You are on page 1of 4

เอกสารประกอบการสอนโครงการสอนเสริมสโมสรอาจารยจุฬาฯ หนาที่ 1

เรื่อง วิเคราะหขอสอบ Entrance ป 2546 (มีนาคม) รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและผศ.ดร. บัญชา พูลโภคา
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เคมีทั่วไปสําหรับการเรียนการสอนเพื่อสอบ Entrance
เคมี : กรด-เบส
การเติมสารละลาย HCl เขมขน 0.5 mol dm-3 ปริมาตร 100 cm3 ลงในสารละลายใดตอไปนี้ แลวทําใหสาละลายมี pH
เพิ่มขึ้น
ก. NH4Cl 1 mol dm-3 10 cm3
ข. NaOH 0.1 mol dm-3 100 cm3
ค. CH3COOH 1 mol dm-3 50 cm3
ง. น้ํา 1000 cm3
1. สารละลาย ก และ ข 2. สารละลาย ข และ ค
3. สารละลาย ค และ ง 4. สารละลาย ข และ ง
วิเคราะหโจทย โจทยถาม pH ของสารละลายผสม เพิ่มขึ้น
กําหนด เติมกรด HCl ลงใน - NH4Cl
- NaOH
- CH3COOH
- H2O
+
วิธีทํา เติมกรด HCl เทากับ เติม H ลงใน
ก. NH4Cl ซึ่งเปนเกลือที่เกิดจาก กรดแก + เบสออน
เมื่อละลายน้ําแลว สารละลายจะมีสมบัติเปนกรด ตามสมการ
NH4+ + H2O NH3 + H3O+
∴ เติม HCl ลงในสารละลายกรด จะมี [H+] เพิ่ม แสดงวา pH จะต่ําลง
ค. CH3COOH เปนกรด เมื่อเติม HCl ลงไป จะทําใหมี [H+] มากขึ้น ดังนั้น pH จะลดลง
เพราะสารละลายจะมี [H+] จาก HCl และจาก CH3COOH ตามสมการ
HCl H+ + Cl-
CH3COOH CH3COO- + H+
จึงตัดขอที่มี ก และ ค ทิ้งไป
∴ คําตอบขอที่ถูก คือ ขอ 4

พิจารณาขอ ข และ ง ถูกอยางไรไดดังนี้


ข. HCl + NaOH NaCl + H2O
มาตรฐาน 1 1 1 (โมล)

0.5 x 100 0.1 x 100


เริ่มตน 0
1000 1000
10 10 10
เกิดปฏิกิริยา
1000 1000 1000

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เอกสารประกอบการบรรยายนี้เปนลิขสิทธิ์ของสโมสรอาจารย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
เอกสารประกอบการสอนโครงการสอนเสริมสโมสรอาจารยจุฬาฯ หนาที่ 2
เรื่อง วิเคราะหขอสอบ Entrance ป 2546 (มีนาคม) รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและผศ.ดร. บัญชา พูลโภคา
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

40 10
ณ สมดุล −
1000 1000
แสดงวา มีกรดแก HCl เหลือ หรือลดลง
กรด เบส กรดเหลือ
50 10 40
− =
1000 1000 1000
หาความเขมขนของกรดที่เหลือ/ปริมาตรรวม (200) cm3
mol เหลือ mol
3
=
200 cm 1000
40 1 mol
x =
1000 200 1000
mol = 0.2 mol/dm3
[H+] ของ HCl = 2 x 10-1 M
pH = 1 – log 2 = 0.699
+
[H ] ของ HCl เดิม = 0.5 M = 5 x 10-1 M
pH = 1 – log 5 = 0.301
ง. เติม HCl 0.5 M 100 cm ในน้ํา 1000 cm3
3

∴ ปริมาตรของสารละลายผสม = 1000 + 100 = 1100 cm3


mol เดิม + น้ํา = mol ใหม
M 1 V1 M 2 V2
=
1000 1000
0.5 x 100 M 2 x 1100
=
1000 1000
0.5
M2 = = 0.0454
11
= 4.54 x 10-2 M
pH = 2 – log 4.54
= 2 – 0.6571
= 1.3429
+
[H ] ของ HCl เดิม = 0.5 = 5 x10-1
pH = 1 – log 5
= 0.301

