You are on page 1of 24

สมบัติบางประการของสารสารละลาย

(Colligative Properties)

1
สมบัตคิ อลลิเกทิฟ

“สมบัติทางกายภาพของสารละลายที่ข้ ึนกับอัตราส่ วนระหว่างปริ มาณของตัวถูกละลายกับตัวทา


ละลาย โดยไม่ข้ ึนกับชนิดของตัวถูกละลาย”

“ที่สภาวะหนึ่ง ๆ ตัวทาละลายบริ สุทธิ์ (pure solvent) จะมีความดันไอ จุดเดือด และจุดเยือกแข็งที่


แน่นอน แต่เมื่อมีตวั ถูกละลายที่ไม่สามารถระเหยผสมอยูเ่ ป็ นเนื้อเดียวกัน ในสารละลายสิ่ งที่เกิดขึ้นคือ
จะทาให้สารละลายมีสมบัติบางประการเปลี่ยนแปลงไป เช่น จุดเดือด (boiling point) จุดเยือกแข็ง
(freezing point) ความดันไอ (vapor pressure) และความดันออสโมติก (osmotic pressure)
โดยสมบัติเหล่านี้จะขึ้นอยูก่ บั ปริ มาณหรื อจานวนอนุภาคของตัวถูกละลายที่มีอยูใ่ นสารละลายเท่านั้น
จะไม่ข้ ึนอยูก่ บั ชนิดของตัวถูกละลายแต่อย่างใด ทั้งนี้หมายถึงสารละลายที่มีตวั ทาละลายชนิดเดียวกัน
เราเรี ยกสมบัติท้ งั หมดรวมกันว่า สมบัติคอลลิเกตีฟ (colligative properties)”

2
การเพิม่ ขึน้ ของจุดเดือด
“เป็ นสัดส่ วนโดยตรงกับความเข้มข้นของสารละลายส่ วนใหญ่ใช้ในหน่วยโมแลล (mol/kg) โดย
ไม่ข้ ึนกับชนิดของตัวถูกละลาย แต่ตวั ถูกละลายต้องมีคุณสมบัติที่สาคัญได้แก่ เป็ นสารระเหยยากไม่
แตกตัวเป็ นไอออน และเป็ นสารบริ สุทธิ์เป็ นต้น”
การคานวณ ∆Tb = Kbm

∆Tb = Kb m1 1000
m2 M1

∆Tb = “จุดเดือดที่เพิ่มขึ้น” จุดเดือดของสารละลาย- จุดเดือดของตัวทาละลายบริ สุทธิ์ = Tb - Tob (oC)


Kb = ค่าคงที่การเพิม่ ขึ้นของจุดเดือดของสารละลาย (oC/(mol/kg))
m = ความเข้มข้นของสารละลาย หน่วยเป็ นโมแลล (mol/kg)
m1 = มวลตัวถูกละลาย (g)
m2 = มวลของตัวทาละลาย (g)
M1 = มวลโมเลกุลของตัวถูกละลาย (g/mol)
3
การลดตา่ ลงของจุดเยือกแข็ง
“เป็ นสัดส่ วนโดยตรงกับความเข้มข้นของสารละลายส่ วนใหญ่ใช้ในหน่วยโมแลล (mol/kg) โดย
ไม่ข้ ึนกับชนิดของตัวถูกละลาย แต่ตวั ถูกละลายต้องมีคุณสมบัติที่สาคัญได้แก่ เป็ นสารระเหยยากไม่
แตกตัวเป็ นไอออน และเป็ นสารบริ สุทธิ์เป็ นต้น”
การคานวณ ∆Tf = Kf m

∆Tf = Kf m1 1000
m2 M1
∆Tf = “จุดเยือกแข็งที่ลดลง” จุดเยือกแข็งของตัวทาละลายบริ สุทธิ์ - จุดเยือกแข็งของสารละลาย =
Tof - Tf (oC)
Kf = ค่าคงที่การลดลงของจุดเยือกแข็งของสารละลาย (oC/(mol/kg))
m = ความเข้มข้นของสารละลาย หน่วยเป็ นโมแลล (mol/kg)
m1 =มวลตัวถูกละลาย (g)
m2 = มวลของตัวทาละลาย (g)
M1 = มวลโมเลกุลของตัวถูกละลาย (g/mol)
4
ตัวอย่ าง 1 สารประกอบที่ระเหยยากและไม่แตกตัวมีมวล 5 กรัม เมื่อนาไปละลายน้ า 500 กรัม ปรากฏ
ว่าสารละลายที่ได้มีจุดเดือด 100.10 o C มวลโมเลกุลของสารประกอบนี้มีค่าเท่าใด (กาหนด Kb ของ
น้ า = 0.50 o C/mol/kg)

