You are on page 1of 8

01403115 -2554

เฉลยแบบฝึกหัด สมดุลไอออน

1. จงแสดงคู่กรด-เบสของสารในสมการต่อไปนี้
1) H2CO3 + CO32 HCO3 + HCO3
กรด1 เบส2 เบส1 กรด2

2) HNO2 + ClO4 HClO4 + NO2

กรด1 เบส2 เบส1 กรด2


3) C6H5NH3 + OH C6H5NH2 + H2
กรด1 เบส2 เบส1 กรด2
 
4) H2PO4 + NH3 HPO4 + NH4+
กรด1 เบส2 เบส1 กรด2
2. สารละลายเกลือต่อไปนี้เป็น กรด กลาง หรือ เบส ให้เหตุผลประกอบ
1) KCl  K+ + Cl กลาง เพราะไม่มีไอออนที่เกิดไฮโดรไลซิส
2) KF  K+ + F เบส เพราะมีไอออนที่เกิดไฮโดรไลซิสคือ F ดังสมการ
F + H2O HF + OH
3) NaNO3  Na+ + NO3 กลาง เพราะไม่มีไอออนที่เกิดไฮโดรไลซิส
4) NH4NO2  NH4+ + NO2 ทั้งสองไอออนที่เกิดไฮโดรไลซิสได้ ต้องพิจารณา
NH4+ + H2O NH3 + H3O+ .
.
5.56 10

NO2+ H2O HNO2 + OH .


.
1.38 10
+ 
ดังนั้น [H3O ] มากกว่า [OH ] เป็นกรด

3. จงหาร้อยละการแตกตัวของกรด propionic (HC3H5O2) ในสารละลายกรดความเข้มข้น 0.45 M เมื่อ


Ka = 1.28 x 10 5
HC3H5O2 + H2O C3H5O2 + H3O+
เริ่มต้น 0.45 M - -
ที่สมดุล 0.45-x x x

1.28 10
0.45 0.45
1.28 10 0.45 5.76 10
+
√5.76 10 2.4 10 M = [H3O ]
.
ร้อยละการแตกตัว, % 100
.
100 0.53

4. จงหา pH ของสารละลายต่อไปนี้
1) 0.0165 M HNO3 (กรดแก่แตกตัว 100% ความเข้มข้นของ H+ เท่ากับ HNO3)
HNO3  H+ + NO3
0.0165 0.0165
01403115 -2554
log log 0.0165 1.78

2) 0.0087 M KOH
KOH  K+ + OH (เบสแก่แตกตัว 100% จึงเกิด OH 0.0087 M)
log log 0.0087 2.06
14 14 2.06 11.94

3) HNO2 ความเข้มข้น 0.0143 mol/L (Ka = 7.2 x 10 4 ) เป็นกรดอ่อนต้องหาการแตกตัว


HNO2 + H2O NO2 + H3O+
เริ่มต้น 0.0143 M - -
ที่สมดุล 0.0143 -x M x x

7.2 10
.
ข้อนี้ตัด x ไม่ได้

7.2 10
0.0143

7.2 10 0.0143

7.2 10 1.03 10 0

7.2 10 √ 7.2 10 4 1 1.03 10


2 1
2.87 10 M = [H3O+]

log log 2.87 10 2.54

4) NaCN 0.50 mol/L (Ka (HCN) = 6.2 x 10 10 ) เป็นเกลือต้องพิจารณาการไฮโดรไลซิส


NaCN  Na+ + CN
0.50 0.50 0.50

CN + H2O HCN + OH
0.50-x x x

1.00 10
1.61 10
6.2 10

1.61 10
0.5 0.5

√1.61 10 0.5 2.84 10 M = [OH]

log log 2.84 10 2.55

14 14 2.55 11.45
01403115 -2554
5. สารละลาย 625 mL มีกรด propinonic (HC3H5O2) 0.275 โมล เมื่อมี [H3O+] = 0.0239 โมล
จงหา Ka ของกรด
ความเข้มข้นของกรด propinonic .. 0.44
+ .
ความเข้มข้นของ[H3O ] .
0.0382

HC3H5O2 + H2O C3H5O2 + H3O+


เริ่มต้น 0.44 M - -
ที่สมดุล 0.44-0.0382 0.0382 0.0382

0.0382 0.0382
3.63 10
0.44 0.0382

6. การแตกตัวของ phenylacetic acid ดังสมการ


HC8H7O2 + H2O H3O+ + C8H7O2 Ka = 4.9 x 10 5 จงหา
1) [C8H7O2] ในสารละลาย 0.186 M
HC8H7O2 + H2O H3O+ + C8H7O2
เริ่มต้น 0.186 M - -
ที่สมดุล 0.186 -x x x

