You are on page 1of 18

ปริมำณสำรสั มพันธ์

บทนำ
เลขอะตอมและเลขมวล

1 4
1H 2He

7 9 11 12 14 16 19 20
3Li 4Be 5B 6C 7N 8O 9F 10Ne

23 24 27 28 31 32 35.5 40
11Na 12Mg 13Al 14Si 15P 16S 17Cl 18Ar

39.1 40
19K 20Ca

มวลอะตอม
มวลของธาตุ 1 อะตอม เช่น 12C มีมวลอะตอมเท่ากับ = 12 x 1.66 x 10-24 g
มวลอะตอมสั มพัทธ์
1
เป็ นมวลอะตอมที่นามาเปรี ยบเทียบกับ มวลอะตอมของ C
12
-24
มีค่าเท่ากับ 1.66 x 10 g = 1 amu (atomic mass unit)
มวลอะตอม
มวลอะตอมสัมพัทธ์ =
1.66 x 10-24
มวลอะตอมสัมพัทธ์ไม่มีหน่วย หรื ออาจะแทนด้วย amu
เช่น O มีมวลอะตอมสัมพัทธ์ = 16 amu
1
หมายถึง O มีมวลอะตอมเป็ น 16 เท่าของ มวลอะตอมของ C
12
มวลอะตอมเฉลีย่
มวลอะตอมในตารางธาตุ เกิดจากการเฉลี่ยมวลอะตอมสัมพัทธ์ของ
isotope ที่มีอยูใ่ นธรรมชาติ
มวลอะตอมของแต่ ละไอโซโทป x เปอร์ เซ็นต์
มวลอะตอมเฉลีย่ = Σ
100

เช่น จงหามวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุ A เมื่อพบมวลอะตอมของ A-14, A-15 และ A-13 มีปริ มาณใน


อากาศเท่ากับ 80%, 15% และ 5% ตามลาดับ
(14 𝑥 80) + (15 𝑥 15) + (13 𝑥 5)
วิธีทา มวลอะตอมเฉลี่ย = 100

= 14.1

ควำมสั มพันธ์ ของโมล


โมล(mole) เป็ นหน่วยบ่งบอกปริ มาณสารใน SI units
นิยำม
สาร 1 โมล มีค่าเท่ากับปริ มาณสารดังต่อไปนี้
1. มีน้ าหนักเท่ากับมวลโมเลกุลของสารนั้น
2. มีจานวนอนุภาคเท่ากับ 6.02 x 1023 (เรี ยกเลขอโวกาโดร Avogadro’s number, NA)
3. มีปริ มาตรเท่ากับ 22.4 ลิตร ที่ STP (Standard Temperature and Pressure, 1 atm 0 C)
อนุภำค หมายถึง อะตอม โมเลกุล หรื อ ไอออน
อะตอม คือ ธาตุอิสระที่อยูเ่ ดี่ยวๆ ไม่สร้างพันธะกับธาตุอื่น เช่น He, Li, Fe
โมเลกุล คือ การรวมตัวกันของอะตอม ด้วยสัดส่ วนต่างๆ เช่น H2O, KMnO4
ไอออน คือ อะตอมหรื อโมเลกุลที่อยูใ่ นรู ปประจุ เช่น CO32-, S2-, H+
กำรคำนวณ สามารถทาได้ 2 วิธี คือ 1. ใช้สูตร 2. Unit conversion factor
จำนวนอะตอมหรื อโมเลกุล มวลสำร ปริมำตร (L)
สู ตร mol = = =
6.02 x 1023 มวลอะตอมหรื อมวลโมเลกุล 22.4
แฟกเตอร์ เปลีย่ นหน่ วย(unit conversion factor) เป็ นอัตราส่ วนระหว่างหน่วยที่แตกต่างกัน 2
หน่วยที่ปริ มาณเท่ากัน (อัตราส่ วน = 1:1) เช่น ความสัมพันธ์ของกรัม กับ กิโลกรัม
จาก 1 g = 10-3 kg
1g 10-3 kg
ถ้านา 1 g หารตลอด จะได้ = 1 =
1g 1g
-3 1g 10-3 kg
ถ้านา 10 kg หารตลอด จะได้ =1=
10-3 kg 10-3 kg
10-3 kg 1g
ดังนั้น แฟกเตอร์เปลี่ยนหน่วยเขียนได้ 2 แบบคือ หรื อ
1g 10-3 kg