5
ตัวอย่ าง 2 เมื่อละลายสารA 2.76 g ในเอทานอล 10 g พบว่าสารละลายมีจุดเดือด 82.16 oC จงหา
มวลโมเลกุลของสาร A กาหนดให้จุดเดือดของเอทานอลเท่ากับ 78.50 oC ค่าคงที่ของการเพิ่มของจุด
เดือด (Kb) ของเอทานอลเท่ากับ 1.22 oC/(mol/kg)

6
ตัวอย่ าง 3 สารละลายซูโครส (C12H22O11) 342 กรัม ในน้ า 1 กิโลกรัม มีจุดเยือกแข็ง -1.8 oC ถ้า
สารละลายที่มีซูโครส 114 กรัม ในน้ า 500 กรัม จะมีจุดเยือกแข็งเท่าไร

7
แบบฝึ กหัด
1.จงคานวณหาจุดเยือกแข็งของสารละลายที่ประกอบด้วยสารชนิดหนึ่ง 4.0 g ที่มีน้ าหนัก โมเลกุล 125 ใน
การบูร 100.0 g จุดเยือกแข็งของการบูรบริ สุทธิ์คือ 178 .4 oC มี Kf = 40.0 oC/(mol/kg)

2. จุดเดือดของเอทานอลบริ สุทธิ์คือ 78.35 oC และมีค่าคงที่การเพิ่มขึ้นของจุดเดือด (Kb) เท่ากับ 1.2


o
C/(mol/kg) จงคานวณหาสู ตรโมเลกุลของน้ าตาลชนิ ดหนึ่ งที่มี C 40.0% H 6.7% และ O 53.3%
โดยน้ าหนัก ในสารละลายที่มีน้ าตาลชนิดนี้ 11.7 g ในเอทานอล 325 g ที่จุดเดือด 78.59 oC

3. สารละลายชนิดหนึ่งประกอบด้วยตัวทาละลายที่มีจุดเดือดอยูท่ ี่ 61.70 oC และตัวถูกละลายที่มีมวล


โมเลกุลเท่ากับ 500 เมื่อนาเอาสารละลายนี้มาหาจุดเดือดปรากฏว่าได้จุดเดือดอยูท่ ี่ 62.20 oC จงหาว่า
ในสารละลายนี้ 100 กรัม จะมีตวั ถูกละลายอยูก่ ี่กรัม
กาหนดค่า Kb ของตัวทาละลายเท่ากับ 5.00 oC/(mol/kg)

8
ตัวอย่ าง 3 สารละลายชนิดหนึ่งประกอบด้วยตัวทาละลายที่มีจุดเดือดอยูท่ ี่ 61.70 oC และตัวถูกละลาย
ที่มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 500 เมื่อนาเอาสารละลายนี้มาหาจุดเดือดปรากฏว่าได้จุดเดือดอยูท่ ี่ 62.20 oC
จงหาว่าในสารละลายนี้ 100 กรัม จะมีตวั ถูกละลายอยูก่ ี่กรัม
กาหนดค่า Kb ของตัวทาละลายเท่ากับ 5.00 oC/(mol/kg)

9
แบบฝึ กหัด
1.จงคํานวณหาจุดเยือกแข็งของสารละลายที่ประกอบด้ วยสารชนิดหนึ่ง 4.0 g ที่มีนํ ้าหนัก
โมเลกุล 125 ในการบูร 100.0 g จุดเยือกแข็งของการบูรบริ สทุ ธิ์คือ 178 .4 oC มี Kf = 40.0
o
C/(mol/kg)