4.9 10
0.186 0.186

4.9 10 0.186 9.11 10

√9.11 10 3.02 10

[C8H7O2] = 3.02 10

2) pH ของสารละลาย 0.121 M
HC8H7O2 + H2O H3O+ + C8H7O2
เริ่มต้น 0.121 M - -
ที่สมดุล 0. 121-x x x

4.9 10
0.121 0.121

√5.93 10 2.43 10

[H3O+] = 2.43 10
01403115 -2554

log log 2.43 10 2.61

7. จงหาค่า Ka ของกรด lactic (C3H6O3) ความเข้มข้น 0.10 mol/L ที่มี pH 2.44


C3H6O3+ H2O H3O+ + C3H5O3

log

.
10 10 3.63 10

3.63 10 3.63 10
1.37 10
0.10 3.63 10

8. จงหาความเข้มข้นของสารละลาย trimethylamine (CH3)3N ที่มี pH 11.12 Kb = 5.2 x 10 4


สมการการแตกตัว (CH3)3N + H2O (CH3)3NH+ + OH
เริ่มต้น a M - -
-12 -12
ที่สมดุล a- 7.59x10 7.59x10 7.59x10-12
11.12
14 2.88
log
.
10 10 1.32 10

1.32 10 1.32 10 1.32 10 1.32 10


5.2 10
7.59 10

1.32 10 1.32 10
3.34 10
5.2 10
[(CH3)3N ] = 3.34 10

9. จงคํานวณความเข้มข้นของ formate ion (CHO2) ต้องใช้ผสมกับกรด formic (HCHO2) 0.366 M เพื่อเตรียมสารละลาย


บัฟเฟอร์ให้มี pH 4.06 Ka = 1.8 x 10 4

กรด
log
เกลือ

log

log log 1.8 10 3.74

log 4.06 3.74 0.32


01403115 -2554
.
0.32 10 2.09

0.366
0.175
2.09 2.09

10. ตัด pH 9.45 ออกจากโจทย์


สารละลายบัฟเฟอร์ปริมาตร 0.500 L มี NH3 ละลายอยู่ 1.68 g และ(NH4)2SO4 4.05 g (Kb = 1.8 x 10 5) จงหา
1) pH ของสารละลายบัฟเฟอร์
NH3+ H2O NH4+ + OH
(NH4)2SO4  2 NH4+ + SO42

เบส
log log
เกลือ
หาความเข้มข้น
1.68
0.187 ·
18 · 0.500

4.05
0.0624 ·
130 · 0.500
log log 1.8 10 4.74

0.187
4.74 log 4.26
0.0624

14 4.26 9.74

2) pH เมื่อเติม NaOH 0.88 g


NaOH  Na+ + OH
หาความเข้มข้นของ OH แต่ NaOH เป็นเบสแก่ จะได้ [OH] เท่ากับความเข้มข้นของ NaOH
NaOH 0.88 g คิดเป็น โมล . 0.022
ความเข้มข้นของ NaOH .
.
0.044 ซึ่งเท่ากับความเข้มข้นของ OH- ด้วย
เมื่อเติม OH- จะทําให้สมดุลเลื่อนไปทางซ้าย
NH3+ H2O NH4+ + OH
ดังนั้น NH4+ ลดลง = 0.0624-0.044 = 0.0184 mol L-1
NH3 เพิ่มขึ้น = 0.187+0.044 = 0.231 mol L-1
แทนค่า
0.231
4.74 log 3.64
0.0184
14 3.64 10.36

3) จะต้องเติมสารละลายกรด HCl 12 M กี่ mL จึงจะทําให้ pH เปลี่ยนเป็น 9.00

9.00
14 9.00 5.00
เบส
log log
เกลือ
01403115 -2554

5.00 4.74 log

log 4.74 5.00 0.26

.
10 0.55
0.55
ให้ความเข้มข้นของ H+ ที่มาจาก HCl เป็น x ซึ่งทําให้สมดุลเลื่อนไปทางขวา
NH3+ H2O NH4+ + OH
ดังนั้น NH4+ เพิ่มขึ้น = 0.0624+x mol L-1
NH3 ลดลง = 0.187-x mol L-1
แทนค่า

0.55

0.187 0.55 0.0624 0.034 0.55

0.187 0.034 0.55 1.55


. +
0.099 คือ H ที่เติมเพิ่ม และมาจากกรดแก่ HCl จึงคํานวณกลับเป็นปริมาตรได้
.
HCl 12 mol จากสารละลาย 1000 mL
.
” 0.099 mol จากสารละลาย 8.25
นั่นคือเติม HCl 8.25 mL จึงจะทําให้ pH เปลี่ยนเป็น 9.00