กำรคำนวณโมลเป็ นจำนวนอนุภำค
จานวนอนุภาค
1. โมล =
6.02 x 1023
2. Unit conversion factor
โจทย์
1. He 3.204 x 1021 อะตอม เท่ ำกับกีโ่ มล

2. CO2 1.602 x 1024 โมเลกุล เท่ ำกับกีโ่ มล

3. SO42- 6.02 x 1024 ไอออน เท่ ำกับกีโ่ มล


ควำมสั มพันธ์ ของโมลโมเลกุลและโมลอะตอม
พิจารณา H2SO4 1 โมเลกุล ประกอบด้วย
H 2 อะตอม S 1 อะตอม และ O 4 อะตอม
ดังนั้น H2SO4 1 โมลโมเลกุล ประกอบด้วย
H 2 โมลอะตอม S 1 โมลอะตอม และ O 4 โมลอะตอม
โจทย์ HClO4 2.5 mol มี O กีอ่ ะตอม

มวลโมเลกุล
มีค่าเท่ากับผลรวมเลขมวลของอะตอมทุกตัวในโมเลกุล
เช่น CH3COOH
C6H12O6
H2SO4
g อนุภำค V(L) CV(mL)
สรุปสู ตร mol = = = =
MW NA 22.4 1000

โจทย์
1. NH3 0.2 mol มีจำนวนโมเลกุลเท่ ำใด จำนวนอะตอมของ O เท่ ำใด และมีปริมำตรเท่ ำใดที่ STP
2. ไอนำ้ 0.72 mol มีจำนวนโมเลกุลเท่ ำใด จำนวนอะตอมของ H เท่ ำใดและมีปริมำตรเท่ ำใดที่ STP

กฎทรงมวล(Law of conservation of mass)


กล่าวว่า “ในปฏิกิริยาเคมีใดๆ มวลของสารทั้งหมดก่อนทาปฏิกิริยาเท่ากับมวลของสารทั้งหมดหลัง
ทาปฏิกิริยา” → มวลรวมสารตั้งต้น = มวลรวมของสารผลิตภัณฑ์
โจทย์ เมื่อนำ NaCl 20 กรัม ผสมกับ AgNO3 25 กรัม พบว่ำเกิดตะกอนเกิดขึน้ เมื่อแยกตะกอนออก
จำกของเหลว พบว่ำของเหลวมีมวล 15 กรัม จงหำมวลของตะกอนที่เกิดขึน้
วิธีทา เขียนสมการ NaCl + AgNO3 → AgCl + NaNO3
มวลรวมสารตั้งต้น = NaCl + AgNO3 = 20 +25 = 45
มวลรวมสารผลิตภัณฑ์ = AgCl + NaNO3 = AgCl + 15
มวลรวมสารตั้งต้น = มวลรวมของสารผลิตภัณฑ์
45 = AgCl + 15 → AgCl = 30 กรัม
กฎสั ดส่ วนคงที่(Law of constant proportions)
กล่าวว่า “เมื่อธาตุต้ งั แต่สองชนิดขึ้นไปรวมตัวกันเกิดเป็ นสารประกอบ สัดส่ วนโดยมวลของ
ธาตุที่เป็ นองค์ประกอบนั้น ย่อมมีค่าคงที่เสมอไม่วา่ สารประกอบนั้นจะเตรี ยมขึ้นโดยวิธีใดหรื อจะ
เตรี ยมกี่ครั้งก็ตาม”
โจทย์ นำโลหะหนัก 2.0 กรัม ไปเผำจะได้ โลหะออกไซด์ 3.0 กรัม เมื่อทดลองอีกครั้งโดยนำโลหะ
ชนิดนั้น 8.0 กรัม ไปเผำจะได้ โลหะออกไซด์ 12.0 กรัม จงแสดงว่ำองค์ประกอบของโลหะออกไซด์
เป็ นไปตำมกฎสั ดส่ วนคงที่
วิธีทา หาอัตราส่ วนของโลหะ : โลหะออกไซด์
มวลของสารที่ทาปฏิกิริยากันพอดี
การทดลองที่
มวลของโลหะ มวลของโลหะออกไซด์
1 2.0 3.0
2 8.0 12.0

