You are on page 1of 65

รายวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ความร้อนกับ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การเปลี่ยนแปลงของสสาร
จุดประสงค์การเรียนรู้
อธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง
ความร้อนกับการเปลี่ยน
สถานะของสาร โดยใช้แบบจาลอง
ทบทวนความรู้
จากกิจกรรมในชั่วโมงที่ผ่านมา
สื่อวีดิทัศน์นี้ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น
ขอขอบคุณสื่อวีดิทัศน์
ความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะ
เผยแพร่โดย : คลังความรู้ SciMath
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
ที่มา : https://www.youtube.com/watch?v=7DRDjRtjYSY&t=322s
ที่มา : สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ควบแน่น

การแข็งตัว
ใบความรู้ที่ 1
ความร้อนกับ
การเปลี่ยนอุณหภูมิ
และสถานะของสาร
สามารถดาวน์โหลดใบความรู้และใบงานได้ที่ www.dltv.ac.th
ความร้อนกับการเปลีย่ นอุณหภูมิ
ใบความรู้ที่ 1 และสถานะของสาร
ความร้อนกับการเปลีย่ นอุณหภูมิ
ใบความรู้ที่ 1 และสถานะของสาร
ความร้อนกับการเปลีย่ นอุณหภูมิ
ใบความรู้ที่ 1 และสถานะของสาร
ความร้อนกับการเปลีย่ นอุณหภูมิ
ใบความรู้ที่ 1 และสถานะของสาร
ความร้อนกับการเปลีย่ นอุณหภูมิ
ใบความรู้ที่ 1 และสถานะของสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนอุณหภูมิ
และสถานะของสาร
100

เมื่ อ ให้ ค วามร้ อ นแก่ น้าแข็ ง ซึ่ ง มี ส ถานะ


เป็ น ของแข็ ง อุ ณ หภู มิ ข องน้าแข็ ง จะเพิ่ ม ขึ้ น

จนกระทั่ ง น้าแข็ ง มี อุ ณ หภู มิ 0 องศาเซลเซี ย ส


-30
ซึ่ ง เป็ น อุ ณ หภู มิ ที่ จุ ด หลอมเหลว ของน้าแข็ ง
ความร้อนกับการเปลี่ยนอุณหภูมิ
และสถานะของสาร
ณ อุ ณ หภู มิ นี้ ข องแข็ ง เปลี่ ย นสถานะ
100

เป็ น น้า ซึ่ ง มี ส ถานะเป็ น ของเหลว

โดยอุ ณ หภู มิ ข ณะที่ น้าแข็ ง หลอมเหลว


-30
เป็ น น้าจะ คงที่
ความร้อนกับการเปลี่ยนอุณหภูมิ
และสถานะของสาร
100

เมื่ อ น้าแข็ ง หลอมเหลวเป็ น น้าจนหมดแล้ ว


ยั ง ได้ รั บ ความร้ อ นต่ อ ไป อุ ณ หภู มิ ข องน้า
จะเพิ่ ม ขึ้ น จนถึ ง 100 องศาเซลเซี ย ส
ซึ่ ง เป็ น อุ ณ หภู มิ ที่ จุ ด เดื อ ด ของน้า
0

ณ อุ ณ หภู มิ น้า จะเปลี่ ย นสถานะเป็ น ไอน้า ซึ่ ง มี ส ถานะ


-30
เป็ น แก๊ ส โดยอุ ณ หภู มิ ข ณะที่ น้าเดื อ ดเป็ น ไอน้าจะ คงที่
ความร้อนกับการเปลี่ยนอุณหภูมิ
และสถานะของสาร
100

