You are on page 1of 25

Neutralization Titration

(Acid-Base Titration)

Warawut Tiyapongpattana, Ph.D.

รู ปแบบของการไทเทรตแบ่ งได้ เป็ น 5 ประเภท คือ

1. กรดแก่ – เบสแก่
2. กรดแก่ – เบสอ่อ น
3. เบสอ่อ น – กรดแก่
4. เบสแก่ – กรดอ่อ น
5. กรดอ่อ น – เบสแก่

หมายเหตุ: Titrant - Titrand


2
การไทเทรตระหว่ างกรดแก่ -เบสแก่
(1.0 M HCl 25 mL + 1.0 M NaOH)
ณ จุด สมมูล pH = 7; pH range 5 - 9

Titration curves for HCl with NaOH.

Titration curve ได้มาจากสองวิธคี อื


1. การคํานวณ
2. การทดลอง (วัด pH ของ
สารละลายโดยตรงจากเครือ่ ง
pH meter ณ ปริมาตรหนึ่งๆ
ของ titrant

4
Titration of strong acids and strong bases
 Hydronium ions ในสารละลายกรดแก่ มาจาก 2 แหล่งด้วยกันคือ
1. การแตกตัวของกรดแก่
2. การแตกตัวของนํ้าเอง

อย่างไรก็ตามการแตกตัวของกรดแก่ มีค่ามากกว่าการแตกตัวของนํ้า
มากๆ ดังนั้นจึงคิดว่า [H+] = ความเข้มข้นของกรดแก่น้ นั ๆ ในทํานอง
เดียวกัน ในสารละลายเบสแก่ [OH-] = ความเข้มข้นของเบสแก่

Titration a strong acid with a strong base


สนใจที่จะคํานวณ hypothetical titration curve พลอตระหว่าง pH
กับปริ มาตรของไทแทรนต์ที่ใช้ โดยจะแบ่งกราฟที่ได้เป็ น 3 ช่วงด้วยกัน
คือ
1. ก่อนถึงจุดสมมูลย์ (คิดจากปริ มาณกรดเริ่ มต้น + เบสที่เติมลงไป)
2. ที่จุดสมมูลย์ (ปริ มาณกรด และเบสเท่ากันพอดี)
3. หลังจุดสมมูลย์ (คิดจากปริ มาณเบสที่มากเกินพอที่เติมลงไป)
เพื่อความสะดวก Kw = [H 3O +][OH -]
-log Kw = -log[H 3O +][OH -] = -log[H 3O +]- log[OH -]
pKw = pH + pOH
-log 10-14 = pH + pOH = 14 6
ตัวอย่ างที่ 1 การสร้ าง hypothetical titration curve of 50.00
mL of 0.0500 M HCl with 0.1000 M NaOH

Initial point
Before any base added, the solution is 0.0500 M in H3O+ , and
pH = -log[H3O+ ] = -log 0.0500 = 1.30

After addition of 10.00 mL of titrant

H+ (aq) + OH- (aq) H 2O

เกิดปฏิกริ ิยา X + Y Y

เหลือ X-Y + 0 Y

ตัวอย่ างที่ 1 การสร้ าง hypothetical titration curve of 50.00


mL of 0.0500 M HCl with 0.1000 M NaOH (cont)

After addition of 10.00 mL of titrant

[H3O+ ] is decreased as a result of both reaction with base and dilution.


CHCl = no. mmol HCl remaining after addition of NaOH
total volume soln
= (original no. mmol HCl) – (no. mmol NaOH added)
total volume soln
= (50.00 mL x 0.0500 M) – (10.00 mL x 0.1000 M)
(50.00 mL + 10.00 mL)
[H3O+ ] = 2.500 x 10-2 M ; pH = -log (2.500 x 10-2) = 1.60

8
After addition of 25.00 mL of titrant;

the equivalence point

At equivalence point, neither HCl nor NaOH is in excess,

and so the concentrations of hydronium and hydroxide must

be equal. Substituting this equality into the ion-product

constant for water yield.

H+ (aq) + OH- (aq) H 2O

เกิดปฏิกริ ิยา X + Y Y

เหลือ 0 + 0 X=Y
9

After addition of 25.00 mL of titrant;

the equivalence point

At equivalence point, neither HCl nor NaOH is in excess,

and so the concentrations of hydronium and hydroxide must

be equal. Substituting this equality into the ion-product

constant for water yield.