กฎของเกย์ ลสู แซก


กล่าวว่า “อัตราส่ วนระหว่างปริ มาตรของแก๊สที่ทาปฏิกิริยาพอดีกนั และปริ มาตรของแก๊สซึ่ง
วัดที่อุณหภูมิและความดันเดียวกันจะเป็ นเลขจานวนเต็มลงตัวน้อยๆ”
กฎของอโวกำโดร
กล่าวว่า “แก๊สที่มีปริ มาตรปริ มาตรเท่ากันวัดที่อุณหภูมิและความดันเดียวกันจะ
มีจานวนโมเลกุลเท่ากัน”
เมื่อนากฎของเกย์ลูสแซกและอโวกาโดร มาใช้ร่วมกันจะสามารถหาสู ตรโมเลกุลของแก๊สได้
โจทย์ แก๊สไนโตรเจน 40 cm3 ทำปฏิกริ ิยำพอดีกบั แก๊สไฮโดรเจน 120 cm3 ได้ แก๊ส X
80 cm3 โดยวัดที่อุณหภูมิและควำมดันเดียวกัน จงหำสู ตรโมเลกุลของแก๊ส X
แก๊สไนโตรเจน + แก๊สไฮโดรเจน → แก๊ส X
40 cm3 120 cm3 80 cm3
1 3 2
ให้แก๊ส X เป็ นแก๊สทีมีสูตรโมเลกุล = NiHj
N2 + 3H2 → 2NiHj
จะได้วา่ แก๊ส X คือ NH3

กำรคำนวณผ่ ำนสมกำรเคมี
จากสมการ aA + bB → cC + dD
กำรคำนวณ
1. เขียนสมการและดุลสมการ
2. เปลี่ยนหน่วยเป็ นโมล
3. เปลี่ยนจากโมลเป็ นความสัมพันธ์ของสารอื่น
mol A mol B mol C mol D
= = =
a b c d
g อนุภำค V(L) CV(mL)
โดยที่ mol = MW
=
NA
=
22.4
=
1000

โจทย์ จำกสมกำร CH4 + O2 → CO2 + H2O (สมกำรยังไม่ ดุล) ถ้ ำเผำ CH4 64 กรัม
จะต้ องใช้ แก๊ส O2 ปริมำตรเท่ ำใดที่สภำวะ STP
ดุลสมกำร __CH4 + __O2 → __CO2 + __H2O
คำนวณ วิธีที่ 1 ใช้ สูตร
mol CH4 mol O2 g CH4 V O2
= → =
1 2 MW 22.4 x 2
64 x 2 x 22.4
จะได้วา่ ปริ มาตร O2 =
16
วิธีที่ 2 unit conversion factor

สมกำรเคมีทมี่ ีสำรตั้งต้ นมำกกว่ำสองตัวขึน้ ไป


การกาหนดปริ มาณของสารผลิตภัณฑ์
จะถูกกาหนดโดยสารที่เรี ยกว่า “สารกาหนดปริ มาณ(Limiting agent)”
และสารที่เหลือจากปฏิกิริยาจะถูกเรี ยกว่า “สารที่มากเกินพอ(Excessive reagent)”
กำรหำสำรกำหนดปริมำณ
mol A
ใช้เลขสัดส่ วนโดยโมล ก็คือ การเอาโมลของสารหารด้วยเลขดุล ( )
a
-สัดส่ วนโมลที่นอ้ ย จะเป็ นสารกาหนดปริ มาณ
-สัดส่ วนโมลที่มาก จะเป็ นสารที่มากเกินพอ
กำรคำนวณ
คล้ายกับแบบเดิม แต่ให้ใช้สารกาหนดปริ มาณในการคานวณ
โจทย์ จำกปฏิกริ ิยำ CaCO3 + HCl → CaCl2 + CO2 + H2O ใส่ CaCO3 20 กรัม ลงใน กรด HCl 1
mol/dm3 จำนวน 300 cm3 เมื่อทำปฏิกริ ิยำสมบูรณ์ จะเกิด CO2 กีล่ ูกบำศก์ เดซิเมตรที่ STP
(มวลอะตอมของ Ca = 40, C = 12, O = 16, Cl = 35.5)
ดุลสมกำร __CaCO3 + __HCl → __CaCl2 + __CO2 + __H2O
mol CaCO3 g CaCO3 20
หาสารกาหนดปริ มาณ CaCO3 : = = = 0.2
1 MW x 1 100
mol HCl CV (mL) 1 x 300
HCl: = = = 0.15
2 1000 x 2 1000 x 2
จะได้วา่ CaCO3 เป็ นสารกาหนดปริ มาณ
คำนวณ วิธีที่ 1 ใช้ สูตร
mol CO2 V CO2
0.15 = = → V CO2 = 3.36 dm3
1 22.4
วิธีที่ 2 unit conversion factor

