You are on page 1of 39

สั งคมศึกษา ม.

2
กฎหมาย และกระบวนการตรากฎหมาย
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
สถาบันทางสังคม
กฎหมาย
กฎหมาย และกระบวนการตรากฎหมาย
กฎหมาย
หมายความว่าอะไร
ความหมายของกฎหมาย
มีนักวิชาการหลายท่านได้ให้คานิยามไว้ต่าง ๆ กัน

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระยานิติศาสตร์ไพศาลย์ ศาสตราจารย์พิเศษ


กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ (วัน จามรมาน) หยุด แสงอุทัย
คำสั่งทั้งหลำยของผู้ปกครองว่ำกำร คำสั่งหรือคำบังคับบัญชำของผู้มีอำนำจ ข้อบังคับของรัฐหรือประเทศ ซึ่งใช้
แผ่นดินต่อรำษฎรทั้งหลำย เมื่อไม่ทำ สูงสุดได้วำงไว้เหนือผู้อยู่ใต้อำนำจที่จะให้ บังคับควำมประพฤติของพลเมือง ถ้ำ
ตำมแล้วตำมธรรมดำต้องลงโทษ กระทำหรืองดเว้นสิ่งใด โดยถ้ำผู้ใดไม่ทำ ฝ่ำฝืนไม่ปฏิบัติตำม ย่อมมีควำมผิด
ตำมจะบันดำลให้เกิดผลร้ำยหรือโทษได้ และย่อมต้องถูกลงโทษ

สรุป
รัฐธรรมนูญ 01 ลาดับศักดิก
์ ฎหมาย
พระราชบัญญัติประกอบ
02 รัฐธรรมนูญ
พระราชบัญญัติ 03
04 พระราชกาหนด

พระราชกฤษฎีกา 05

06 กฎกระทรวง

ข้อบัญญัติท้องถิ่น 07
การตราพระราชบัญญัติ กฎหมายที่เกี่ยวกับ กฎเกณฑ์การปกครองประเทศ ซึ่งแยก
รายละเอียดต่างหากจากรัฐธรรมนูญ
เพื่ อช่วย ขยาย บทบัญญัติในรัฐธรรมนูญให้สมบูรณ์ ครบถ้วนยิ่งขึ้น
ประกอบรัฐธรรมนูญ ร่าง พ.ร.ป. ตกไป
สาระสาคัญขัด รธน.
ตัดส่วนนั้น
เนือ้ หาบางส่วนขัด รธน.

ไม่ขัด รธน.
ศาลฎีกา
รัฐสภา (สส.+สว.)
ศาลรัฐธรรมนูญ
สส.หรือ สว. ≥
นายกรัฐมนตรีส่งร่างพ.ร.ป.

1 ใน 10 วาระที่ 1 องค์กรอิสระตาม ทูลเกล้าฯ ถวาย


รัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์
ร่าง วาระที่ 2 มีผู้เข้าชื่อคัดค้าน
ลงพระปรมาภิไธย และ
พ.ร.ป. ไม่มีข้อทักท้วง
1.นายกรัฐมนตรี
2.สมาชิกรัฐสภา 1/10 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
วาระที่ 3
คณะรัฐมนตรี
มีข้อทักท้วง
เห็นชอบ ไม่มีผู้เข้าชื่อ
ร่าง คัดค้าน
พ.ร.ป. ไม่เห็นชอบ ส่งให้
ตกไป รัฐสภาแก้ไข นายกรัฐมนตรี
การตราพระราชบัญญัติ กฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดย
คาแนะนาและยินยอมของ รัฐสภา

ร่าง พ.ร.ป. ตกไป


สาระสาคัญขัด รธน.
ตัดส่วนนัน

เนือ้ หาบางส่วนขัด รธน.

สภาผู้แทนราษฎร ไม่ขัด รธน.


