You are on page 1of 7

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เฉลิมฉลองสถาปนาครบรอบ 72 ปี ในปี พ.ศ.

2558

การแข่งขันเคมีโอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 11
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

3 มิถุนายน 2558
เวลา 08:30 – 13:30 น.

เฉลยข้อสอบภาคปฏิบัติ

ศูนย์ สอวน. .........................................

เลขประจำตัวสอบ.................................
การแข่งขันเคมีโอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 11 2

การทดลองที่ 1
การหาปริมาณ Total Alkalinity และ Free Alkalinity ในสารตัวอย่าง (23 คะแนน)

1.1 การหาปริมาณ total alkalinity ในสารตัวอย่าง (10.5 คะแนน)


ตารางที่ 1 ข้อมูลการไทเทรตหา total alkalinity ในสารตัวอย่าง (8.25 คะแนน)
การทดลองครั้งที่ - สีถูกต้องและส่ง
ข้อมูลการทดลอง 3 ขวด ได้ 1 คะแนน
1 2 3 2 ขวด ได้ 0.5 คะแนน
ความเข้มข้น HCl (M) 0.04961 1 ขวด ได้ 0.5 คะแนน
ปริมาตรสารละลายตัวอย่าง (mL) 25.00 25.00 25.00 - ปริมาตร ทศนิยม 2 ตำแหน่ง
ทุกช่อง 0.25 คะแนน
ปริมาตร HCl เริ่มต้น (mL) 0.00 0.00 0.00 - Precision ของ mL HCl ที่ใช้
ปริมาตร HCl ที่จุดยุติ (mL) 23.40 23.40 23.35 1 คะแนน (พิจารณาจาก RSD)
ปริมาตร HCl ที่ใช้ (mL) 23.40 23.40 23.35 - Accuracy ของ mL HCl ที่ใช้
4 คะแนน (เทียบกับค่าอ้างอิง)
สีของสารละลายที่จุดยุติ เขียวเหลือง เขียวเหลือง เขียวเหลือง
mmol HCl ที่จุดยุติ (เลขนัยสำคัญ 5 ตัว) 1.1609 1.1609 1.1584
คำตอบถูกช่องละ 0.25 × 3 = 0.75 คะแนน

total alkalinity (mg/L ในรูป CaCO3) 2323.6 2323.6 2318.7 - เลขนัยสำคัญถูกทุกช่อง


(เลขนัยสำคัญ 5 ตัว) คำตอบถูกช่องละ 0.25 × 3 = 0.75 คะแนน 0.25 คะแนน

total alkalinity เฉลี่ย (mg/L ในรูป CaCO3) 2322


(เลขนัยสำคัญ 4 ตัว) คำตอบเฉลี่ยถูก 0.25 คะแนน

แสดงวิธีคำนวณ ปริมาณ total alkalinity (mg/L ในรูป CaCO3) ของการไทเทรตครั้งที่ 1 (2.25 คะแนน)
0.25 0.25
mmol HCl ที่จุดยุติ = 23.40 mL × 0.04961 mmol/mL = 1.1609 mmol (0.5)
0.5 0.25 0.25
2–
mmol CO3 ที่ทำปฏิกิริยาพอดีกับ HCl = 1/2 (1.1609 mmol) = 0.58044 mmol (1.0)
0.25 0.25
0.58044 × 10–3 mmol 100.08 mg 1000 mL (0.75)
ปริมาณ total alkalinity (mg/L ในรูป CaCO3) = × ×
25.00 mL 1 mmol 1L
0.25
= 2323.6 mg
การแข่งขันเคมีโอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 11 3

1.2 การหาปริมาณ free alkalinity ในสารตัวอย่าง (10.5 คะแนน)