เมื่ อ น้าเดื อ ดเป็ น ไอน้าจนหมด แล้ ว ยั ง ได้ รั บ ความร้ อ น


ต่ อ ไป อุ ณ หภู มิ ข องไอน้าก็ จ ะเพิ่ ม ขึ้ น
0

-30
ความร้อนกับการเปลี่ยนอุณหภูมิ
และสถานะของสาร
100

เมื่ อ สู ญ เสี ย ความร้ อ น ไอน้าที่ อุ ณ หภู มิ สู ง กว่ า 100 องศา


-30
เซลเซี ย ส จะมี อุ ณ หภู มิ ล ดลง จนถึ ง 100 องศาเซลเซี ย ส
ซึ่ ง เป็ น จุ ด ควบแน่ น ของไอน้า
ความร้อนกับการเปลี่ยนอุณหภูมิ
และสถานะของสาร
100

เมื่ อ สู ญ เสี ย ความร้ อ น ต่ อ ไปอี ก น้าจะมี อุ ณ หภู มิ ล ดลง


จนถึ ง 0 องศาเซลเซี ย ส ซึ่ ง เป็ น จุ ด เยื อ กแข็ ง ของน้า
-30
ความร้อนกับการเปลี่ยนอุณหภูมิ
และสถานะของสาร
100

เมื่ อ สู ญ เสี ย ความร้ อ นต่ อ ไปอี ก


น้าแข็ ง จะมี อุ ณ หภู มิ ต่ากว่ า 0 องศาเซลเซี ย ส
0

-30
ความร้อนกับการเปลี่ยนอุณหภูมิ
และสถานะของสาร

เมื่ อ สสาร ได้ รั บ ความร้ อ น อุ ณ หภู มิ


เพิ่ ม ขึ้ น
สสารมี ก าร
เปลี่ ย นสถานะ
ความร้อนกับการเปลี่ยนอุณหภูมิ
และสถานะของสาร
เมื่ อ สสารได้ รั บ ความร้ อ น การเปลี่ ย นสถานะ

ของแข็ ง ของเหลว จุ ด หลอมเหลว

ของเหลว แก๊ ส จุ ด เดื อ ด


ความร้อนกับการเปลี่ยนอุณหภูมิ
และสถานะของสาร

เมื่ อ สสาร สู ญ เสี ย ความร้ อ น อุ ณ หภู มิ ล ดลง

สสารมี ก าร
เปลี่ ย นสถานะ
ความร้อนกับการเปลี่ยนอุณหภูมิ
และสถานะของสาร
เมื่ อ สสารได้ รั บ ความร้ อ น การเปลี่ ย นสถานะ

แก๊ ส ของเหลว จุ ด ควบแน่ น


ของเหลว ของแข็ ง จุ ด เยื อ กแข็ ง
ความร้อนกับการเปลี่ยนอุณหภูมิ
และสถานะของสาร

จุ ด เดื อ ด จุ ด หลอมเหลว ของสารต่ า งชนิ ด กั น

มี ค่ า แตกต่ า งกั น
ความร้อนกับการเปลี่ยนอุณหภูมิ
และสถานะของสาร
นักเรียนคิดว่าความร้อนที่ทาให้
สารเปลี่ยนสถานะ
? จะเหมือนหรือแตกต่าง
จากความร้อนจาเพาะของสาร
อย่างไร
ใบความรู้ที่ 2

ความร้อนแฝง
สามารถดาวน์โหลดใบความรู้และใบงานได้ที่ www.dltv.ac.th
ใบความรู้ที่ 2 ความร้อนแฝง
ใบความรู้ที่ 2 ความร้อนแฝง
ใบความรู้ที่ 2 ความร้อนแฝง
ใบความรู้ที่ 2 ความร้อนแฝง
ใบความรู้ที่ 2 ความร้อนแฝง
ใบความรู้ที่ 2 ความร้อนแฝง
ใบความรู้ที่ 2 ความร้อนแฝง
ความร้อนแฝง
เมื่อสสารมีการเปลี่ยนสถานะ
ความร้อนทั้งหมดที่สสารได้รับหรือสูญเสียจะถูกใช้ในการเปลี่ยนสถานะ
โดยอุณหภูมิไม่เปลี่ยนแปลง ความร้อนดังกล่าวเป็น
รังสีความ ร้อนและคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