วุฒิสภา
สส. ≥ 20 วาระที่ 1
วาระที่ 1 นายกรัฐมนตรีส่งร่างพ.ร.บ.
วาระที่ 2 ทูลเกล้าฯ ถวาย
วาระที่ 2 พระมหากษัตริย์
ร่าง วาระที่ 3
มีผู้เข้าชื่อคัดค้าน
ลงพระปรมาภิไธย และ
พ.ร.บ. วาระที่ 3 1.นายกรัฐมนตรี
2.สมาชิกรัฐสภา 1/10 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
คณะรัฐมน เห็นชอบ
ตรี เห็นชอบ
ไม่เห็นชอบ ไม่มีผู้เข้าชื่อ
แก้ไขเพิ่มเติม
คัดค้าน
ร่าง พ.ร.บ.
สภาผู้แทนราษฎร ยับยั้ง
ประชาชน ≥ 10,000 นายกรัฐมนตรี
ตกไป
ไม่เห็นชอบ ยืนยันเห็นชอบ
การตราพระราชกาหนด
กฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยคาแนะนาและยินยอมของ คณะรัฐมนตรี
การตราพ.ร.ก. ทาได้ในกรณีที่คณะรัฐมนตรีเห็นว่าเป็นกรณีฉุกเฉินที่มีความจาเป็น รีบด่วน อันมิอาจหลีกเลี่ยงได้

พ.ร.ก. ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์

พ.ร.ก. เป็นไปตามหลักเกณฑ์
นายกรัฐมนตรีส่งร่างพ.ร.ก.
ทูลเกล้าฯ ถวาย รัฐสภา พ.ร.ก. ตกไป
พระมหากษัตริย์
ลงพระปรมาภิไธย และ ต้องนา พ.ร.ก.
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา นัน้ เสนอต่อ
รัฐสภา เพื่อตรา มีผู้เข้าชื่อคัดค้าน
รัฐมนตรี เป็น พ.ร.บ. สส. หรือ สว. 1/5
อนุมัติ พ.ร.ก. มีผลเป็น
คณะรัฐมนตรี ไม่อนุมัติ พ.ร.บ. ต่อไป
เป็นผู้พิจารณา
ร่าง พ.ร.ก. พ.ร.ก. ตกไป
การตราพระราชกฤษฎีกา
กฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยอาศัยอานาจตาม รัฐธรรมนูญ
พระราชบัญญัติ พระราชกาหนด เพื่ อใช้ในการบริหารราชการแผ่นดิน

รัฐมนตรี นายกรัฐมนตรีส่ง
ผู้รก
ั ษาการ
พ.ร.ฎ. ตาม ร่าง ร่างพ.ร.ป.
คณะรัฐมนตรี
พระราชบัญญัติ พ.ร.ฎ. ทูลเกล้าฯ ถวาย
-พระราชกาหนด
เป็นผู้พิจารณา
ให้อานาจไว้ ร่าง พ.ร.ฎ. พระมหากษัตริย์
ลงพระปรมาภิไธย
และประกาศในราช
กิจจานุเบกษา
การตรากฎกระทรวง
กฎหมายของฝ่ายบริหารที่รฐั มนตรีผู้รก
ั ษาการตามพระราชบัญญัติหรือพระราชกาหนดได้ออก
เพื่ อดาเนินการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติหรือพระราชกาหนดนั้น ๆ

รัฐมนตรี กฎกระทรวง
ผู้รก
ั ษาการตาม
กฎกระทรวงผูม ้ ี ร่าง คณะรัฐมนตรี จะบังคับใช้เป็น
อานาจตาม กฎกระทรวง เป็นผู้พิจารณา กฎหมายได้ต่อเมื่อ
พระราชบัญญัติ ร่าง กฎกระทรวง ประกาศในราช
-พระราชกาหนด
ให้อานาจไว้ กิจจานุเบกษา
การตราข้อบัญญัติท้องถิ่น
ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบัญญัติ ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตาบล
ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร ข้อบัญญัติเมืองพั ทยา

พิจารณาร่าง การตราข้อบัญญัติ
เสนอร่าง บังคับใช้ก็ต่อเมื่อ
สภา อบจ. นายก อบจ. การให้ความเห็นชอบ
นายกฯ-ผู้ว่าฯ เปิดเผย ณ
สภา เทศบาล นายกเทศมนตรี ผู้ว่าฯ จัจังงหวั
หวัดด
สมาชิกสภา อบจ. อบต.
ท้องถิ่น สภา อบต. นายก อบต. นายอาเภอ สานักงานเทศบาล