ตารางที่ 2 ข้อมูลการไทเทรตหา free alkalinity ในสารตัวอย่าง (9.5 คะแนน)
การทดลองครั้งที่ - สีถูกต้องและส่ง
ข้อมูลการทดลอง 3 ขวด ได้ 1 คะแนน
1 2 3 2 ขวด ได้ 0.5 คะแนน
ความเข้มข้น HCl (M) 0.04961 1 ขวด ได้ 0.5 คะแนน
ปริมาตรสารละลายตัวอย่าง (mL) 25.00 25.00 25.00 - ปริมาตร ทศนิยม 2 ตำแหน่ง
ทุกช่อง 0.25 คะแนน
ปริมาตร HCl เริ่มต้น (mL) 0.00 0.00 0.00 - Precision ของ mL HCl ที่ใช้
ปริมาตร HCl ที่จุดยุติ (mL) 5.75 5.90 5.75 1 คะแนน (พิจารณาจาก RSD)
ปริมาตร HCl ที่ใช้ (mL) 5.75 5.90 5.75 - Accuracy ของ mL HCl ที่ใช้
5 คะแนน (เทียบกับค่าอ้างอิง)
สีของสารละลายที่จุดยุติ เขียว เขียว เขียว
mmol HCl ที่จุดยุติ 0.2853 0.2927 0.2853
(เลขนัยสำคัญ 4 ตัว) คำตอบถูกช่องละ 0.25 × 3 = 0.75 คะแนน

free alkalinity ในหน่วยโมลาร์ (M) 0.01141 0.01171 0.01141 - เลขนัยสำคัญถูกทุกช่อง


(เลขนัยสำคัญ 4 ตัว) คำตอบถูกช่องละ 0.25 × 3 = 0.75 คะแนน 0.25 คะแนน

free alkalinity เฉลี่ยในหน่วยโมลาร์ (M) 0.01151


(เลขนัยสำคัญ 4 ตัว) คำตอบเฉลี่ยถูก 0.5 คะแนน

แสดงวิธีคำนวณ ความเข้มข้นของ free alkalinity (free OH–) ของการไทเทรตครั้งที่ 1 (1 คะแนน)


0.25 0.25
mmol HCl ทีจ่ ุดยุติ = 5.75 mL × 0.04961 mmol/mL = 0.2853 mmol (0.5)
ปริมาณ free alkalinity (เทียบเป็น mmol OH–) = 0.2853 mmol
0.2853 mmol (0.5)
ความเข้มข้นของ free alkalinity, OH– (M) = = 0.01141 M
25.00 mL
0.5

1.3 ตอบคำถาม (2 คะแนน)


ความเข้มข้นของ CO32– = 0.01751 M (0.5)
แสดงวิธีคำนวณ ความเข้มข้นของ CO32– ของการไทเทรตครั้งที่ 1
mmol HCl ทีเ่ หลือ = 1.1609 – 0.2853 = 0.8756 mmol (0.5)
mmol CO32– = ½ mmol HCl ที่เหลือ = ½ (1.1609 – 0.2853) = 0.4378 mmol (0.5)
0.4378 mmol (0.5)
ความเข้มข้นของ CO32– (M) =
25.00 mL
= 0.01751 M
การแข่งขันเคมีโอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 11 4

การทดลองที่ 2
การวิเคราะห์ชนิดของเกลือในสารละลายตัวอย่าง (8 คะแนน)

2.1 ตารางบันทึกผลการทดลอง (2.4 คะแนน)


รหัส ผลการทดลองที่สังเกตได้หลังเติมรีเอเจนต์ ไอออนที่คาดว่ามีในสารละลาย
สารตัวอย่าง AgNO3 BaCl2 HCl NH4SCN (NH4)2SO4 ไอออนบวก ไอออนลบ
xx3x ตะกอน ตะกอน สารละลาย X X K+ CrO42–
ทำ flame test
สีน้ำตาลแดง สีเหลือง สีส้ม
ได้เปลวไฟ
(0.1 คะแนน) (0.1 คะแนน) (0.1 คะแนน) (0.1 คะแนน) (0.1 คะแนน) (0.15 คะแนน) (0.15 คะแนน)
สีม่วงอ่อน

ตะกอนขาว ตะกอนขาว X สารละลายสี X Fe3+ SO42–


xx1x แดงเลือดนก
(0.1 คะแนน) (0.1 คะแนน) (0.1 คะแนน) (0.1 คะแนน) (0.1 คะแนน) (0.15 คะแนน) (0.15 คะแนน)

