรมนูญประกอบด้วย
ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญซึ่ง
มาจากผู้พิพากษาในศาลฎีกา
จำนวน 3 คน
73) ศาลใดมีอำนาจพิจารณา ก. ศาลยุติธรรม ตอบ ก. ศาลยุติธรรม (มาตรา 194)
พิพากษาคดีทั้งปวง เว้นแต่ คดีที่ ข. ศาลปกครอง ข้อสังเกต
รัฐธรรมนูญ / กฎหมายบัญญัติให้ ค. ศาลรัฐธรรมนูญ - ศาลยุติธรรมมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวง เว้น
อยู่ในอำนาจของศาลอื่น ง. ศาลทหาร แต่ คดีที่รัฐธรรมนูญ / กฎหมายบัญญัติให้อยู่ในอำนาจ
ของศาลอื่น
74) คดีกล่าวหาว่าผู้ดำรงตำแหน่ง ก. ศาลยุติธรรม ตอบ ก. ศาลยุติธรรม (มาตรา 194 + 195)
ทางการเมืองตำแหน่งสมาชิกสภา ข. ศาลปกครอง ข้อสังเกต
ผู้แทนราษฎร ทุจริตต่อหน้าที่จะ ค. ศาลรัฐธรรมนูญ - ศาลยุติธรรม ในศาลฎีกามีแผนกคดีอาญาของผู้ดำรง
ต้องดำเนินคดีที่ศาลใด ง. ศาลทหาร ตำแหน่งทางการเมือง มีอำนาจตามพระราชบัญญัติ
ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้
ดำรงตำแหน่งทางการเมือง พ.ศ. 2560 มาตรา 10 ดัง
ต่อไปนี้
1) คดีที่มีมูลแห่งคดีเป็ นการกล่าวหาว่า ผู้ดำรงตำแหน่ง
ทางการเมือง / ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ / ผู้ดำรง
ตำแหน่งในองค์กรอิสระ / ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
ร่ำรวยผิดปกติ / ทุจริตต่อหน้าที่ / จงใจปฏิบัติหน้าที่ /
ใช้อำนาจขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ / กฎหมาย
2) คดีที่คณะผู้ไต่สวนอิสระเห็นว่า กรรมการ ป.ป.ช. มี
พฤติการณ์ร่ำรวยผิดปกติ / ทุจริตต่อหน้าที่ / จงใจ
ปฏิบัติหน้าที่ / ใช้อำนาจขัดต่อบทบัญญัติแห่ง
รัฐธรรมนูญ / กฎหมาย
3) คดีที่มีมูลแห่งคดีเป็ นการกล่าวหาบุคคลอื่นซึ่งมิใช่
บุคคลตาม 1) + 2) เป็ นตัวการ / ผู้ใช้ / ผู้สนับสนุนใน
การกระทำความผิดทางอาญาตาม 1) / 2) รวมทั้งผู้ให้
/ ผู้ขอให้ / รับว่าจะให้ทรัพย์สิน / ประโยชน์อื่นใดแก่
บุคคลตาม 1) / 2) เพื่อจูงใจให้กระทำการ / ไม่กระทำ
การ / ประวิงการกระทำอันมิชอบด้วยหน้าที่
4) คดีที่บุคคลตาม 1) / กรรมการ ป.ป.ช. / เจ้าหน้าที่
ของสำนักงานคณะกรรมการป้ องกัน + ปราบปรามการ
ทุจริตแห่งชาติตามมาตรา 57 วรรคสอง จงใจไม่ยื่น
บัญชีแสดงรายการทรัพย์สิน + หนี้สิน / จงใจยื่นบัญชี
แสดงรายการทรัพย์สิน / หนี้สินอันเป็ นเท็จ / ปกปิ ดข้อ
เท็จจริงที่ควรแจ้งให้ทราบ + มีพฤติการณ์อันควรเชื่อได้
ว่า มีเจตนาไม่แสดงที่มาแห่งทรัพย์สิน / หนี้สิน
75) แผนกคดีอาญาของผู้ดำรง ก. ไม่น้อยกว่า 3 คน ตอบ ค. ไม่น้อยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 9 คน (มาตรา 195)
ตำแหน่งทางการเมืองในศาลฎีกา ข. ไม่น้อยกว่า 9 คน