พื้นฐานความรูที่ผูเรียนตองรูก็คือ

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เอกสารประกอบการบรรยายนี้เปนลิขสิทธิ์ของสโมสรอาจารย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
เอกสารประกอบการสอนโครงการสอนเสริมสโมสรอาจารยจุฬาฯ หนาที่ 3
เรื่อง วิเคราะหขอสอบ Entrance ป 2546 (มีนาคม) รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและผศ.ดร. บัญชา พูลโภคา
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
- สารละลายใดที่มี [H+] มาก ความแรงของกรดจะมาก แต pH จะต่ํา

- สารละลายใดที่มี pH = 1-6 แสดงวามีสมบัติเปนกรด


” = 7 ” กลาง
” = 8-13 ” เบส
เพราะวา คา pH + pOH = 14 เสมอ
- สารละลายเกลือที่ไดจาก
กรดแก + เบสแก จะเปนกลาง pH = 7
กรดแก + เบสออน จะมีสมบัติเปนกรด pH < 7
กรดออน + เบสแก จะมีสมบัติเปนเบส pH > 7
สิ่งที่ควรจํา คือ กรดแก ไดแก
หมู V VI VII
HNO3 H2SO4 HCl
HBr
HI และ
HClO3
เบสแก ไดแก
หมู I : NaOH KOH
หมู II : Ca(OH)2 Ba(OH)2
สูตรในการคํานวณคา [H+], [OH-], pH, pOH
1. [H+] ของกรดแก = [HA แก] หรือ Co
Co = ความเขมขนของกรด หรือ เบส ที่เริ่มตน
2. ถา [H+] = 1 x 10-x M แลว pH = x
[H+] = A x 10-B M แลว pH = B – log A

3. [H+] ของกรดออน = Co ⋅ K a

[OH-] ของเบสออน = Co ⋅ K b
หมายเหตุ : ขอ 3 ใชหา [H ] หรือ [OH-] ของสารละลายเกลือที่มีความเปนกรดหรือเบสไดโดยประมาณ
+

ตัวอยาง สารละลาย NaCN 10-3 mol.dm-3, Kb ของ CN- = 2.5 x 10-5


วิธีทํา 1. NaCN ละลายน้ําแตกตัวเปนไอออน ดังนี้
H O
NaCN 2 Na+(aq) + CN-(aq)
2. CN- ทําปฏิกิริยากับน้ํา ดังนี้
CN- + H2O HCN + OH-
[OH-] = Co ⋅ K b

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เอกสารประกอบการบรรยายนี้เปนลิขสิทธิ์ของสโมสรอาจารย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
เอกสารประกอบการสอนโครงการสอนเสริมสโมสรอาจารยจุฬาฯ หนาที่ 4
เรื่อง วิเคราะหขอสอบ Entrance ป 2546 (มีนาคม) รศ. อินทิรา หาญพงษพันธและผศ.ดร. บัญชา พูลโภคา
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
−3 −5
= 10 x 2.5 x 10
[OH-] = 1.58 x10-4 mol.dm-3

ดังนั้น pOH = 4 – log 1.58


pH = 14 – 4 + log 1.58
= 10 + log 1.58
= 10.1987 (log 1.58 = 0.1987)
≈ 10.20
+
4. เปรียบเทียบคา [H ] หรือ pH ของกรดหรือเบสใดๆ ใชหลัก
กรดใดๆ ให [H+] มาก ความแรงของกรดจะมาก
- Ka จะมาก แต pH ต่ํา
เบสใดๆ ให [OH-] มาก ความแรงของเบสจะมาก
- Kb จะมาก แต pOH จะต่ํา
- และ pH จะสูง Q pH + pOH = 14
+
[H ]
5. % การแตกตัวของกรด = x 100
Co
Co = ความเขมขน mol/dm3 ของสารละลาย
3
กรัมของตัวถูกละลาย 1 1000 cm
ความเขมขนของสารลาย = 3 3
(มวลโมเลกุล) g V cm 1 dm

ที่โจทยกําหนด

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เอกสารประกอบการบรรยายนี้เปนลิขสิทธิ์ของสโมสรอาจารย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

You might also like