ผลได้ ตำมทฤษฎีและผลได้ ร้อยละ(ผลได้ จริง)


ผลได้ ตำมทฤษฎี คือผลที่ได้จากการคานวณตามสมการเคมี
ผลได้ จริง คือผลที่ได้จากการทดลองซึ่งมีค่าน้อยกว่าผลได้ตามทฤษฎีเสมอ
ผลได้จริ ง
%yield= x 100
ผลได้ตามทฤษฎี
โจทย์ จำกสมกำรข้ ำงบน ถ้ ำได้ CO2 2.24 L จงหำผลได้ ร้อยละ
กำรคำนวณผ่ ำนสมกำรเคมีที่มำกกว่ำหนึ่งสมกำร
สามารถทาได้ 2 วิธี คือ 1. คิดทีละสมการ 2. รวมสมการ
โจทย์ 1. Pb(NO3)2 → PbO + NO2 + O2
2. NO2 + KI → K2O + NO + I2
22
ต้ องเผำ Pb(NO3)2 กีก่ รัม จึงจะได้ I2 1.21 x 10 โมเลกุล
(เลขอะตอมของ Pb = 207, N = 14, O = 16, I = 127)
ดุลสมกำร
1. __Pb(NO3)2 → __PbO + __NO2 + __O2
2. __NO2 + __KI → __K2O + __NO + __I2
คิดทีละสมกำร
mol I2 mol NO2 1.21 x 1022
สมการที่ 2 : = → mol NO2 = 6.02 x 1023
1 1
mol NO2 mol Pb(NO3 )2 2 2 x mol NO
32 g Pb(NO )
สมการที่ 1 : = → =
4 2 4 MW
ดังนั้น มวลของ Pb(NO3)2 ที่ตอ้ งใช้ คือ 3.326 กรัม
คิดรวมสมกำร
รวมสมการโดยทาให้ตวั ที่เหมือนกันมีเลขดุลข้างหน้าเท่ากัน จึงจะตัดกันได้
(1) : 2Pb(NO3)2 → 2PbO + 4NO2 + O2
(2) x 4 4NO2 + 8KI → 4K2O + 4NO + 4I2
เมื่อรวมสมการจะได้ : 2Pb(NO3)2 + 8KI → 2PbO + O2 + 4K2O + 4NO + 4I2
mol I2 mol Pb(NO3 )2 2 x 1.21 x 1022 g Pb(NO )
32
= → 23 =
4 2 4 x 6.02 x 10 MW
ดังนั้น มวลของ Pb(NO3)2 ที่ตอ้ งใช้ คือ 3.326 กรัม
Unit conversion factor
กำรหำสู ตรของสำรประกอบ
ร้ อยละของธำตุในสำรประกอบ
หาได้จากน้ าหนักของธาตุแต่ละชนิด เทียบกับมวลโมเลกุล
จานวนอะตอม A x มวลอะตอม A
ร้อยละของธาตุ A = x 100
มวลโมเลกุลของสาร
เช่น จงหาร้อยละของธาตุทุกชนิดใน CH3OH