องค์คณะผู้พิพากษาประกอบด้วย ค. ไม่น้อยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน
ผู้พิพากษาในศาลฎีกาซึ่งดำรง 9 คน
ตำแหน่งไม่ต่ำกว่าผู้พิพากษาศาล ง. ไม่น้อยกว่า 7 คน แต่ไม่เกิน
ฎีกา / ผู้พิพากษาอาวุโสซึ่งเคย 9 คน
ดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าผู้พิพากษา
ศาลฎีกา ซึ่งได้รับคัดเลือกโดยที่
ประชุมใหญ่ศาลฎีกาจำนวนกี่คน
76) การบริหารงานบุคคลเกี่ยวกับ ก. คณะกรรมการบริหารศาล ตอบ ข. คณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม (มาตรา
ผู้พิพากษาศาลยุติธรรมต้องมี ยุติธรรม 196)
ความเป็ นอิสระ + ดำเนินการโดย ข. คณะกรรมการตุลาการศาล
ใคร ยุติธรรม
ค. คณะกรรมการข้าราชการ
ศาลยุติธรรม
ง. ที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกา
77) คณะกรรมการตุลาการศาล ก. รัฐสภา ตอบ ค. ข้าราชการตุลาการ (มาตรา 196)
ยุติธรรม ประกอบด้วยประธาน ข. วุฒิสภา
ศาลฎีกาเป็ นประธาน + กรรมการ ค. ข้าราชการตุลาการ
ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งเป็ นข้าราชการ ง. ข้าราชการศาลยุติธรรม
ตุลาการในแต่ละชั้นศาล + ผู้ทรง
คุณวุฒิซึ่งไม่เป็ น / เคยเป็ น
ข้าราชการตุลาการจำนวนไม่เกิน
2 คนโดยได้รับเลือกจากบุคคลใด
78) ศาลที่มีอำนาจพิจารณา ก. ศาลยุติธรรม ตอบ ข. ศาลปกครอง (มาตรา 197)
พิพากษาคดีอันเนื่องมาจากการใช้ ข. ศาลปกครอง
อำนาจทางปกครองตามกฎหมาย ค. ศาลรัฐธรรมนูญ
/ เนื่องจากการดำเนินกิจการทาง ง. ศาลทหาร
ปกครอง คือศาลใด
79) ศาลปกครองแบ่งออกเป็ นกี่ชั้น ก. 3 ชั้น ศาลปกครองชั้นต้น ตอบ ง. 2 ชั้น ศาลปกครองชั้นต้น ศาลปกครองสูงสุด
อะไรบ้าง ศาลปกครองกลาง ศาล (มาตรา 197 วรรคสอง)
ปกครองสูงสุด
ข. 3 ชั้น ศาลปกครองชั้นต้น
ศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกา
ค. 2 ชั้น ศาลปกครองชั้นต้น
ศาลปกครองกลาง
ง. 2 ชั้น ศาลปกครองชั้นต้น
ศาลปกครองสูงสุด
80) ศาลรัฐธรรมนูญประกอบด้วย ก. 5 คน ตอบ ค. 9 คน (มาตรา 200)
ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญมีจำนวน ข. 7 คน
กี่คน ค. 9 คน
ง. 11 คน
81) บุคคลใดไม่ใช่คณะกรรมการ ก. ประธานศาลฎีกา ตอบ ข. อัยการสูงสุด (มาตรา 203)
สรรหาผู้สมควรได้รับการแต่งตั้ง ข. อัยการสูงสุด
เป็ นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ค. ประธานสภาผู้แทนราษฎร
ง. บุคคลซึ่งองค์กรอิสระแต่งตั้ง
82) ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญมี ก. 4 ปี วาระเดียว ตอบ ข. 7 ปี วาระเดียว (มาตรา 207)
วาระการดำรงตำแหน่งกี่ปี ข. 7 ปี วาระเดียว
ค. 8 ปี วาระเดียว
ง. 9 ปี วาระเดียว