[H3O+ ] = (Kw)½ = (1.00 x 10-14)1/2 = 1 x 10-7 M

pH = -log 1 x 10-7 = 7.00


10
After addition of 25.10 mL of titrant

The solution now contains an

excess of NaOH,

H+ (aq) + OH- (aq) H 2O

เกิดปฏิกริ ิยา X + Y X

เหลือ 0 + Y-X X

11

After addition of 25.10 mL of titrant

The solution now contains an excess of NaOH,

CNaOH = (no. mmol NaOH added) – (original no. mmol HCl)

total volume soln.

= (25.10 X 0.1000) – (50.00 X 0.0500) = 1.33 X 10-4 M

75.10

[OH-] = CNaOH = 1.33 x 10-4 M

pH = 14.00 – 3.88

= 10.12 12
13

Titration curves for HCl with NaOH.


Curve A: 50.00 mL of 0.0500 M HCl with 0.1000 M NaOH.

Curve B: 50.00 mL of 0.0005 M HCl with 0.0010 M NaOH

Choosing an indicator:
Not critical with curve A…

14
Titration a strong base with a strong acid

pH ของสารละลายเริ่ มจาก เบส


สารละลายมีค่า pH เป็ น กลาง ที่ equivalence point
pH ของสารละลายเป็ น กรด หลัง equivalence point
H+ (aq) + OH- (aq) H 2O

เกิดปฏิกริ ิยา X + Y X

เหลือ 0 + Y-X X

15

ตัวอย่ างที่ 2 คํานวณ pH ในขณะทําการไทเทรต 50.00 mL of 0.0500 M NaOH with 0.1000


M HCl ภายหลังจากเติมสลล. HCl ไปแล้ ว (1) 24.50 mL (2) 25.00 mL (3) 25.50 mL

(1) เมื่อเติมสลล. HCl ไปแล้ ว 24.50 mL , [H3O+] มีค่าน้อยมาก


[OH-] = CNaOH = (original no. mmol NaOH) – (no. mmol HCl added)
total volume of soln.
= (50.00 x 0.0500)  (24.50 x 0.100) = 6.71 x 10-4 M
(50.00 + 24.50)
[H3O+] = Kw / 6.71 x 10-4 = 1.00 x 10-14 / 6.71 x 10-4 = 1.49 x 10-11 M
pH = -log (1.49 x 10-11) = 10.83

16
ตัวอย่ างที่ 2 คํานวณ pH ในขณะทําการไทเทรต 50.00 mL of 0.0500 M NaOH with 0.1000
M HCl ภายหลังจากเติมสลล. HCl ไปแล้ ว (1) 24.50 mL (2) 25.00 mL (3) 25.50 mL

(2) เมื่อเติมสลล. HCl ไปแล้ ว 25.00 mL , equivalence point


[H3O+] = (Kw)1/2 = (1.00 x 10-14 ) = 1.00 x 10-7 M
pH = -log (1.00 x 10-7) = 7
(3) เมื่อเติมสลล. HCl ไปแล้ ว 25.50 mL
[H3O+] = CHCl = (original no. mmol HCl added) – (no. mmol NaOH)
+H (aq) + OH total volume ofHsoln.
-
(aq) O
2

เกิดปฏิกริ ิยา= (25.50 x+0.100)


Y – (50.00 x 0.0500)
Y = 6.62 x 10 M
-4
X

เหลือ X-Y
(50.00 + 25.50)
+ 0 Y
pH = -log(6.62 x 10 ) = 3.18
-4
17
17

ตัวอย่ างที่ 2 คํานวณ pH ในขณะทําการไทเทรต 50.00 mL of 0.0500 M NaOH with 0.1000


M HCl ภายหลังจากเติมสลล. HCl ไปแล้ ว (1) 24.50 mL (2) 25.00 mL (3) 25.50 mL

(2) เมื่อเติมสลล. HCl ไปแล้ ว 25.00 mL , equivalence point


[H3O+] = (Kw)1/2 = (1.00 x 10-14 ) = 1.00 x 10-7 M
pH = -log (1.00 x 10-7) = 7
(3) เมื่อเติมสลล. HCl ไปแล้ ว 25.50 mL
[H3O+] = CHCl = (original no. mmol HCl added) – (no. mmol NaOH)
total volume of soln.
= (25.50 x 0.100) – (50.00 x 0.0500) = 6.62 x 10-4 M
(50.00 + 25.50)
pH = -log(6.62 x 10-4 ) = 3.18 18
17
Titration curves for NaOH with HCl.
Curve A: 50.00 mL of 0.0500 M NaOH with 0.1000 M HCl.