11. phenol red เป็นอินดิเคเตอร์ ที่มีค่า pKa 7.4 ในกรดมีสีเหลือง ในเบสสีแดง จงหา
1) Ka ของอินดิเคเตอร์มีค่าเท่าไร
log
.
10 10 3.98 10
2) pH ที่ทําให้เห็นสีเหลืองและแดง (ช่วง pH)
HIn H+ + In
สีเหลือง สีแดง

สีเหลือง

1 3.98 10
10
3.98 10 10 3.98 10
log log 3.9 10 6.4
สีแดง
10
1
10 3.98 10
1
3.98 10
3.98 10
10
log log 3.9 10 8.4
01403115 -2554
ช่วง pH 6.4-8.4 สีที่เปลี่ยนสีเหลือง-สีแดง

3) ที่ pH 7.4 อินดิเคเตอร์มีสีอะไร


log
.
10 10 3.98 10
3.98 10
1
3.98 10
เป็นสีผสมคือสีส้ม เพราะความเข้มข้นของทั้งสองรูปที่เป็นกรดและเบสเท่ากัน

12. จงคํานวณหา pH ในการไทเทรตระหว่าง HCl 0.100 mol/L ปริมาตร 25.0 mL กับ KOH 0.100 mol/L ที่
1) จุดเริ่มต้นก่อนเติม KOH 2) เติม KOH 10.00 mL
3) เติม KOH 25.00 mL 4) เติม KOH 26.00 mL
HCl + KOH  KCl + H2O
1) จุดเริ่มต้น มีเฉพาะ HCl ซึ่งให้ H3O+
log log 0.100 1

2) เติม KOH 10.00 mL


จํานวนโมลของ KOH . M L. L 1.00 10
จํานวนโมลของ HCl . M .L L 2.5 10
จากสมการ กรดและเบสทําปฏิกิริยาในอัตราส่วน 1:1
ดังนั้น เหลือกรดที่ยังไม่ทําปฏิกิริยา 2.5 10 -1.00 10 =1.5 10 mol
ในสารละลาย 25.0 + 10.0 = 35.0 mL คํานวณความเข้มข้นใหม่ . .
0.043
log log 0.043 1.37

3) เติม KOH 25.00 mL


จํานวนโมลของ KOH . M L. L 2.5 10
โมลกรดเท่าเดิม ดังนั้น เท่ากับโมลเบส นั่นคือเป็นจุดสมมูล จึงคิด pH จากการไฮโดรไลซิสของน้ํา จึงมี pH = 7

4) เติม KOH 26.00 mL


จํานวนโมลของ KOH . M L. L 2.6 10
จํานวนโมลของ HCl . M .L L 2.5 10
ดังนั้น เหลือเบส(OH-)ที่ยังไม่ทําปฏิกิริยา 2.6 10 -2.5 10 =1.0 10 mol
ในสารละลาย 26.0 + 10.0 = 36.0 mL คํานวณความเข้มข้นใหม่ . .
2.78 10
log log 2.78 10 2.56
14 2.56 11.44

13. จงเขียนสมการแสดงสมดุลการละลายของเกลือต่อไปนี้และแสดง ค่า Ksp จากสมการ


1) Ag2SO4(s) 2Ag+(aq) + SO42-(aq)
2) PbBr2(s) Pb2+(aq) + 2Br-(aq)
3) Ni3(PO4)2 3Ni 2+(aq) + 2PO43- (aq) K Ni PO

14. จงหาค่า pH ที่ทําให้สารละลายที่มี Al3+ ความเข้มข้น 0.075 M ตกตะกอนเป็น Al(OH)3 เมื่อ Ksp =1.3 x 1033
Al(OH)3(s) Al3+(aq) + 3 OH(aq)
หา OH
01403115 -2554

1.3 10
1.73 10 2.59 10
0.075
log log 2.59 10 10.59
14 10.59 3.41

15. เมื่อเติม KOH 0.0100 M ปริมาตร 15.00 mL ลงในสารละลาย Pb(NO3)2 0.0075 M ปริมาตร 475 mL
จะเกิดตะกอน Pb(OH)2 ซึ่งมีค่า Ksp =4.2 x 10-15 หรือไม่
Pb(OH)2 (s) Pb2+(aq) + 2OH-(aq)

Pb(NO3)2  Pb2+ + 2NO3-


[Pb2+] = [Pb(NO3)2]
M1V1 = M2V2

0.0075 475
7.27 10
490
KOH  K+ + OH-
[OH-] = [KOH]
0.0100 15
3.06 10
490
K 7.27 10 3.06 10 6.81 10
ผลคูณไอออนมากกว่า Ksp ดังนั้นเกิดตะกอน Pb(OH)2

You might also like