83) องค์คณะตุลาการศาล ก. 5 คน ตอบ ค. 7 คน (มาตรา 211)
รัฐธรรมนูญในการนั่งพิจารณา + ข. 6 คน
ในการทำคำวินิจฉัยต้องประกอบ ค. 7 คน
ด้วยตุลาการศาลรัฐธรรมนูญไม่ ง. 9 คน
น้อยกว่ากี่คน
84) ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง ก. ให้ศาลรัฐธรรมนูญ + ศาล ตอบ ก. ให้ศาลรัฐธรรมนูญ + ศาลยุติธรรมร่วมกัน
ยุติธรรมร่วมกันกำหนด กำหนดมาตรฐานทางจริยธรรมขึ้นใช้บังคับกับแก่ตุลาการ
มาตรฐานทางจริยธรรมขึ้นใช้ ศาลรัฐธรรมนูญ (มาตรา 219)
บังคับกับแก่ตุลาการศาล
รัฐธรรมนูญ
ข. คณะกรรมการการเลือกตั้ง
ประกอบด้วยกรรมการ
จำนวน 7 คน
ค. ผู้ตรวจการแผ่นดินมีจำนวน
3 คน มีวาระในการดำรง
ตำแหน่ง 7 ปี
ง. ถ้าผู้ตรวจการแผ่นดินเห็นว่า
พ.ร.บ. ขัดกับรัฐธรรมนูญ
ย่อมมีอำนาจเสนอเรื่องไปยัง
ศาลรัฐธรรมนูญได้
85) ข้อใดคือองค์กรอิสระตาม ก. ศาลยุติธรรม ตอบ ค. ผู้ตรวจการแผ่นดิน
รัฐธรรมนูญ ข. ศาลปกครอง ข้อสังเกต
ค. ผู้ตรวจการแผ่นดิน - องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ มี 2 ประเภท ดังนี้
ง. ถูกทุกข้อ 1) องค์กรอิสระที่ถูกจัดตั้งตามรัฐธรรมนูญ มีทั้งสิ้น 5
องค์กร (ดำรงตำแหน่ง 7 ปี วาระเดียว)
1.1) คณะกรรมการการเลือกตั้ง (จำนวน 7 คน)
1.2) ผู้ตรวจการแผ่นดิน (จำนวน 3 คน)
1.3) คณะกรรมการป้ องกัน + ปราบปรามการทุจริต
แห่งชาติ (จำนวน 9 คน)
1.4) คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (จำนวน 7 คน)
1.5) คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (จำนวน
7 คน)
2) องค์กรอิสระอื่นตามรัฐธรรมนูญ = องค์กรที่มีอิสระ
ในการบริหารงาน ถือเป็ นองค์กรที่ถูกจัดตั้งขึ้นตาม
กฎหมายในระดับพระราชบัญญัติ / กฎหมายอื่นที่มีค่า
บังคับเสมอกับพระราชบัญญัติ เช่น คณะกรรมการ
กิจการกระจายเสียง + กิจการโทรทัศน์ + กิจการ
โทรคมนาคมแห่งชาติ (มาตรา 274)
86) ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับผู้ตรวจ ก. หากร่างกฎหมายขัดกับ ตอบ ก. หากร่างกฎหมายขัดกับรัฐธรรมนูญ ผู้ตรวจการ
การแผ่นดิน รัฐธรรมนูญ ผู้ตรวจการแผ่น แผ่นดินเสนอเรื่องไปยังศาลรัฐธรรมนูญได้ (มาตรา 231)
ดินเสนอเรื่องไปยังศาล ข้อสังเกต
รัฐธรรมนูญได้ - ผู้ตรวจการแผ่นดินสามารถเสนอให้ศาลรัฐธรรมนูญ
ข. หาก พ.ร.บ. ขัดกับ ตรวจสอบได้ คือ บทบัญญัติแห่งกฎหมาย อันได้แก่
รัฐธรรมนูญ ผู้ตรวจการแผ่น พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนูญ / พ.ร.บ. / พระราช
ดินเสนอเรื่องไปยังศาล กำหนดที่ได้รับการอนุมัติจากรัฐสภาตามมาตรา 172 /
รัฐธรรมนูญได้ ประกาศคณะปฏิวัติที่มีค่าเทียบเท่ากับ พ.ร.บ. เท่านั้น
ค. หากกฎที่ออกโดยเจ้าหน้าที่ แต่ไม่รวมถึงร่างกฎหมาย