Curve B: 50.00 mL of 0.0050 M NaOH with 0.0100 M HCl.

19

Titration curve for weak acids


Curve A: 50.00 mL of 0.100 M Acid with 0.1000 M NaOH.

Curve B: 50.00 mL of 0.0010M HCl with 0.0010 M NaOH

20
Weak acid-Strong base titrations

The increase in pH at the equivalence point gets smaller


and the equivalence point gets more difficult to detect as
the Ka value of the weak acid decreases. 21

Weak acid-Strong base titrations

1.Initial pH: Ionization of a weak acid.


2.Early stages of titration: ionization of weak
acid suppressed by common ion.
3.In the pH range : buffer solutions
(Henderson-Hasselbalch equation).
4.At the half-neutralization point: pH = pKa.
5.At the equivalence point: hydrolysis of an
anion (conjugate base of the weak acid).
6.Beyond the equivalence point: strong base in
aqueous solution.
22
Weak acid-Strong base titrations

23

การไทเทรตระหว่ างกรดอ่ อ น-เบสแก่


0.1 M CH3COOH 25 mL + 0.1 M NaOH
ณ จุด สมมูล pH = 9; pH range 8 - 10

24
pKa’s of Several Weak Acids

25
Fig. 2-16

Buffering Ranges for 3 Weak Acids

26
Titration curve for weak acids
1. เริ่มต้ น, สารละลายประกอบด้ วย weak acid or weak base อย่ างเดียว ดังนั้น
pH ของสารละลายคํานวณจากความเข้ มข้ นของกรดหรื อเบสดังกล่ าว ควบคู่
ไปกับค่ าคงทีก่ ารแตกตัว
2. ก่ อน equivalence (เมื่อเติมไทแทรนต์ ลงไป), สารละลายจะมีคุณสมบัติเป็ น
บัฟ เฟอร์ คํานวณ pH ของสารละลายบัฟ เฟอร์ จากความเข้ มข้ นของ
conjugate base or acid (เกลือของกรดอ่ อนหรื อเบสอ่ อน) กับความเข้ มข้ น
กรดหรื อเบสทีเ่ หลือ
3. ที่ equivalence, เกิดเกลือของกรดอ่ อนหรื อเบสอ่ อน ซึ่งเกิดไฮโดรไลซิสกับนํา้
ได้ คํานวณ pH จากเกลือของกรดอ่ อนหรื อเบสอ่ อน
4. หลัง equivalence, ปริมาณกรดแก่ หรื อ เบสแก่ ที่เหลือจะเป็ นตัวกําหนด pH
ของสารละลาย 27

ตัว อย่า งที่ 3 การสร้า ง hypothetical titration curve of 50.00 mL


of 0.1000 M acetic acid (K a = 1.75 x 10-5) with 0.1000 M NaOH
(1) คํานวณ pH ของสารละลายเริ่มต้ น 0.1000 M HOAC
[H 3O +] = (K a.CHOAC)1/2 = (1.75 x 10-5 x 0.100)1/2 = 1.32 x 10-3
(2) After addition of 5.00 mL of NaOH
CHOAC = (original no. mmol HOAC) – (no. mmol NaOH added)
(total volume of soln.)
= (50.00 x 0.100) – (5.00 x 0.100) = 4.500 = 6.71 x 10-4 M
(50.00 + 5.00) 55.00
CNaOAC = 5.00 x 0.100 = 0.500 28

55.00 55.00
(2) ทีป่ ริมาตร 5.00 mL ไทแทรนต์ แทนค่ าความเข้ มข้ นของกรด HOAC
และเกลือของกรด (NaOAC) ในสมการ