2. จุดเดือดของเอทานอลบริสทุ ธิ์คือ 78.35 oC และมีคา่ คงที่การเพิ่มขึ ้นของจุดเดือด (Kb) เท่ากับ 1.2


o
C/(mol/kg) จงคํานวณหาสูตรโมเลกุลของนํ ้าตาลชนิดหนึ่งที่มี C 40.0% H 6.7% และ O 53.3%
โดยนํ ้าหนัก ในสารละลายที่มีนํ ้าตาลชนิดนี ้ 11.7 g ในเอทานอล 325 g ที่จดุ เดือด 78.59 oC

3.ของผสมของแนฟทาลีน (C10H8) และแอนทราซีน (C14H10)มวลรวม 4.20 กรัม เมื่อนํามาละลาย


ในเบนซีน 50 กรัม ได้ สารละลายที่มีจดุ เยือกแข็งเป็ น 2.94 องศาเซลเซียส ของผสมนี ้มีเศษส่วนโมล
ของแนฟทาลีนเป็ นเท่าใด เมื่อกําหนดให้ จดุ ดเยือกแข็งและค่าคงที่ Kf ของเบนซีน เป็ น 5.50 องศา
เซลเซียส และ 5.12 องศาเซลเซียสต่อโมแลล ตามลําดับ (เบนซีน C6H6)

10
กรณีสารละลายชนิดเดียวกันมีความเข้ มข้ นเท่ ากัน จุดเดือดและจุดเยือกแข็งมีความสั มพันธ์ กนั

∆Tb = Kb
∆Tf Kf

สามารถหาความเข้ มข้ นของสารละลายได้ จากความสั มพันธ์ ดงั สมการ

m = m1 1000
m2 M1

จงหาที่มาของความสั มพันธ์ จากสมการข้ างต้ น?

11
ตัวอย่ าง 5 จงหาอัตราส่ วนโดยปริ มาตรของน้ า (density=1 g/mL) และเอทิลีนไกลคอล (C2H6O2)
(density=1.12 g/mL) ผสมกันเพื่อป้ องกันการแข็งตัวของน้ าในหม้อน้ ารถยนต์ได้ถึงอุณหภูมิ -10 oC
Kf ของน้ าเท่ากับ 1.86 oC/(mol/kg) (มวลอะตอม H=1, C=12, O=16)

12
ตัวอย่ าง 6 จงคานวณหาจุดเยือกแข็งและจุดเดือดของสารละลายที่มียเู รี ย (CO(NH2)2) 4.00 กรัม ละลาย
ในน้ า 75.0 กรัม ค่า Kb ของนํ ้าเท่ากับ 0.51 oC/(mol/kg) Kf ของนํ ้าเท่ากับ 1.86 oC/(mol/kg)
(มวลอะตอม H=1, C=12, N=14, O=16)

13
ตัวอย่ าง 7 สาร x เป็ นสารที่ไม่ระเหยและไม่แตกตัวเป็ นไอออนในสารละลาย ถ้าสารละลาย x ในน้ ามี
จุดเยือกแข็ง -2.79 oC จงหาจุดเดือดของสารละลาย x กาหนดค่า Kb ของน้ าเท่ากับ 0.51 oC/(mol/kg)
Kf ของน้ าเท่ากับ 1.86 oC/(mol/kg)

14
ตัวอย่ าง 8 ถ้านาสารต่อไปนี้หนักเท่ากันละลายน้ าปริ มาตรเท่ากันสารละลายใดมีจุดเดือดต่าสุ ด
1. น้ าตาลทราย (C12H22O11) 2. น้ าตาลกลูโคส (C6H12O6) 3. ยูเรี ย (CO(NH2)2)
(มวลอะตอม H=1, C=12, N=14, O=16)

15
ตัวอย่ าง 9 จุดเดือดของน้ าที่ระดับความดันหนึ่งที่ต่ากว่าบรรยากาศมีค่าเท่ากับ 99.85 oC จงหาความ
เข้มข้นเป็ น %w/w ของสารละลายซูโครส (C12H22O11) ที่มีจดุ เดือดเป็ น 100 oC ที่ระดับความ
ดันเดียวกันนี้ กําหนดค่า Kb ของนํ ้าเท่ากับ 0.51 oC/(mol/kg)