รัฐ ผู้ตรวจการแผ่นดินเสนอ - ส่วนพระราชกฤษฎีกา / กฎกระทรวง / ประกาศ /
เรื่องไปยังศาลปกครองได้ ระเบียบข้อบังคับ กรณีเหล่านี้ผู้ตรวจการแผ่นดินส่ง
ง. การเสนอเรื่องไปยังศาล เรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยไม่ได้ แต่ผู้ตรวจการแผ่น
รัฐธรรมนูญเป็ นดุลพินิจโดย ดินยังมีอำนาจที่จะเสนอเรื่องต่อศาลปกครองตาม
เด็ดขาดของผู้ตรวจการแผ่น มาตรา 231 (2) ได้
ดิน
87) องค์กรใดมีอำนาจสืบสวน / ก. คณะกรรมการป้ องกัน + ตอบ ค. คณะกรรมการการเลือกตั้ง (มาตรา 224)
ไต่สวนกรณีการออกเสียง ปราบปรามการทุจริตแห่ง
ประชามติเป็ นไปโดยมิชอบด้วย ชาติ
กฎหมาย ข. ผู้ตรวจการแผ่นดิน
ค. คณะกรรมการการเลือกตั้ง
ง. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
แห่งชาติ
88) ภายหลังการประกาศผลการ ก. ศาลรัฐธรรมนูญ ตอบ ง. ศาลฎีกา (มาตรา 226)
เลือกตั้ง / การเลือกสมาชิกผู้แทน ข. ศาลปกครอง ข้อสังเกต
ราษฎร / สมาชิกวุฒิสภาแล้ว มี ค. ศาลยุติธรรมชั้นต้น - หากเป็ นการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่น / ผู้บริหารท้อง
หลักฐานอันควรเชื่อได้ว่า ผู้สมัคร ง. ศาลฎีกา ถิ่น ให้คณะกรรมการการเลือกตั้งยื่นคำร้องต่อศาล
รับเลือกตั้ง / ผู้สมัครรับเลือกผู้ใด อุทธรณ์ (รวมทั้งศาลอุทธรณ์ภาค)
กระทำการทุจริตในการเลือกตั้ง / - ในกรณีศาลฎีกาพิพากษาว่า บุคคลผู้สมัครรับเลือกตั้ง /
การเลือก / รู้เห็นกับการกระทำ ผู้สมัครรับเลือก ผู้ใดกระทำการทุจริตในการเลือกตั้ง /
ของบุคคลอื่น ให้คณะกรรมการ การเลือก / รู้เห็นกับการกระทำของบุคคลอื่น เป็ นผู้
การเลือกตั้งยื่นคำร้องต่อศาลใน กระทำความผิดตามที่ถูกร้อง ให้ศาลฎีกาสั่งเพิกถอน
ข้อใดเพื่อสั่งเพิกถอนสิทธิรับเลือก สิทธิสมัครรับเลือกตั้ง / เพิกถอนสิทธิเลือกตั้งของผู้นั้น
ตั้ง / เพิกถอนสิทธิเลือกตั้งของผู้ เป็ นเวลา 10 ปี (มาตรา 226 วรรคสาม)
นั้น
89) ถ้าผู้ตรวจการแผ่นดินเห็นว่า ก. ศาลรัฐธรรมนูญ ตอบ ข. ศาลปกครอง (มาตรา 231 (2))
กฎ / การกระทำอื่นใดของเจ้า ข. ศาลปกครอง
หน้าที่ของรัฐขัดต่อรัฐธรรมนูญ ค. ศาลยุติธรรม
จะต้องเสนอเรื่องต่อศาลใด ง. ศาลชำนัญพิเศษ
90) การจัดตั้งองค์กรปกครองส่วน ก. รายได้ ตอบ ง. ถูกทุกข้อ (มาตรา 249 วรรคสอง)
ท้องถิ่นในรูปแบบใดให้คำนึงถึง ข. จำนวน + ความหนาแน่น
เจตนารมณ์ของประชาชนในท้อง ของประชากร
ถิ่น + ความสามารถในการ ค. พื้นที่ที่ต้องรับผิดชอบ
ปกครองตนเองในด้านใด ง. ถูกทุกข้อ
91) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติม ก. คณะรัฐมนตรี ตอบ ก. คณะรัฐมนตรี (มาตรา 256 (1))
รัฐธรรมนูญต้องมาจากบุคคลใด ข. สมาชิกวุฒิสภาจำนวนไม่ ข้อสังเกต
