You are on page 1of 5

อํานาจ K

I
อธิปไตย
N
G
แต่งตัง นกยก และ
พระราชทานอภัยโทษ
รัฐมนตร
แต่งตังองคมนตร
ปลดตําแหน่ง นกยก
และรัฐมนตร
ลงนามรับสนอง
ลงลงพระปรมาภิไธย
พระบรมราชโองการ
(ลงนาม) เพือทําให้
ทูลเกล้าฯ เสนอชือ ถวายสัตย์ปฎิญาณต่อ
กฎหมายนันมีผลบังคับ
นายกรัฐมนตร พระมหากษัตรย์
ใช้

ขึนทูลเกล้า ฯ ให้พระ
มหากษัตรย์ทรงลงพระ
ปรมาภิไธย

อํานาจบรหาร
(คณะรัฐมนตร)
อํานาจตุลาการ
(ศาล)
อํานาจนิติบัติญัติ
อํานาจบรหาร หมายถึงบุคคล หรอ
อํานาจตุลาการ เปนอํานาจทีดํารง
องค์กร ทีนํานโยบายของรัฐไปดําเนินการ (รัฐสภา)
ไว้ซึงความยุติธรรม ผู้ใช้อํานาจตุลาการคือ
และปฏิบัติ นอกจากจะสร้างกฎหมายแล้ว ยัง
ศาล เมือมีการละเมิดกฎหมายเกิดขึน ศาล
สร้างนโยบายบรหารประเทศอีกด้วย โดยจะ
จะเปนเปนผู้พิจารณาคดี,ให้ความ
นํานโยบาย และกฎหมายทีผ่านความเปน อํานาจนิติบัญญัติ เปนอํานาจหน้าที
ยุติธรรม, ตีความกฎหมาย และปองกัน
ชอบของรัฐสภาแล้วไปดําเนินหรอไปปฏิบัติ รัฐสภา มีหน้าทีพิจารณาออกกฎหมาย
สิทธิต่างๆ การแบ่งแยกอํานาจตุลาการ
บังคับให้แก่ประชาชนตามขันตอนที
ออกมาเปนหนึงในอํานาจอธิปไตย ก็เพือ
รัฐธรรมนูญกําหนด กฎหมายทีจะออกมา
ให้ฝายตุลาการมีอิสระในการปฏิบัติงาน
ประกอบด้วย จากรัฐสภาต้องผ่านความเห็นชอบทังจาก
ไม่ตกอยู่ภายใต้อิทธิพล หรอใต้บังคับของ
สส. และ สว.
อํานาจฝายใด
ข้าราชการการเมือง
คือข้าราชการซึงได้รับการเลือกตังจาก แบ่งออกเปน 2 ฝาย ได้แก่
ประชาชนให้มาทําหน้าทีเปนนายกรัฐมนตร
คณะรัฐมนตร เพือบรหารบ้านเมือง ตัวอย่างศาลต่างๆในไทย ได้แก่
ข้าราชการประจํา สมาชิกผู้แทนราษฎร (สส.)
คือ บุคลากรซึงเปนกลไกหรอเครอง สมาชิกวุฒิสภา (สว.)
มือในการนํานโยบายและ ศาลทหาร
กฎหมายไปปฏิบัติ ทังสองฝายได้มาจากการเลือกตัง พิพากษาคดีอาญา และคดีอืน
ของประชาชน ตามทีกฎหมายกําหนด

ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง
ศาลรัฐธรรมนูญ
มีอํานาจพิพากษาคดีทังปวง ยกเว้นคดีที พิพากษาคดีระหว่างหน่วยงานราชการ
ประชาชนทัวไปทีไม่ใช่เจ้าหน้าทีรัฐไม่
กฎหมายกําหนดให้อยู่ในอํานาจของศาลอืน หรอ หน่วยงานราชการกับเอกชน มี 2 ชัน
สามารถเข้าได้ เอาไว้พิจารณา
มี 3 ชัน ได้แก่ ศาลชันต้น , ศาลอุทธรณ์ คือ ศาลปกครองชันต้นและศาลปกครอง
กฎหมายว่าขัดต่อรัฐธรรมนูญหรอไม่
และศาลฎีกา สูงสุดซึงทําหน้าทีเหมือน ศาลฎีกา

กฤษณรั ตน์ 2 พศิ น 9 อรรณพ 13 กชกร 14 ปรนทร 26 พั ชดาภา 30 ภูษนิ ศา 33 อั จฉรยา 39