16
แบบฝึ กหัดชุด 2
1. กลีเซอรอล (C3H8O3) เป็ นสารต้านการเยือกแข็ง (antifreeze)ที่ใช้ผสมลงในหม้อน้ ารถยนต์ เพื่อ
ป้องกันการแข็งตัวของน้ าในเขตหนาวเย็นหม้อน้ ารถยนต์คนั หนึ่งมีกลีเซอรอลอยู่ 46% โดยน้ าหนัก
สารละลายในหม้อน้ านี้จะเริ่ มแข็งตัวที่อุณหภูมิเท่าใด กาหนดให้ค่า Kf ของน้ าเท่ากับ 1.86
o
C/(mol/kg)
2.ของผสมของแนฟทาลีน (C10H8) มวล 1.0 กรัม ละลายในตัวทาละลายอินทรี ยช์ นิดหนึ่งมวล 100
กรัม ปรากฏว่าสารละลายมีจุดเดือดเพิม่ ขึ้น 0.5 oC ถ้านาสาร A มวล 1.0 กรัม มาละลายในตัวทา
ละลายชนิดเดียวกันนี้ 100 กรัม พบว่าได้จุดเดือดของสารละลายเพิ่มขึ้น 0.4 oC มวลโมเลกุลของสาร
A เป็ นเท่าไร (H=1, C=12)
3 จงหาอัตราส่ วนโดยปริ มาตรของน้ า (density=1 g/mL) และเอทิลีนไกลคอล (C2H6O2)
(density=1.12 g/mL) ผสมกันเพื่อป้ องกันการแข็งตัวของน้ าในหม้อน้ ารถยนต์ได้ถึงอุณหภูมิ -10 oC
Kf ของน้ าเท่ากับ 1.86 oC/(mol/kg) (มวลอะตอม H=1, C=12, O=16)

17
แบบฝึ กหัดชุด 2
1.ของผสมของแนฟทาลีน (C10H8) มวล 1.0 กรัม ละลายในตัวทําละลายอินทรี ย์ชนิดหนึง่ มวล 100
กรัม ปรากฏว่าสารละลายมีจดุ เดือดเพิ่มขึ ้น 0.5 oC ถ้ านําสาร A มวล 1.0 กรัม มาละลายในตัวทํา
ละลายชนิดเดียวกันนี ้ 100 กรัม พบว่าได้ จดุ เดือดของสารละลายเพิ่มขึ ้น 0.4 oC มวลโมเลกุลของ
สาร A เป็ นเท่าไร (H=1, C=12)
2. กลีเซอรอล (C3H8O3) เป็ นสารต้ านการเยือกแข็ง (antifreeze)ที่ใช้ ผสมลงในหม้ อนํ ้ารถยนต์ เพื่อ
ป้องกันการแข็งตัวของนํ ้าในเขตหนาวเย็นหม้ อนํ ้ารถยนต์คนั หนึง่ มีกลีเซอรอลอยู่ 46% โดยนํ ้าหนัก
สารละลายในหม้ อนํ ้านี ้จะเริ่มแข็งตัวที่อณ
ุ หภูมิเท่าใด กําหนดให้ คา่ Kf ของนํ ้าเท่ากับ 1.86
o
C/(mol/kg)

3. เบนซีนบริสทุ ธิ์มีจดุ เยือกแข็ง 5.5 oC เมื่อนาแนพทาลีน (C10H8) 0.50 กรัม มาละลายในเบนซีน 5


กรัม พบว่าสารละลายที่ได้ มีจดุ เยือกแข็งเป็ น 0.5 oC เมื่อนําสารละลายนี ้มาเติมสารตัวอย่างชนิดหนึ่ง
อีก 0.50 กรัม พบว่าได้ สารละลายที่มีจดุ เยือกแข็งเป็ น -3.5 oC สารตัวอย่างนี ้มีมวลโมเลกุลเท่าใด (H
= 1, C = 12)

18
สรุปสาระสาคัญของสารละลายที่มีสมบัตคิ อลลิเกตีฟ

1. สมบัติคอลลิเกตีฟ เป็ นสมบัติทางกายภาพเกี่ยวกับจุดเดือด จุดเยือกแข็ง และความดันไอ


