You are on page 1of 30

อุณหภูมิกับ

การเปลี่ยนสถานะของสาร
การเปลีย่ นสถานะของสาร
สารสามารถเปลี่ยนสถานะ จากสถานะหนึ่งเป็นอีก
สถานะหนึ่ง โดยมีพลังงานเข้ามาเกี่ยวข้อง
ความร้อนกับการเปลีย่ นสถานะ

0 °C 0 °C
นำ้ ความร้
ก่ อนเป็อนไอน
นกับำการเปลี ย่ นสถานะ
้ มีอุณหภู มเิ ท่ ำไหร่ ???

100 °C 100 °C
ความร้อนที่เกีย่ วข้องกับการเปลีย่ นสถานะ
ความร้อนทีเ่ กีย่ วข้องกับการเปลีย่ นสถานะ มี อยู่ 2 ช่วง
• ความร้อนทีเ่ ปลีย่ นสถานะจากของแข็งเป็นของเหลว เรียกว่า
“ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว”
• ความร้อนทีเ่ ปลีย่ นสถานะจากของเหลวเป็นแก๊ส เรียกว่า
“ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ”
ความร้อนแฝง
ความร้อนแฝง คือ พลังงานความร้อนที่ใช้ในการทา
ให้สารเปลี่ยนสถานะเป็นอีกสถานะหนึง่ โดยที่อณ
ุ หภูมิ
ของสารขณะเกิดการเปลีย่ นแปลงมีคา่ คงที่
พลังงานความร้อนมีหน่วยเป็น แคลอรี่ หรือ จูล
โดยกาหนดให้ 1 แคลอรี่ หมายถึง ปริมาณความร้อนทีท่ าให้น้ามวล 1 กรัม
มีอุณหภูมเิ พิม่ ขึ้น 1 C
ความร้อนแฝงจาเพาะของการหลอมเหลวของน้า = 80 cal
ความร้อนแฝงจาเพาะของการกลายเป็นไอของน้า = 540 cal
พลังงานทีเ่ กี่ยวข้องกับการเปลีย่ นสถานะของสาร

Q = mL
Q = ปริมาณความร้อนหรือค่าความร้อนแฝง
ที่ใช้ในการเปลีย่ นสถานะ (cal)
m = มวลของสาร (g)
L = ความร้อนแฝงจาเพาะของสาร (cal/g)
พลังงานทีเ่ กี่ยวข้องกับการเปลีย่ นอุณหภูมขิ องสาร
Q = mc∆t
Q = ปริมาณความร้อนทีใ่ ช้ในการลด
หรือเพิม่ อุณหภูมขิ องสารนั้น (cal)
m = มวลของสาร (g)
c = ค่าความจุความร้อนจาเพาะของสาร (ของน้า มีค่า = 1 )
∆t = อุณหภูมทิ เี่ ปลีย่ นแปลงไป (◦C)
ตัวอย่าง 1
น้าแข็ง 5 กรัม กลายเป็นไอน้าที่ 100 C จะต้องใช้พลังงานความร้อนกี่
แคลอรี (กาหนดความร้อนแฝงของการหลอมเหลวของน้า เท่ากับ 80
แคลอรี/กรัม, ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอของน้า เท่ากับ 540
แคลอรี/กรัม)
ตัวอย่าง 2
น้าแข็ง 3 กิโลกรัม เปลี่ยนเป็นน้าที่ 0 C จะต้องใช้พลังงานกีก่ โิ ลจูล
กาหนดความร้อนแฝงของการหลอมเหลวของน้าเท่ากับ 0.33 กิโลจูล/กรัม
ตัวอย่าง 3
น้า 200 กรัม ที่ 25 C ทาให้รอ้ นขึน้ เป็น 75 C จงหาพลังงานทีใ่ ช้
เป็นกิโลจูล ค่าความจุความร้อนของน้าเท่ากับ 4.2kJ/kg C
สมดุลความร้อน
เมื่อนาวัตถุ 2 ชนิด ที่มีอุณหภูมติ ่างกันมาสัมผัสกัน จะเกิดการถ่ายเทความ
ร้อน จนกระทัง่ อยู่ในสมดุลความร้อนจึงหยุดการถ่ายเทความร้อน
นำ้ นำ้ ผสม ไอนำ้
0 °C ? °C 100 °C