ประชาชนใน ผู้ว่า กรุงเทพฯ- ศาลากลางพัทยา


สภากรุงเทพฯ
พื้นที่ ประธานสภากรุงเทพฯ ผู้ว่าฯ ชลบุรี ประกาศในราช
สภาเมืองพัทยา กิจจานุเบกษา
นายกเมืองพัทยา
กฎหมายแพ่งเกี่ยวกับ
เด็กหรือบุคคลที่ยังไม่
ความสามารถของ บรรลุนิติภาวะ
เยาวชนคือใคร ???
บุคคลที่มีอายุตั้งแต่แรกเกิด ***ดังนั้น***
จนกระทั่งอายุ 20 ปีบริบูรณ์ กฎหมายถื อ ว่ า ผู้ เ ยาว์ ยั ง จ าเป็ น จะต้ อ งได้ รั บ
ประสบการณ์ เ พิ่ ม เติ ม ในอนาคต จึ ง จ ากั ด
ความสามารถของผู้เยาว์ ซึ่งบางเรื่องจะต้อง
ได้รับความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรม

***แต่ว่า*** ยังมีกิจกรรมที่ผู้เยาว์สามารถ
กระทาได้ตามสิทธิเสรีภาพของตนเอง
นิติกรรมที่ผเู้ ยาว์สามารถ
กระทาได้ด้วยตนเอง
นิติกรรมที่ทำให้ได้มา นิติกรรมที่เป็นการสมควรแก่
ซึ่งสิทธิอันใดอันหนึ่ง ฐานะ และจำเป็นเพื่อการเลี้ยงชีพ

01 03
02 04
นิติกรรมที่ทำให้ ผู้เยาว์อาจทำพินัยกรรมได้
หลุดพ้นจากหน้าที่
อันใดอันหนึ่ง
กฎหมายเกี่ยวกับ
เอกสารสาคัญที่ใช้พิสูจน์ตัวบุคคล
ภูมิลาเนา สถานะต่าง ๆ
บัตรประชาชนเริ่มทา
ได้ตั้งแต่อายุเท่าไร ***หลักเกณฑ์***
ต้องมีสัญชาติไทย มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
บัตรมีอายุใช้ได้ 8 ปี นับตั้งแต่วันออกบัตร
พระราชบัญญัติบัตรประจาตัวประชาชน
มาตรา 17 ผู้ถือบัตรหรือใบรับหรือใบแทน
*** มีผู้ได้รับการยกเว้นไม่ต้องมีบัตร เช่น ภิกษุ สามเณร
ใบรับ ซึ่งมีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป ผู้ใดไม่
สามารถแสดงบัตรหรือใบรับหรือใบแทนใบ
รับ เมื่อเจ้าพนักงานตรวจบัตรขอตรวจ
ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 200 บาท
กฎหมายแพ่ง
เกี่ยวกับ

ชาย-หญิง สามารถ คือ การที่ ชาย-หญิง ทาสัญญาว่าจะสมรสกัน เมื่อมี


หมั้นกันได้ตั้งแต่อายุ... การหมั้นเกิดขึ้นแล้ว ถ้าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่อาจทาการ
***เงื่อนไข***
สมรสได้ อีกฝ่ายหนึ่งย่อมมีสิทธิเรียกค่าทดแทนได้
ต้องได้รับความยินยอมจากผู้ปกครอง โดยของหมั้นมีองค์ประกอบดังนี้