K a = [H 3O +] x (0.500/55.00) = 1.75 x 10-5


(4.500/55.00)
[H 3O +] = 1.58 x 10-4 M
pH = 3.80

29

ทุกๆ จุดก่ อนจุดสมมูลการคํานวณแบบเดียวกัน หรื อไทเทรตไปครึ่งหนึ่งของ


การสะเทิน ปริมาตรจะเป็ นครึ่งหนึ่งของปริมาตรทีจ่ ุดสมมูล

ค. การคํานวณ pH ทีจ่ ุดไทเทรตไปครึ่งหนึ่ง (50% ) ของการสะเทิน


ใช้ NaOH ไป 25.0 mL (ปริมาตรทีจ่ ุดสมมูล คือ 50.0mL)
CH3COOH+NaOH H2O+CH3COONa

CH3COOH = CH3COO- = (25.0x0.1)/75

pH = pKa = -log 1.75x10-5 = 4.74 30


ทุNote:
กๆ จุดก่ อนจุดสมมูลการคํานวณแบบเดียวกัน หรื อไทเทรตไปครึ่งหนึ่งของ
การสะเทิน ปริมาตรจะเป็ นครึ่งหนึ่งของปริมาตรทีจ่ ุดสมมูล
at the half-titration point in the titration of a week acid,
pH = pKa
ค. การคํานวณ pH ทีจ่ ุดไทเทรตไปครึ ่งหนึ่ง (50% ) ของการสะเทิน
ณ จุดNaOH
ใช้ นี้ จะให้ ค่า buffer
ไป 25.0 mL (ปริcapacity ทีม่ ลคี คื่ าอมากที
มาตรทีจ่ ุดสมมู ส่ ุ ด
50.0mL)
CH3COOH+NaOH H2O+CH3COONa

CH3COOH = CH3COO- = (25.0x0.1)/75

pH = pKa = -log 1.75x10-5 = 4.74 31

(3) Equivalence point, HOAc ทั้งหมดถูกเปลีย่ นไปอยู่ในรูปของเกลือ NaOAc ดังนั้น pH


ของสารละลายคํานวณได้ จากความเข้ มข้ นของเกลือ NaOAc ในสารละลาย = 0.0500 M

OAc- + H2O HOAc + OH-


[OH-] = [HOAc ]
[OAc-] = 0.0500 - [OH-] ~ 0.0500
แทนค่าการแตกตัวของเบส OAc - ได้เป็ น
[OH-] 2 = (Kw) = 1.00 x 10-14 = 5.71x 10-10 M
0.0500 Ka 1.75 x 10-5
[OH-] = (0.0500 x 5.71 x 10-10)1/2 = 5.34 X 10-6 M
pH = 14 - ( -log(5.34 x 10-6 ) = 8.73
32
(4) After addition of 50.01 mL NaOH, excess NaOAc and OH-
ผลของ NaOAc มีค่าน้อยดังนั้น pH ของสารละลายขึน้ กับความ
เข้มข้นของ NaOH ที่มีอยูใ่ นสารละลาย

[OH -] ~ CNaOH = (50.01 x 0.100) – (50.00 x 0.1000)


100.01
= 1.00 x 10-5 M
pH = 14 – (-log(1.00 x 10-5 ) = 9.00

33

34
Titration curves for acetic acid with NaOH.
Curve A: 50.00 mL of 0.100 M HCl with 0.1000 M NaOH.

Curve B: 50.00 mL of 0.0010 M HCl with 0.0010 M NaOH

35

Effect of concentration and Reaction completeness


Effect of concentration : ที่ความเข้มข้นของสารที่ใช้การ
ไทเทรตมาก จุดสมมูลจะเห็นได้ชดั เจนดีกว่า
Effect of reaction completeness : ที่แรงของกรดหรื อเบสที่ใช้
การไทเทรตมาก จุดสมมูลจะเห็นได้ชดั เจนดีกว่า

36
Choosing an indicator: The feasibility of titration

pH

Volume of 0.100 M NaOH, mL

The effect of acid strength (dissociation constant) on


titration curves. Each curve represents the titration curve
of 50.00 mL of 0.1000 M acid with 0.1000 M base. 37

กราฟของการไทเทรตเบสอ่อนด้วยกรดแก่
 ลักษณะกราฟของการไทเทรตเบสอ่อนด้วยกรดแก่ คล้ายคลึงกับ
กราฟการไทเทรตกรดอ่อนด้วยเบสแก่

38
Titration curve for weak base
ตัวอย่ างที่ 4-1 คํานวณ pH ในขณะ titrate 50.00 mL of 0.0500 M
NaCN with 0.1000 M HCl if Ka of HCN = 6.2 x 10-10
CN- + H3O+ HCN + H2O
ภายหลังจากเติมสลล. HCl ไปแล้ ว (1) 0.00 mL (2) 10.00 mL
(3) 25.00 mL (4) 26.00 mL
(1) 0.00 mL of reagent, CN- + H2O HCN + OH-