ΔQ เพิ่ม = ΔQ ลด
ตัวอย่าง 4
จงหาอุณหภูมผิ สมระหว่างน้า 80 กรัม ที่ 100 C กับน้า 30 กรัม
ที่ 25 C
ตัวอย่าง 5
จะต้องเทน้าเดือดลงไปกีก่ รัมจึงจะทาให้นา้ 60 กรัม ที่ 20 C
มีอุณหภูมสิ งู ขึน้ เป็น 80 C
ตัวอย่าง 6
ตะกั่วมวล 250 กรัม ลดอุณหภูมจิ าก 100 C เหลือ 20 C
จะคายความร้อนออกไปกี่แคลลอรี (ตะกั่ว 1 กรัม คายความร้อน 0.32
แคลอรี จะลดอุณหภูมิ 1 องศาเซลเซียส)
ตัวอย่าง 7
น้าร้อนเดือดทีอ่ ณ
ุ หภูมิ 100 C ปริมาตร 400 ลูกบาศก์เซนติเมตร ถ้า
ต้องการให้อณุ หภูมลิ ดลงเหลือ 20 C จงหาว่าจะต้องเติมน้าแข็งลงไปกีก่ รัม
ตัวอย่าง 8
เตาไฟฟ้าเครือ่ งหนึ่งทาให้น้า 0.2 ลิตร 0 C เปลี่ยนไปเป็นไอได้หมด
พอดี จงหาว่าปริมาณความร้อนจานวนนี้ ทาให้ขผี้ ึ้ง 20 C จานวนกี่กรัม
เปลี่ยนเป็นอุณหภูมิ 25 C
(ความจุความร้อนจาเพาะของขีผ้ งึ้ = 8 cal / g„ C )
ตัวอย่าง 9
เมื่อวางน้าแข็ง 0 C มวล 40 กิโลกรัม ทิ้งไว้นาน 4 ชั่วโมง จะเหลือมวล
น้าแข็งเท่าใด ถ้าสิ่งแวดล้อมถ่ายโอนพลังงานความร้อนให้นาแข็
้ งวินาทีละ
10 แคลอรี
ตัวอย่าง 10
นาน้าแข็งที่ 0 C 50 กรัม มาผสมกับไอน้าที่ 100 C 10 กรัม
ผลที่เกิดขึ้นจะเป็นอย่างไร
ตัวอย่าง 11
วัตถุชิ้นหนึ่งมีมวล 1 กิโลกรัม เมื่อให้ความร้อนกับวัตถุนี้ด้วยอัตราคงที่ 1
กิโลจูล/วินาที เป็นเวลา 5 นาที พบว่าอุณหภูมขิ องวัตถุเปลีย่ นจากตอน
เริ่มต้น 100 ํC ไปเป็น 200 ํC จงหาความจุความร้อนจาเพาะของ
วัตถุนี้
ตัวอย่าง 12
ถ้านาน้ามวล 1 กิโลกรัม อุณหภูมิ 20 C ใส่ตู้แช่แข็ง ซึ่งดูดความร้อนได้
วินาทีละ 345 จูล นานเท่าใดทีน่ ้าจานวนนี้จะกลายเป็นน้าแข็งทัง้ หมด
ตัวอย่าง 13
ปริมาณความร้อน 56,000 แคลอรี จะทาให้น้าแข็งหลอมเหลวได้กกี่ รัม
ตัวอย่าง 14
เมื่อให้ไอน้า 10 กรัม 100 C ควบแน่นเป็น 10 กรัม 0 C จะต้องคาย
ความร้อนกีแ่ คลอรี
ตัวอย่าง 15
การลดจานวนอุณหภูมขิ องแอลกอฮอล์ 15 กรัม จากอุณหภูมิ 60 ํC
มาเป็น 30 ํC จะคายความร้อนออกมาจานวนเท่าใด (ความจุความร้อน
จาเพาะของแอลกอฮอล์เป็น 0.8 cal/g„ ํC )
ตัวอย่าง 16
เมื่อนาน้าร้อนมวล 300 กรัม มาผสมกับน้าเย็นมวล 200 กรัม
ที่ 20 C แล้วได้น้าอุณหภูมิ 50 C จงหาอุณหภูมเิ ริม่ ต้นของน้า
ตัวอย่าง 17
ผสมน้าร้อน 90 C กับน้าอุณหภูมิ 25 C มวล 250 กรัม จะต้องใช้น้า
ร้อนกี่กรัมจึงทาให้น้ามีอณ
ุ หภูมิ 40 C

You might also like