ของหมั้น สินสอด
คือทรัพย์สินที่ฝ่ายชายมอบ คือทรัพย์สินที่ฝ่ายชายมอบ ให้แก่
ให้แก่ฝ่ายหญิง เพื่อเป็น บิดามารดา ผู้ปกครองของฝ่ายหญิง
หลักฐานว่าจะสมรส เพื่อตอบแทนที่หญิงยอมสมรส
กฎหมายแพ่ง
เกี่ยวกับ
ชาย-หญิง สามารถ
สมรสกันได้ตั้งแต่อายุ... คือ การที่ ชาย-หญิง สมัครใจเข้ามาอยู่กินกันฉัน
สามี ภ ริ ย า โดยจะต้ อ งจดทะเบี ย นสมรสกั บ
***เงื่อนไข*** เจ้าหน้าที่นายทะเบียน
ต้องได้รับความยินยอมจากผู้ปกครอง
กฎหมายแพ่ง
เกี่ยวกับ เงื่อนไขที่เป็นข้อห้าม

1. ชาย-หญิ ง สมรสกั น ได้ ต้ อ งอายุ 17 ปี 2. ชายหรือหญิงต้องไม่เป็นบุคคลวิกลจริตหรือ


บริบูรณ์ ในกรณีเป็นผู้เยาว์จะทาการสมรสได้ก็ เป็นบุคคลที่ศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ
ต่อเมื่อได้รับความยินยอมจากผู้ปกครอง
4. ผู้รับบุตรบุญธรรมและบุตรบุญธรรมจะ
3. ชายและหญิงต้องไม่เป็นญาติสืบสายโลหิต สมรสกันไม่ได้
ไม่เป็นพี่น้องร่วมบิดาหรือมารดาเดียวกัน
6. หญิงที่การสมรสสิ้นสุดลง สามารถทาการ
5. ชายหรือหญิงจะทาการสมรสในขณะที่ตนมีคู่ สมรสใหม่ได้ก็ต่อเมื่อผ่านการสิ้นสุดแห่งการ
สมรสอยูไ่ ม่ได้ สมรสไปแล้วไม่น้อยกว่า 310 วัน
กฎหมายแพ่ง
เกี่ยวกับ

ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภรรยา

1. ด้านส่วนตัว ช่วยเหลืออุปการะเลี้ยงดูซึ่งกันและกันตามความสามารถและฐานะ
2. ด้านทรัพย์สิน มี 2 ประเภท
ทรัพย์สินส่วนตัว เช่น ทรัพย์สินที่มีก่อนสมรส เครื่องใช้ส่วนตัว มรดก การให้โดยเสน่หา
สินสมรส คือ ทรัพย์สินที่ได้มาระหว่างสมรส ถือเป็นกรรมสิทธิ์ร่วมของคู่สมรส
กฎหมายแพ่ง
เกี่ยวกับ
บุตรชอบด้วยกฎหมาย
บุตรซึ่งเกิดจากหญิงที่เป็นภรรยาโดยมิได้จดทะเบียนสมรส
เป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายของฝ่ายหญิง
แต่เป็นบุตรนอกกฎหมายของฝ่ายชาย
ฝ่ายชายจะต้องจดทะเบียนรับรองบุตร
ซึ่งจะส่งผลให้เด็กเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายของฝ่ายชายด้วย

กรณีเป็นบุตรนอกสมรส ภายหลังชาย-หญิง จดทะเบียนกัน


ฝ่ายชายไม่ต้องจดทะเบียนรับรองบุตร

ศาลพิพากษาว่าเป็นบุตร โดยให้บุตรชอบด้วยกฎหมาย
กฎหมายแพ่ง
เกี่ยวกับ

ได้ แ ก่ ทรั พ ย์ สิ น ทุ ก ชนิ ด ของผู้ ต าย รวมทั้ ง สิ ท ธิ แ ละหน้ า ที่ ตลอดจนความ


รับผิดชอบต่าง ๆ เกี่ยวกับทรัพย์สิน เว้นแต่สิทธิเฉพาะตัวของผู้ตาย เช่น สิทธิ
ในการขับขี่รถ เป็นต้น
กฎหมายแพ่ง
เกี่ยวกับ

กรณีบุคคลใดเสียชีวิต มรดกจะตกทอดแก่บุคคลที่เป็นทายาท ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ

ทายาทโดยธรรม
คือ ทายาทที่มีสิทธิได้รับมรดก ทายาทตามพินัยกรรม
ตามกฎหมาย โดยเรียงลาดับดังนี้ คือ ทายาทที่มีสิทธิตามพินัยกรรม
1. ผู้สืบสันดาน ได้ แ ก่ ค าสั่ ง ยก-แบ่ ง ทรั พ ย์ สิ น
2. บิดา มารดา ข้ อ ก าหนด อั น เกี่ ย วกั บ ทรั พ ย์ สิ น
3. พี่น้องร่วมมารดาเดียวกัน ของตนเมื่ อ เสี ย ชี วิ ต แล้ ว หรื อ ใน
4. พี่น้องต่างบิดาหรือมารดา การอื่น ๆ ที่ก ฎหมายรับ รองซึ่ง มี
5. ปู่ ยา ตา ยาย ผลเมื่อเสียชีวิตแล้ว
6. ลุง ป้า น้า อา
กฎหมายแพ่ง
เกี่ยวกับ หลักเกณฑ์

บุคคลที่จะรับผู้อื่นเป็นบุตร - การรับผู้เยาว์ต้องได้รับการยินยอมจากบุพการีหรือ
บุญธรรมได้จะต้องมีอายุ
ผู้ปกครองของบุตรบุญธรรม

- การรับบุตรบุญธรรมจะสมบูรณ์เมื่อได้จดทะเบียน
รับรองบุตรบุญธรรมตามกฎหมาย

- ผู้รับหรือผู้ที่จะเป็นบุตรบุญธรรม ถ้ามี - บุตรบุญธรรมมีฐานะเดียวกับบุตรโดย


คู่สมรสอยู่จะต้องได้รับความยินยอมจากคู่ ชอบด้วยกฎหมายของผู้รับบุตรบุญธรรม
สมรสก่อน แต่ไม่เสียสิทธิในครอบครัวที่กาเนิดมา
เงินที่รัฐหรือท้องถิ่นเรียกเก็บจากบุคคล
กฎหมาย
เพื่อนาไปใช้จ่ายในการบริหารประเทศ
การปฏิบัติตนตามกฎหมายภาษีอากร
จะส่งผลดีต่อประเทศชาติในหลาย ๆ ด้าน ดังนี้
- ด้ า นการคมนาคม รั ฐ น าเงิ น ไป - ด้านสาธารณูปโภค รัฐนาเงินไป
สร้างและปรับปรุงเส้นทางคมนาคมต่าง ๆ ช่วยเหลือด้านไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์ ฯลฯ

- ด้ า นสาธารณสุ ข รั ฐ น าเงิ น ไป - ด้ า นการศึ ก ษา รั ฐ น าเงิ น ไปพั ฒ นา


พัฒนาคนและอุปกรณ์ทางสาธารณสุข โรงเรียน อุปกรณ์สนับสนุน เทคโนโลยีต่าง ๆ

- ด้านการรักษาความสงบ รัฐนาเงินไป
ซื้ออุปกรณ์ในการรักษาความมั่งคงของประเทศ
กฎหมาย ข้ อ บั ง คั บ ที่ รั ฐ ได้ บั ญ ญั ติ เ พื่ อ ก าหนด
ความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง
ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2560
หลักการสาคัญของการปฏิบัติตนระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง ดังนี้
1. การใช้แรงงานทั่วไป
2. การใช้แรงงานหญิง
3. การใช้แรงงานเด็ก

มีการกาหนดข้อตกลงใดบ้าง แรงงานแต่ละอย่างแตกต่างกันอย่างไร
กฎหมาย
กฎหมายที่ เ กี่ย วกับ การจัด ระเบี ยบองค์ ก ร
ของฝ่ายปกครอง และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ระเบียบบริหาร
การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน

กระทรวงต่าง ๆ กรม
ราชการส่วนกลาง สำนักนายกรัฐมนตรี

ระเบียบบริหาร
จังหวัด อำเภอ
ราชการส่วนภูมิภาค

ระเบียบบริหาร องค์การบริหาร องค์การบริหาร


เทศบาล
ราชการส่วนท้องถิน่ ส่วนจังหวัด ส่วนตำบล
กฎหมาย
พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 ได้
จัดประเภทของยาเสพติดให้โทษออกเป็น 5 ประเภท