Sr2+
ตะกอนขาว X X X ตะกอนขาว หรือ Ca2+ Cl–
xx2x
หรือ Ba2+
(0.1 คะแนน) (0.1 คะแนน) (0.1 คะแนน) (0.1 คะแนน) (0.1 คะแนน) (0.15 คะแนน) (0.15 คะแนน)
การแข่งขันเคมีโอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 11 5

2.2 ตอบคำถาม (5.6 คะแนน)


รหัสสารตัวอย่าง xx3x (ทำ flame test ได้เปลวไฟสีม่วงอ่อน)
เป็นเกลือที่มีสูตรเป็น K2CrO4 (0.5)
CrO42–(aq) + 2 Ag+(aq) ⟶ Ag2CrO4(s) (0.5)
สมการไอออนิกสุทธิของ CrO42–(aq) + Ba2+(aq) ⟶ BaCrO4(s) (0.5)
ปฏิกิริยาของไอออนลบ + รีเอเจนต์ 2 CrO42–(aq) + 2 H+(aq) ⇌ Cr2O72–(aq) + H2O(l) (0.5)
เหลือง ส้ม

รหัสสารตัวอย่าง xx1x
เป็นเกลือที่มีสูตรเป็น Fe2(SO4)3 (0.5)
Fe3+(aq) + 6 SCN–(aq) ⟶ [Fe(SCN)6]3–(aq)
สมการไอออนิกสุทธิของ สีแดงเลือดนก
ปฏิกิริยาของไอออนบวก + รีเอเจนต์ (0.6)
หรือ Fe3+(aq) + SCN–(aq) ⟶ [FeSCN]2+(aq)

SO42–(aq) + Ba2+(aq) ⟶ BaSO4(s) (0.5)


สมการไอออนิกสุทธิของ
ปฏิกิริยาของไอออนลบ + รีเอเจนต์
SO42–(aq) + 2 Ag+(aq) ⟶ Ag2SO4(s) (0.5)

รหัสสารตัวอย่าง xx2x
เป็นเกลือที่มีสูตรเป็น BaCl2 หรือ CaCl2 หรือ SrCl2 (0.5)
Ba2+(aq) + SO42–(aq) ⟶ BaSO4(s)
สมการไอออนิกสุทธิของ
หรือ Ca2+(aq) + SO42–(aq) ⟶ CaSO4(s) (0.5)
ปฏิกิริยาของไอออนบวก + รีเอเจนต์
หรือ Sr2+(aq) + SO42–(aq) ⟶ SrSO4(s)

สมการไอออนิกสุทธิของ
Cl–(aq) + Ag+(aq) ⟶ AgCl(s) (0.5)
ปฏิกิริยาของไอออนลบ + รีเอเจนต์
การแข่งขันเคมีโอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 11 6

การทดลองที่ 3
การวิเคราะห์สารตัวอย่างด้วยโครมาโทกราฟีแผ่นบาง (9 คะแนน)
3.1 วาดรูปแผ่น TLC โดยแสดงวงแทนจุดของสารทุกสาร (4 คะแนน)
อัตราส่วนตัวทำละลายที่เหมาะสมที่สุด = 1:3 EtOAc/hexane

1.1 ระบุอัตราส่วนตัวทำละลายครบทุกแผ่น = 0.5 คะแนน (ระบุไม่ครบให้ศูนย์)