ความร้อนแฝง
(latent heat)
ความร้อนแฝง

อนุภาคของของแข็ง อนุภาคของของแข็ง อนุภาคของของเหลว


สั่นมากขึ้น
ที่มา : สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความร้อนแฝง
ความร้อนที่สสารมวล 1 หน่วย ใช้ในการเปลี่ยน
สถานะจาก ของแข็ง เป็น ของเหลว
ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว
(latent heat of fusion)
ความร้อนแฝง

อนุภาคของของเหลว อนุภาคของของเหลว อนุภาคของแก๊ส


เคลื่อนที่เร็วขึ้น
ที่มา : สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความร้อนแฝง
ความร้อนที่สสารมวล 1 หน่วย ใช้ในการ
เปลี่ยนสถานะจาก ของเหลว เป็น แก๊ส
ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ
(latent heat of vaporization)
หน่วย ความร้อนแฝง
แคลอรี/กรัม

จูล/กิโลกรัม
? คาถาม
นักเรียนคิดว่าน้าแข็งสองก้อน
ขนาดต่างกัน จะใช้เวลา
ในการหลอมเหลวเท่ากัน
หรือไม่ อย่างไร
ความร้อนกับการเปลี่ยนอุณหภูมิ
และสถานะของสาร
ปริมาณความร้อนที่สสารใช้ในการเปลี่ยนสถานะนอกจาก
จะขึ้นอยู่กับความร้อนแฝงของการเปลี่ยนสถานะแล้ว

มวลของสสาร
ยังขึ้นอยู่กับ
ใบงานที่ 2
ความร้อนแฝง
สามารถดาวน์โหลดใบความรู้และใบงานได้ที่ www.dltv.ac.th
ใบงานที่ 2


ใบงานที่ 2


นาเสนอ
ใบงานที่ 2


เมื่ออนุภาคของของเหลวและแก๊สสูญเสียความร้อน
การจัดเรียงอนุภาคจะอยู่ชิดกันมากขึ้น
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคเพิ่มขึ้น
อนุภาคจะเคลื่อนที่ช้าลง
ใบงานที่ 2


ใบงานที่ 2


ใบงานที่ 2
จากข้อมูลในตาราง
เมื่อสสารมวลเท่ากันความร้อน

ในการเปลี่ยนสถานะ
จากของแข็งเป็นของเหลว
จะพิจารณาจากค่า
ความร้อนแฝง
ของการหลอมเหลว
ใบงานที่ 2

สารที่ใช้ความร้อน

ในการเปลี่ยนสถานะ
จากของแข็งเป็น
ของเหลวน้อยที่สุด คือ
ออกซิเจน
ใบงานที่ 2

สารที่ใช้ความร้อน

ในการเปลี่ยนสถานะ
จากของแข็งเป็น
ของเหลวมากที่สุด คือ
แอมโมเนีย
สรุปบทเรียน
สรุปบทเรียน
เมื่อสสารได้รับหรือสูญเสียความร้อน
สสารอาจมีการเปลี่ยนสถานะ
โดยขณะที่สสารเปลี่ยนสถานะ
อุณหภูมิของสสารจะคงที่
สรุปบทเรียน
เมื่อสสารมีการเปลี่ยนสถานะ
การจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหว่าง
อนุภาค และการเคลื่อนที่ของอนุภาค
ของสสารเปลี่ยนแปลงไป
สรุปบทเรียน
ปริมาณความร้อนที่สสารได้รับหรือสูญเสีย
เมื่อสสารมีการเปลี่ยนสถานะ ขึ้นอยู่กับ
ความร้อนแฝงของการเปลี่ยนสถานะ
และมวลของสสาร
บทเรียนครั้งต่อไป
ความร้อนกับการเปลี่ยน
สถานะของสาร (3)
สิ่งที่ต้องเตรียม

ใบงานที่ 3 การคานวณความร้อนเกี่ยวกับ
การเปลี่ยนอุณหภูมิและสถานะของสาร

สามารถดาวน์โหลดใบความรู้และใบงานได้ที่
www.dltv.ac.th

You might also like