ของสารละลาย
2. สมบัติคอลลิเกตีฟของสารละลายขึ้นอยูก่ บ ั ความเข้มข้นของสารละลาย และชนิดของตัว
ทาละลาย แต่ไม่ข้ ึนกับชนิดของตัวถูกละลาย
3. สารละลายชนิดเดียวกัน แต่มีความเข้มข้นต่างกันจะมีจุดเดือดและจุดเยือกแข็งต่างกัน
กล่าวคือ สารละลายที่มีความเข้มข้นมากกว่าจะมีจุดเดือดสู งกว่า แต่จุดเยือกแข็งต่ากว่า
4. สารละลายที่มีตวั ถูกละลายต่างกัน แต่มีตวั ทาละลายเหมือนกันจะมีจุดเดือดและจุดเยือก
แข็งเท่ากัน
5. สารละลายที่มีตวั ถูกละลายเหมือนกัน แต่ตวั ทาละลายต่างกันจะมีจุดเดือดและจุดเยือก
แข็งต่างกัน
6. ค่า Kb และ Kf ขึ้นอยูก่ บ
ั ชนิดของตัวทาละลายเท่านั้น เช่น สารละลายใด ๆ ที่มีตวั ทา
ละลายเหมือนกันจะมีค่า Kb และ Kf เท่ากันเสมอ

19
ข้อสอบกลางภาค 2561 เคมี ม.4

ข้อสอบปรนัย 20 ข้อ ข้อสอบอัตนัย 4 ข้อ


-การคานวณหามวลโมเลกุล -อธิบายความหมายของหน่วยความเข้มข้นของ
-หาน้ าหนักจากจานวนโมล สารละลายที่กาหนดให้
-นิยามของโมล -อธิบายการเตรี ยมสารละลาย
-การหาโมลของแก๊ส, หาน้ าหนักจากจานวน -อธิบายความสัมพันธ์ของความเข้มข้นของ
โมเลกุล สารละลายกับจุดเดือดและจุดเยือกแข็ง
-การเปลี่ยนหน่วย ร้อยละโดยมวลเป็ นโม -อธิบายสมการที่สามารถคานวณหาจุดเดือดและ
แลล, ร้อยละโดยมวลเป็ น ppm จุดเยือกแข็งได้พร้อมกัน
-การเจือจางสารละลาย
-การหาจุดเดือดและจุดเยือกแข็งของ
สารละลายชนิดต่าง ๆ
สมบัติคอลิเกติฟของสารละลายอิเล็กโทรไลต์
สารอิเล็กโทรไลต์ : สารที่แตกตัวเป็ นไอออนเมื่ออยู่ในนา้
1. สารอิเล็กโทรไลต์ แก่ ( แตกตัว100% )
กรดแก่ เบสแก่ เกลือที่ละลายนา้ ได้ ดี
2. สารอิเล็กโทรไลต์ อ่อน ( แตกตัวเพียงบางส่ วน)
กรดอ่อน เบสอ่อน เกลือที่ละลายนา้ ได้ น้อย
3. สารนอนอิเล็กโทรไลต์ ( ไม่ แตกตัว)

สารอิเล็กโทรไลต์ + นา้ ได้ เป็ นสารละลายอิเล็กโทรไลต์

21
การเปรียบเทียบความเข้ มข้ นของสารอิเล็กโทรไลต์ และสารที่ไม่ ใช่ อเิ ล็กโทรไลต์ ต่อค่ าจุดเยือกแข็งที่ลดต่าลง

22
ตัวอย่ างการอธิบายจานวนโมลของสารละลายอิเล็กโทรไลต์

กรณีละลาย HCl ในนา้

HCl → H+ + Cl-
ก่อนแตกตัว 0.100 - - โมล
หลังแตกตัว - 0.100 0.100 โมล
0.200 โมล/ 1 โมล HCl
∆ Tf = Kfm
= 1.80 °C/m × 0.200 m
= 0.372 °C

ดังนั้น ∆Tf มีค่าเป็ น 2 เท่าของ ∆Tf ของสารละลายนอนอิเล็กโตรไลต์


ที่ความเข้มข้นเดียวกัน
23
Na2SO4 → 2Na+ + SO42-

∆Tf มีคา่ เป็ น 3 เท่าของ ∆Tf ของสารละลายนอนอิเล็กโตรไลต์ที่


ความเข้ มข้ นเดียวกัน

ในความเป็ นจริ งการแตกตัวของสารละลายอิเล็กโทรไลต์จะลดลง


เมื่อความเข้มข้นเพิ่มขึ้นทาให้ค่าการเปลี่ยนแปลงของจุดเดือดและ
จุดเยือกแข็งแตกต่างจากการคานวณ

24

You might also like