สู ตรอย่ ำงง่ ำยและสู ตรโมเลกุล


สู ตรอย่ำงง่ ำย(Empirical formula) เป็ นอัตราส่ วนของอย่างต่าของสารประกอบ
สู ตรโมเลกุล (Molecular formula) แสดงธาตุวา่ มีอย่างละกี่อะตอมในโมเลกุล
วิธีหำสู ตรอย่ ำงง่ ำย
1. หาสัดส่ วนน้ าหนักของธาตุในสารประกอบเป็ น % (ต้องครบ 100 %)
2. เปลี่ยนสัดส่ วนน้ าหนักให้เป็ น mol → หารด้วยมวลอะตอม
3. หารด้วยสัดส่ วนของธาตุที่นอ้ ยที่สุด
ปัดทศนิยม ลองปัดหน่ อยซิ
-ไม่เกิน 0.1→ ปัดลง 1 : 1.25
-ระหว่าง 0.2-0.8 → คูณด้วยตัวเลขให้ปัดได้ 1 : 1.3
-ตั้งแต่ 0.9 ขึ้นไป → ปัดขึ้น 1 : 1.5
1 : 1.67
1 : 1.75
โจทย์ สำรประกอบออกไซด์ ชนิดหนึ่งประกอบด้ วยโลหะ X 78.8 % จงหำสู ตรอย่ำงง่ ำยของ
สำรประกอบนี้ (กำหนดให้ มวลอะตอมของ X = 119, O = 16)

กรณีโจทย์ไม่ ให้ สำรมำเป็ น %


ถ้าโจทย์ให้สารมาเป็ นกรัม มวลของธาตุทุกตัวรวมกัน = มวลของสาร(กฎทรงมวล)
เช่น เผา CH4 1.75 กรัม พบว่า เกิด C 1.03 กรัม จงหาสู ตรเอมพิริคลั
H = 1.75 -1.03 = 0.72 กรัม แล้วนาไปทาตามขั้นตอนได้เลย
กรณีโจทย์ไม่ ให้ มวลของสำรมำโดยตรง
มักพบในสารประกอบอินทรี ย ์ ให้
-หามวล C จาก CO2
-หา H จาก H2O
จำนวนอะตอม A x มวลอะตอม A
หาได้จาก มวลสำร A = x มวลที่ได้ จำกกำรทดลอง
มวลโมเลกุลของสำร

เช่น เผาสารไฮโดรคาร์บอน X เกิด CO2 5.78 กรัม และไอน้ า 1.9 กรัม จงหาสู ตรอย่างง่าย
1 x 12
มวล C = x 5.78 = 1.57
44
2x1
มวล H = x 1.9 = 0.21
18
วิธีหำสู ตรโมเลกุล
1. หาสู ตรอย่างง่าย
2. หา n จาก สู ตรโมเลกุล = (สู ตรอย่างง่าย)n
3. ปัดเลข n
-น้อยกว่า 0.5 → ปัดลง
-มากกว่าหรื อเท่ากับ 0.5 → ปัดขึ้น
โจทย์ สำรประกอบออกไซด์ ชนิดหนึ่งประกอบด้ วยโลหะ X 78.8 % จงหำสู ตรโมเลกุลของ
สำรประกอบนี้ เมื่อมวลโมเลกุลของสำรนี้ = 302 (กำหนดให้ มวลอะตอมของ X = 119, O = 16)
สำรละลำย(Solution)
ประกอบด้วยตัวถูกละลาย(solute) และตัวทาละลาย(solvent)
1. ร้ อยละ(Percentage, part per hundred, pph)
1. ร้ อยละโดยมวล, ร้ อยละโดยนำ้ หนัก, %w/w
มวลตัวถูกละลาย
%w/w = x100
มวลสารละลาย
เช่น NaCl 70 %w/w แปลว่า ในสารละลาย 100 กรัม มี NaCl 70 กรัม น้ า 30 กรัม
2. ร้ อยละโดยปริมำตร, %v/v
ปริ มาตรตัวถูกละลาย
%v/v = x100
ปริ มาตรสารละลาย
เช่น เอทานอล 50 % v/v แปลว่า ในสารละลาย 100 mL มี เอทานอล 50 mL น้ า 50 mL
3. ร้ อยละโดยมวลต่ อปริมำตร, %w/v
มวลตัวถูกละลาย
%w/v = x100
ปริ มาตรสารละลาย
เช่น MgSO4 20 %w/v แปลว่า ในสารละลาย 100 mL มี MgSO4 20 g น้ า 80 mL
ปริ มาตรสารละลายจึงมีเท่ากับ 100 mL
เพราะ น้ า มีความหนาแน่น 1 g/mL ระวัง ถ้าไม่ใช่น้ า จะไม่เท่ากับ 80 mL
กำรเตรียมสำรละลำย
1. ชัง่ หรื อตวงตัวถูกละลายที่ตอ้ งการ
2. เติมตัวทาละลายให้ได้ปริ มาตรที่ตอ้ งการ
เช่น ต้องการ KCl 50 %w/v ปริ มาตร 500 mL
1. หามวล KCl