น้อยกว่า 1 ใน 5 ของจำนวน - ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญต้องมาจาก
สมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของ 1) คณะรัฐมนตรี /
วุฒิสภา 2) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 5
ค. ประชาชนจำนวนไม่น้อยกว่า ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทน
50,000 บาท ราษฎร /
ง. ถูกทุกข้อ 3) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร + สมาชิกวุฒิสภาจำนวน
ไม่น้อยกว่า 1 ใน 5 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มี
อยู่ของทั้ง 2 สภา /
4) ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่า
50,000 คน
92) ก่อนนายกรัฐมนตรีนำความ ก. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ตอบ ง. ถูกทุกข้อ (มาตรา 256 (9))
กราบบังคมทูลเพื่อทรงลงพระ จำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 10
ปรมาภิไธย บุคคลใดมีสิทธิเข้าชื่อ ของสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่
กันเสนอความเห็นว่าร่าง ของสภาผู้แทนราษฎร
รัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมที่รัฐสภา ข. สมาชิกวุฒิสภา จำนวนไม่
มีการลงมติเห็นชอบแล้ว มี น้อยกว่า 1 ใน 10 ของ
ลักษณะเป็ นการเปลี่ยนแปลงการ สมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยอัน วุฒิสภา
มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข ค. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร +
เพื่อส่งความเห็นยังไปยังศาล สมาชิกวุฒิสภารวมกัน
รัฐธรรมนูญวินิจฉัย จำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 10
ของสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่
ของทั้งสองสภารวมกัน
ง. ถูกทุกข้อ
93) การปฏิรูปประเทศตาม ก. ประเทศชาติมีความสงบ ตอบ ง. ถูกทุกข้อ (มาตรา 257)
รัฐธรรมนูญต้องดำเนินการเพื่อ เรียบร้อย
บรรลุเป้ าหมายใด ข. สังคมมีความสงบสุข
ค. ประชาชนมีความสุข
ง. ถูกทุกข้อ
94) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ก. 5 ด้าน ตอบ ข. 7 ด้าน (มาตรา 258)
ไทย พ.ศ. 2560 ให้ดำเนินการ ข. 7 ด้าน ข้อสังเกต
ปฏิรูปประเทศในด้านต่างๆ อย่าง ค. 9 ด้าน - ด้านการเมือง + ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน +
น้อยกี่ด้าน ง. 11 ด้าน ด้านกฎหมาย + ด้านกระบวนการยุติธรรม + ด้านการ
ศึกษา + ด้านเศรษฐกิจ + ด้านอื่นๆ
95) ในการปฏิรูปประเทศตาม ก. 7 ด้าน ตอบ ง. 13 ด้าน (มาตรา 258)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ข. 9 ด้าน ข้อสังเกต
ไทย พ.ศ. 2560 ได้มีการปฏิรูป ค. 11 ด้าน - เริ่มแรกคณะรัฐมนตรีได้มีมติแต่งตั้งคณะกรรมการ