สงครามซีเรีย: ชาวเมืองหนีตายออกจากอีสเทิร์นกูตา

ชาวเมืองจำนวนมากอพยพออกจากภูมิภาคอีสเทิร์นกูตา (Eastern Ghouta) ที่อยู่ภายใต้การยึดครองของกลุ่มกบฏ ขณะที่สถานการณ์เลว


ร้ายลงจนถึงขั้น "เลยจุดวิกฤต" กองทัพของซีเรียดูเหมือนจะเพิ่มแรงกดดันที่แนวรบหลายด้านเพื่อพยายามยึดคืนพื้นที่ทางตะวันออกของกรุง
ดามัสกัส หน่วยงานสังเกตการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนในซีเรีย ระบุว่า กองกำลังของรัฐบาลยึดคืนพื้นที่มาได้แล้วราว 10%
ขบวนขนส่งความช่วยเหลือของสหประชาชาติที่มีแผนจะขนส่งความช่วยเหลือเข้าไปในวันอาทิตย์ ยังไม่สามารถเข้าไปในพื้นที่นี้ได้
แถลงการณ์ของสหประชาชาติระบุว่า เจ้าหน้าที่ทางการซีเรียไม่อนุญาตให้รถบรรทุก 40 คันที่ขนส่งความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมเข้าไป
เมืองดูมา สหประชาชาติระบุด้วยว่า "การลงโทษพลเมืองโดยไม่มีการเจาะจงเช่นนี้เป็นเรื่องที่สามารถยอมรับได้"
ขณะนี้มีประชาชนราว 393,000 คน ติดค้างอยู่ในเมืองที่ถูกปิดล้อม การหยุดยิงประจำวัน 5 ชั่วโมงตามคำสั่งของรัสเซีย ซึ่งเป็นผู้
สนับสนุนหลักของซีเรีย และการหยุดยิงทั่วประเทศตามคำสั่งของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ ต่างก็ไม่ได้นำไปสู่การบรรเทา
ปัญหาด้านมนุษยธรรมในพื้นที่นี้ได้ แหล่งข่าวจากฝ่ายค้านและผู้สื่อข่าวที่อยู่ในพื้นที่ได้พูดคุยกับประชาชนหลายร้อยคนที่อพยพหนีการทิ้ง
ระเบิดในเมืองบีตซาวา ซึ่งอยู่ทางริมด้านตะวันออกของศูนย์กลางภูมิภาคที่มีผู้อยู่อาศัยอยู่อย่างหนาแน่ในภูมิภาคอีสเทิร์นกูตา ซึ่งประกอบ
ด้วยเมืองต่าง ๆ และพื้นที่การเกษตรหลายแห่ง
มีรายงานว่า ชาวเมืองซึ่งจำนวนมากเป็นเด็กและผู้หญิง ได้พากันหนีเข้าไปที่ศูนย์กลางเมืองเพื่อหาที่กำบัง หลังการสู้รบได้ทวีความรุนแรงขึ้น
ในเมืองบีตซาวา ระหว่างกองกำลังของรัฐบาลและกลุ่มจาอิช อัล-อิสลาม หนึ่งในกลุ่มกบฏหลัก 3 กลุ่ม ชาวเมืองคนหนึ่งที่ได้พูดคุยกับบีบีซี
บอกว่า สถานการณ์ในอีสเทิร์นกูตาเลวร้ายถึงขั้น "เลยจุดวิกฤต" รายงานหลายแห่งระบุว่า กองกำลังของรัฐบาลกำลังพยายามจะแบ่ง
ภูมิภาคนี้ออกเป็นสองส่วน กองทัพของซีเรียระบุว่า กำลังพยายามจะปลดปล่อยภูมิภาคนี้ ซึ่งเป็นหนึ่งในฐานที่มั่นสุดท้ายของกลุ่มกบฏ ให้
หลุดพ้นจากกลุ่มคนที่ทางการเรียกว่า ผู้ก่อการร้าย แต่รัฐบาลก็ถูกกล่าวหาว่าพุ่งเป้าโจมตีพลเรือนเช่นกัน การสู้รบตั้งแต่ 18 กุมภาพันธ์ที่
ผ่านมา ทำให้มีผู้เสียชีวิตแล้วอย่างน้อย 650 คน ในจำนวนนี้มากกว่า 150 เป็นเด็ก

You might also like