ประเภทที่1 ยาเสพติดให้โทษชนิดร้ายแรง ประเภทที่2 ยาเสพติดให้โทษทั่วไป เป็นยา


เป็นยาที่ไม่มีการนามาใช้ในทางการแพทย์ ที่มีประโยชน์ในการรักษาโรคในระดับน้อย
และท าให้ เ กิ ด การเสี่ ย งต่ อ การติ ด ยาของ จนถึงมาก และทาให้เกิดการเสี่ยงต่อการ
ประชากรในระดั บ รุ น แรง เช่ น เฮโรอี น ติดยาของประชากรในระดับที่ต้องพึงระวัง
ยาบ้า ยาอี เป็นต้น เช่น มอร์ฟีน โคเคน โคเดอีน เป็นต้น
ประเภทที่3 ยาเสพติดให้โทษที่มียาเสพติดให้โทษในประเภท2 เป็นส่วนผสมอยู่ด้วย ตามที่ได้
ขึ้นทะเบียนตารับไว้ เป็นยาที่ทาให้เกิดการเสี่ยงต่อการติดยาของประชากรน้อย แต่ยังคงมี
อันตราย และมีประโยชน์มากในการรักษาโรคเช่น ยาแก้ไอผสมโคเดอีน เป็นต้น
กฎหมาย
พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 ได้
จัดประเภทของยาเสพติดให้โทษออกเป็น 5 ประเภท

ประเภทที่4 สารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพ ประเภทที5่ ยาเสพติดให้โทษที่มิได้อยู่ใน


ติดให้โทษในประเภท1 หรือประเภท2 เช่น อา ประเภทที่1 ถึงประเภทที4่ เช่น กัญชา พืช
เซติคแอนไฮไดรด์(Acetic Anhydride) อาเซ กระท่อม เห็ดขี้ควาย เป็นต้น
ติลคลอไรด์ (Acetyl Chloride)
กฎหมาย
พระราชบัญญัติรับราชการทหาร พ.ศ. 2497
มีรายละเอียดสาคัญดังต่อไปนี้

ชายไทยเริ่มเป็ นทหารกองเกิ นนับแต่อายุ ทหารกองเกินอาจถูกเรียกไปรับการตรวจ


ครบ 18 ปี บ ริ บู ร ณ์ ต้ อ งไปแสดงตนเพื่ อ เลือกเพื่อเข้ากองประจาการได้เมื่ออายุครบ
ลงบัญชีทหารกองเกินภายในพุทธศักราช 21 ปีบริบูรณ์
นั้น ที่อาเภอท้องที่ที่ มี ภูมิ ลาเนาอยู่ โดยจะ
ได้ รั บ ใบส าคั ญ สด. ๙ เมื่ อ ลงบั ญ ชี ณ ผู้ใดฝ่าฝืนไม่ขึ้นบัญชีทหารกองเกินหรือไม่
อาเภอใดแล้ว อาเภอนั้นจะเป็นภูมิ ลาเนา มารั บ หมายเรี ย กต้ อ งระวางโทษจ าคุ ก ไม่
ทหารของทหารกองเกินผู้นั้น เกินสามเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งร้อยบาท
หรือทั้งจาทั้งปรับ
กฎหมาย
พระราชบัญญัติรับราชการทหาร พ.ศ. 2497
มีรายละเอียดสาคัญดังต่อไปนี้

บุคคลที่ตรวจเลือกเข้ามาเพื่อเข้ารับราชการ บุคคลที่ได้รับการยกเว้น ไม่ต้องรับ


เ ป็ น ท ห า ร ก อ ง ป ร ะ จ า ก า ร โ ด ย ป ก ติ มี ราชการทหารกองประจาการ
ระยะเวลาสองปี (1) พระภิกษุที่มีสมณศักดิ์ หรือที่เป็น
เปรียญ และนักบวชในพระพุทธศาสนา
แห่งนิกายมหายานที่มีสมณศักดิ์
(2) คนพิการทุพพลภาพ ซึ่งไม่สามารถ
เป็นทหารได้
หน้าที่
3. หน้ำที่และ