1.2 เฉพาะแผ่นที่ใช้ในการคำนวณ
- มีเส้นแสดงจุดเริ่มต้น = 0.25 คะแนน
- มีเส้นแสดง solvent front = 0.25 คะแนน
- เส้นผ่านศูนย์กลางวง  0.50 cm = 0.5 คะแนน (พิจารณาจากวงที่มีขนาดใหญ่ที่สุด)
0.51–1.00 cm = 0.25 คะแนน
> 1.00 cm = 0 คะแนน
- มีการ label จุดสารทุกสาร = 0.5 คะแนน (label ไม่ครบให้ศูนย์)
1.3 การแยกของวงสาร A, B, C แยกทั้ง 3 จุด = 1 คะแนน
แยก 1 จุด = 0.5 คะแนน
ไม่แยกเลย = 0 คะแนน
1.4 ค่า Rf ของสาร A, B, C
- 0.40–0.60 = 0.5 คะแนน (ต้องเลือก 1:3 EtOAc/hexane เท่านั้น)
ถ้าเลือกอัตราส่วนอื่น ได้ไม่เกิน 0.25 คะแนน
- 0.20–0.39 หรือ 0.61–0.80 = 0.25 คะแนน
- 0.00–0.19 หรือ 0.81–1.00 = 0 คะแนน
1.5 วงซ้อนเกยกันด้านข้าง < 50% ของพื้นที่วง = 0.5 คะแนน
> 50% ของพื้นที่วง = 0 คะแนน
• หักคะแนนการเบิกแผ่น TLC เพิ่ม แผ่นละ 1 คะแนน
• หักคะแนนการใช้ปากกาขีดเส้นเริ่มต้นและ solvent front บนแผ่น TLC แผ่นละ 0.1 คะแนน
การแข่งขันเคมีโอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 11 7

3.2 สรุปผลการทดลอง (5 คะแนน)


3.2.1 การระบุชนิดและหาค่า Rf ของสารบริสุทธิ์ (3.5 คะแนน)
สารบริสุทธิ์ที่ 1 คือ  A  B  C  D และมีค่า Rf = 0.44 ค่าเบี่ยงเบนเกิน  0.2 ให้ –0.5
ตอบค่า Rf สลับสาร –0.5
(1 คะแนน ตอบผิด –0.25) (ทศนิยม 2 ตำแหน่ง) มีหน่วย –0.1
แสดงวิธีคำนวณค่า Rf ของสารบริสุทธิ์จาก TLC แผ่นที่ …………. (0.75 คะแนน)
1.55 cm  วัดระยะทางที่สารเคลื่อนทีแ่ ตกต่างไม่เกิน  2 mm ได้ 0.3  3–4 mm ได้ 0.15
Rf =
3.50 cm  วัดระยะทางที่ solvent เคลื่อนที่แตกต่างไม่เกิน  2 mm ได้ 0.25  3–4 mm ได้ 0.15
= 0.44  ผลคำนวณถูก ได้ 0.15 ทศนิยม 2 ตำแหน่ง ได้ 0.05

สารบริสุทธิ์ที่ 2 คือ  A  B  C  D และมีค่า Rf = 0.70 ค่าเบี่ยงเบนเกิน  0.2 ให้ –0.5


ตอบค่า Rf สลับสาร –0.5
(1 คะแนน ตอบผิด –0.25) (ทศนิยม 2 ตำแหน่ง) มีหน่วย –0.1
แสดงวิธีคำนวณค่า Rf ของสารบริสุทธิ์จาก TLC แผ่นที่ …………. (0.75 คะแนน)
2.45 cm  วัดระยะทางที่สารเคลื่อนทีแ่ ตกต่างไม่เกิน  2 mm ได้ 0.3  3–4 mm ได้ 0.15
Rf =
3.50 cm  วัดระยะทางที่ solvent เคลื่อนที่แตกต่างไม่เกิน  2 mm ได้ 0.25  3–4 mm ได้ 0.15
= 0.70  ผลคำนวณถูก ได้ 0.15 ทศนิยม 2 ตำแหน่ง ได้ 0.05

3.2.2 ลำดับความมีขั้วของสาร A > B > C > D (1.5 คะแนน)

ลักษณะของแผ่น TLC เมื่อเลือกใช้ 1:1 EtOAc/hexane และ 1:5 EtOAc/hexane

1:1 EtOAc/hexane 1:5 EtOAc/hexane


สาร B: Rf = 2.35/3.45 = 0.68 สาร B: Rf = 0.98/3.45 = 0.28
สาร D: Rf = 2.70/3.45 = 0.78 สาร D: Rf = 2.15/3.45 = 0.62

You might also like