2. เติมน้ าลงในขวดวัดปริ มาตรจนถึง 500 mL


2. ส่ วนในพันส่ วน (part per thousand, ppt)
ปริ มาณตัวถูกละลาย 3
ppt = x10
ปริ มาณสารละลาย
3. ส่ วนในล้ำนส่ วน (part per million, ppm)
ปริ มาณตัวถูกละลาย 6
ppm = x10
ปริ มาณสารละลาย
4. ส่ วนในพันล้ำนส่ วน (part per billion, ppb)
ปริ มาณตัวถูกละลาย 9
ppb = x10
ปริ มาณสารละลาย
5. โมลำริตี (Molarity, M)
โมลตัวถูกละลาย
M=
ปริ มาตรสารละลาย(L)
กำรแปลงหน่ วยเป็ นโมลำร์
10%d
5.1 M = สาหรับ %w/w, %v/v
MW
10%
5.2 M = สาหรับ %w/v
MW
6. โมแลลิตี(Molality, m)
โมลตัวถูกละลาย
m=
มวลตัวทาละลาย(kg)
กำรแปลงหน่ วยเป็ นโมแลล
1000%
5.1 M = สาหรับ %w/w
(100−%)MW
1000%
5.2 M = สาหรับ %w/v
(100d−%)MW
7. เศษส่ วนโมล(mole fraction, 𝝌)
โมลของสาร A
𝜒A =
โมลรวมของสารละลาย
A เป็ นได้ท้ งั ตัวถูกละลายและตัวทาละลาย
โดยที่ 𝜒ตัวถูกละลาย + 𝜒ตัวทาละลาย = 1
เช่น สารละลาย NaCl 60 % w/v จงหาเศษส่ วนโมล

กำรเจือจำงสำรละลำย
ปริ มาณ(mol) ของตัวถูกละลายเท่าเดิม
ปริ มาณ(L) ของตัวทาละลายเปลี่ยน

Mol1 = Mol2
C1V1 = C2V2

เช่น นาสารละลาย X 0.5 M มา 50 mL เติมน้ าจนมีปริ มาตร 100 mL


จงหาความเข้มข้นของสารละลายใหม่
กำรผสมสำรละลำย
ปริ มาณ(mol) ของตัวถูกละลายเปลี่ยน ความเข้มข้นเปลี่ยน

Mol1 + Mol2 = Moltotal


C1V1 + C2V2 = CรวมVรวม

เช่น นาสารละลาย X 0.4 M มา 20 mL ผสมกับสารละลาย X 0.5 M ปริ มาตร 80 mL


จงหาความเข้มข้นของสารละลาย X

กำรผสมสำรสำรละลำยด้ วยของแข็ง
เงื่อนไข ปริ มาตรรวมของสาระละลายต้องไม่เปลี่ยนแปลง

Mol1 + Mol2 = Molรวม

Molของแข็ง + C1V1 = CรวมVรวม


สมบัติคอลลิเกทีฟ(Colligative)
เป็ นคุณสมบัติของสารละลาย พบว่าเมื่อละลายตัวถูกละลายลงไปแล้ว
จุดเดือดและจุดเยือกแข็งมีค่าเปลี่ยนแปลง
สารละลายจะมีจุดเดือดสู งขึ้นจากตัวทาละลายปกติ
สารละลายจะมีจุดเยือกแข็งต่าลงจากตัวทาละลายปกติ
เงื่อนไข สำรละลำยต้ องเป็ นสำรระเหยยำก และไม่ แตกตัวเป็ นไอออน
ปัจจัยที่ส่งผลต่ อจุดเดือดจุดหลอมเหลว
1. ชนิดและปริ มาณของตัวทาละลาย
2. ปริ มาณของตัวถูกละลาย
molตัวถูกละลาย
∆T= K x m= K x
kgตัวทาละลาย

ค่า K คือค่าคงที่ ถ้า Kb จะเป็ นการเพิม่ ขึ้นของจุดเดือด (น้ า = 0.51 C/m)

Kf จะเป็ นการลดลงของจุดเยือกแข็ง (น้ า = 1.86 C/m)
โจทย์ สำรละลำย X 30 กรัม ในนำ้ 500 kg จงหำจุดเดือดจุดหลอมเหลว (MW = 10)

You might also like