หน้าที่
1. หน้ำที่ตำม 2. หน้ำที่ ควำมรับผิดชอบ
รัฐธรรมนูญ ทางการเมือง ทางสังคม

อำนำจ-ประโยชน์ของบุคคลที่
สิทธิ กฎหมำยรับรองและคุ้มครอง บทบาท

บทบาท
เสรีภาพ แนวประพฤติปฏิบัติตน

สิทธิ-เสรีภาพ
ให้ถูกต้องและเหมำะสม
ควำมมีอิสระของบุคคลที่สำมำรถ
ตำมสถำนภำพของตน
กระทำตำมสิทธิและขอบเขตของกฎหมำย

สถานภาพ
1 2
สถานภาพ โดยกำเนิด สถานภาพ ที่ได้มำภำยหลัง
การส่งเสริมให้เกิดการปฏิบัติ การส่งเสริมให้เกิดบุคลิกภาพ
ตามวิถีประชาธิปไตย ตามวิถีประชาธิปไตย

การส่งเสริมให้เกิดความเชื่อในระบอบประชาธิปไตย
1 2
เชื่อในความเป็น มนุษย์ เชื่อใน ระบอบประชาธิปไตย
สถาบันทางสั งคม
บทบาทของสถาบันทางสังคม

การสร้างสมาชิกใหม่ทดแทนสมาชิกเก่า

เลี้ยงดูบุตรให้เจริญเติบโตเป็นสมาชิกที่มีคุณภาพของสังคม
อบรม-สั่งสอน-ปลูกฝัง ระเบียบของสังคม

การให้ความรักและความอบอุ่นแก่สมาชิก
การกาหนดสถานภาพของบุคคล
การควบคุมความสัมพันธ์ทางเพศ
บทบาทของสถาบันทางสังคม
สถาบันการศึกษา
1 การถ่ายทอดความรู้ วัฒนธรรม และทักษะที่จาเป็นในการดารงชีวิต

การสร้างบุคลิกภาพทางสังคมแก่สมาชิก 2
3 การผลิตแรงงานทางเศรษฐกิจ

การกาหนดสถานภาพและชนชั้นทางสังคม
4
5 การสร้างกลุ่มเพื่อนสมาชิก
ความสาคัญของสถาบันทางสังคม

กำรสร้ำงเสริมและถ่ำยทอด
กำรสร้ำงควำมเป็นปึกแผ่น วัฒนธรรมแก่สังคม
ควำมสำมัคคีให้กับสังคม
กำรควบคุมสมำชิกให้ปฏิบัติ
ตำมบรรทัดฐำนของสังคม
กำรตอบสนองควำมต้องกำร
ทำงจิตใจแก่สมำชิก
ความสาคัญของสถาบันทางสังคม

การกระจายสินค้า
และบริการ การผลิต

การบริโภค
บทบาทของสถาบันทางสังคม

การสร้างระเบียบกฎเกณฑ์ให้สังคมสงบสุข

การดาเนินการเพื่อสนองความต้องการของสังคม

การปกป้องคุ้มครองสังคม

การแก้ไขความขัดแย้งที่เกิดขึน้ ในสังคม
บทบาทของสถาบันทางสังคม

1 กำรสอดส่องดูแลและติดตำมเหตุกำรณ์ในสังคม

เป็นเวทีสำธำรณะ ช่องทำงแสดงควำมเห็น 2
3 กำรนำเสนอข้อมูลที่เป็นประโยชน์แก่ประชำชน

กำรให้ควำมบันเทิง ผ่อนคลำยแก่ประชำชน 4
5 นำเสนอเรื่องรำวต่ำง ๆ และถ่ำยทอดวัฒนธรรม
บทบาทของสถาบันทางสังคม

ช่วยผ่อนคลายความตึงเครียดแก่สมาชิกของสังคม

พัฒนาศักยภาพของบุคคล เยาวชน ผู้สูงอายุ

ช่วยให้สังคมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เกิดความสามัคคี
และสมาชิกรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของสังคม

You might also like