ทั้งหมดกี่ด้าน ง. 13 ด้าน ปฏิรูปประเทศด้านต่างๆ จำนวน 11 คณะ ซึ่งคณะ
กรรมการปฏิรูปประเทศได้ดำเนินงานร่างแผนการ
ปฏิรูปแต่ละด้านจำนวน 11 ด้าน
- ต่อมาคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบการปรับปรุงองค์
ประกอบ + แต่งตั้งเพิ่มเติมคณะกรรมการปฏิรูป
ประเทศด้านต่างๆ เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2563 รวม
13 ด้าน + ได้มีการประกาศแผนการปฏิรูปประเทศ (ฉ
บับปรับปรุง) ทั้งนี้ แผนการปฏิรูปประเทศ ทั้ง 13 ด้าน
ได้แก่
1) แผนการปฏิรูปประเทศด้านการเมือง
2) แผนการปฏิรูปประเทศด้านการบริหารราชการแผ่น
ดิน
3) แผนการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมาย
4) แผนการปฏิรูปประเทศด้านกระบวนการยุติธรรม
5) แผนการปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกิจ
6) แผนการปฏิรูปประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติ +
สิ่งแวดล้อม
7) แผนการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข
8) แผนการปฏิรูปประเทศด้านสื่อสารมวลชน
เทคโนโลยีสารสนเทศ
9) แผนการปฏิรูปประเทศด้านสังคม
10) แผนการปฏิรูปประเทศด้านพลังงาน
11) แผนการปฏิรูปประเทศด้านการป้ องกัน + ปราบ
ปรามการทุจริต + ประพฤติมิชอบ
12) แผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา
13) แผนการปฏิรูปประเทศด้านวัฒนธรรม + กีฬา
แรงงาน + การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
96) ในวาระเริ่มแรก ให้วุฒิสภา ก. 4 ปี ตอบ ข. 5 ปี (มาตรา 269 (4))
ประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 250 ข. 5 ปี
คนซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง ค. 6 ปี
คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ง. 7 ปี
ถวายคำแนะนำ โดยอายุของ
วุฒิสภาในวาระเริ่มแรกนี้ มี
กำหนดกี่ปี นับแต่วันที่มีพระบรม
ราชโองการแต่งตั้ง
97) ผู้มีสิทธิเลือกตั้งซึ่งไม่ไปใช้สิทธิ ก. สิทธิรับสมัครรับเลือกตั้งเป็ น ตอบ จ. สิทธิเข้าสอบแข่งขันเพื่อบรรจุ + แต่งตั้งเป็ น
เลือกตั้ง โดยมิได้แจ้งเหตุอัน สมาชิกท้องถิ่น ข้าราชการ (พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการ
สมควร ไม่อาจถูกจำกัดสิทธิในข้อ ข. สิทธิรับสมัครรับเลือกตั้งเป็ น เลือกตั้งสมาชิกผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561 มาตรา 5)
ใด ผู้บริหารท้องถิ่น
ค. สิทธิรับสมัครรับเลือกตั้งเป็ น
สมาชิกวุฒิสภา
ง. สิทธิรับสมัครรับเลือกตั้งเป็ น
กำนัน + ผู้ใหญ่บ้าน
จ. สิทธิเข้าสอบแข่งขันเพื่อ
บรรจุ + แต่งตั้งเป็ น
ข้าราชการ

You might also like