Kb = [OH-] [HCN] = Kw = 1.00 x 10-14 = 1.61 x 10-5


[CN-] Ka 6.2 x 10-10
[OH-] = [HCN]
[CN-] = CNaCN – [OH-] = 0.050 M
[OH-] = (Kb. CNaCN)1/2 = (1.61 x 10-5 x 0.0500)1/2 = 8.97 x 10-4
39
pH = 14.00 – (-log8.97 x 10-4) = 10.95

(2)10.00 mL of reagent,

CNaCN = (50.00 x 0.0500) – (10.00 x 0.100) = 1.500


60.00 60.00

CHCN = (10.00 x 0.100) = 1.000


60.00 60.00

[H3O+] = (6.2 x 10-10) x (1.000/60.00) = 4.13 x 10-10


(1.500/60.00)

pH = -log 4.13 x 10-10 = 9.38

40
CN- + H3O+ HCN + H2O
(3) 25.00 mL of reagent, equivalence point

CHCN = 25.00 x 0.100 = 0.0333


75.00
[H3O+] =(Ka.CHCN)1/2 = (6.2x10-10 x 0.0333)1/2 = 4.45 x 10-6

pH = -log 4.45 x 10-6 = 5.34

(4) 26.00 mL of reagent,


[H3O+] ~ CHCl = (26.00 x 0.100) – (50.00 x 0.0500)
76.00

= 1.32 x 10-3 M

pH = -log(1.32 x 10-3 ) = 2.88


41

ปริ ม าตร 0.100 M HCl , mL

กราฟการไทเทรต 0.0500 M NaCN 50.0 mL ด้ว ย 0.100 M HCl


42
The effect of base strength (Kb) on titration curves.
Each curve represents the titration of 50.00 mL of
43
0.1000 M base with 0.1000 M HCl.

แบบฝึ กหัด 4-2 จงสร้ างกราฟของการไทเทรต 100 cm 3


ของ 0.1 M NH 3 ด้ วย 0.1 M HCl

ก. ทีจ่ ุดเริ่มต้ น
ข. เมื่อเติม HCl 10.0 mL
ค. เมื่อเติม HCl 50.0 mL
ง. เมื่อเติม HCl 100.0 mL
จ. เมื่อเติม HCl 105.0 mL
Acid-base Indicators

The universal indicator gives a virtual rainbow


of colors from pH = 1 to pH = 12 45

ตัวอย่ างอิน ดิเ คเตอร์


Colors and approximate pH range of some common
acid-base indicators.

46
46
The color change of the indicator bromthymol blue.

basic
change occurs
acidic over ~2 pH units
47
47

การเลือ กอิน ดิเ คเตอร์


 

 

48
48
Titration errors in Acid/Base titration
Error ทีเ่ กิดจากการไทเทรตประเภทนี้ มี 2 แบบด้ วยกันคือ
1. ข้ อผิดพลาดทีเ่ กิดขึน้ โดยทราบสาเหตุและแก้ ไขได้ (Determinate error):
o เกิดเมื่อสี ของอินดิเคเตอร์ เปลี่ยนที่ pH ที่ไม่ใช่ equivalence point
o แก้ไขได้โดยการเลือกอินดิเคเตอร์ที่เหมาะสม และทํา blank titration
2. ข้ อผิดพลาดทีเ่ กิดขึน้ ไม่ แน่ นอน (Indeterminate error):
o เกิดขึ้นจากข้อจํากัดในการจําแนกสี (ในช่วง intermediate) ของผูท้ าํ การทดลอง ทํา
ให้ไม่สามารถได้ผลที่แม่นยําในการทําซํ้าการทดลอง
o Error ชนิ ดนี้ จะมีค่ามากหรื อน้อยขึ้นอยูก่ บั อัตราการเปลี่ยน pH ต่อปริ มาตร
สารละลาย titrant และความสามารถในการจําแนกสี ของผูท้ าํ การทดลอง
o สามารถลด Error ชนิดนี้ได้โดยการ นําสารละลายที่ pH ที่เหมาะสม และมีปริ มาณ
อินดิเคเตอร์ที่เท่ากับที่ใช้จริ ง 49

50

You might also like