You are on page 1of 41

EGME 231 Thermodynamics I

วศคก ๒๓๑ เทอร์โมไดนามิกส์ ๑


3. Pure Substance Behavior
พฤติกรรมของสารบริสุทธิ์

โดย อ.ดร. เจษฎาภรณ์ ปริ ยดากล


ภาควิชาวิศวกรรมเครื่ องกล
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
1
สาเหตุที่ตอ้ งศึกษาเรื่ องพฤติกรรมของสารบริ สุทธิ์?
• พลังงาน (ความร้ อนและงาน) ไม่สามารถจับต้ องได้ ต้ องอาศัยสารทางานเป็ นตัวกลางในการเคลื่อนย้ าย
และเปลี่ยนรูปพลังงาน

• การศึกษาโดยสมมติให้ สารทางานเป็ นสารบริ สทุ ธิ์ เป็ นการศึกษาในแง่ทฤษฎีเพื่อให้ ง่ายต่อการทาความ


ุ สมบัติเบี่ยงเบนไปจากสารบริ สทุ ธิ์
เข้ าใจ ส่วนในความเป็ นจริง สารทางานจะมีคณ

2
3.1 สารบริ สุทธิ์ (The pure substance)
สารบริ สทุ ธิ์ คือ สารที่มีสว่ นประกอบทางเคมีเหมือนกันทัว่ ทังมวลสาร ้ ไม่วา่ จะอยู่ในสถานะเดียว
หรื อ หลายสถานะผสมกัน (เช่น น ้าแข็ง น ้า และไอน ้า รวมอยูใ่ นแก้ วเดียวกัน)
• อากาศในสถานะก๊ าซ มีคณ ุ สมบัติเสมือนเป็ นสารบริ สทุ ธิ์ ทังที
้ ่เป็ นสารประกอบ
• สารบริ สทุ ธิ์ที่อดั ตัวได้ อย่างง่าย (Simple Compressible Substance) – สารบริ สทุ ธิ์ที่งานหรื อความ
ร้ อนมีผลเกี่ยวข้ องกับการเปลี่ยนแปลงปริมาตรเท่านัน้ ไม่เกี่ยวข้ องกับการเปลี่ยนแปลงอื่นๆ เช่น แรงตึงผิว
พลังงานไฟฟ้า สนามแม่เหล็ก ฯลฯ -> ในทางเทอร์โมไดนามิคส์นั้นเราจะพิจารณาสารบริสุทธิ์ตัวนี้
ตัวอย่าง ได้แก่ น้้า, อากาศ, R-134a, แอมโมเนีย
=> รู้คณ ุ สมบัติ 2 ค่า สามารถระบุสภาวะและคุณสมบัติอื่นๆ ทังหมดของสารได้

3
3.2 กระบวนการเปลี่ยนเฟสของสารบริ สุทธิ์
(Phase-Change Processes)
• สถานะ(phase) ของแข็ง (solid),
ของเหลว (liquid)
ไอ (vapor) หรื อ ก๊ าซ (gas)
• กระบวนการเฟสของน ้า (หรื อสารบริสทุ ธิ์ทวั่ ไป) ที่เราสนใจจะมี 2 กระบวนการหลัก
1. การเปลี่ยนแปลงเฟสเมื่อความดันคงที่ (ความสัมพันธ์ของ T-v)
2. การเปลีย่ นแปลงเฟสเมื่ออุณหภูมิคงที่ (ความสัมพันธ์ของ P-v)

4
การเปลี่ยนเฟสของน้ าเมื่อความดันคงที่

V 5
3.2 กระบวนการเปลี่ยนเฟสของสารบริ สุทธิ์
(Phase-Change Processes)
• สถานะของสารที่จดุ ที่ 1 เรี ยกว่า Compressed liquid (ของเหลวอัดตัว) หรื อ Subcooled liquid
(ของเหลวเย็นยิ่ง)
• สถานะของสารที่จดุ ที่ 2 เรี ยกว่า Saturated liquid (ของเหลวอิ่มตัว)
• สถานะระหว่างจุดที่ 2-3 เรี ยกว่า Saturated liquid-vapor mixture หรือ Wet vapor(ส่วนผสมอิ่มตัว)
ในช่วงนี ้จะมีการกาหนดคุณภาพไอ (x)
• สถานะของสารที่จดุ ที่ 3 เรี ยกว่า Saturated vapor (ไออิ่มตัว)
• สถานะของสารที่จดุ ที่ 4 เรี ยกว่า Superheated vapor (ไอร้ อนยวดยิ่ง)

6
3.2 กระบวนการเปลี่ยนเฟสของสารบริ สุทธิ์
(Phase-Change Processes)
• ค่าคุณภาพไอ (Quality) , x คือ สัดส่วนระหว่างมวลของไออิ่มตัว ต่อ มวลของของผสมอิ่มตัว
=> มีคา่ ระหว่าง 0 ถึง 1

ตัวอย่างเช่น ถ้ าถัง มีไอ 0.2 kg ของเหลว 0.8 kg


ดังนัน้ คุณภาพไอ (x) คือ 0.2 [มาจาก 0.2/(0.2+0.8)]
7
3.2 กระบวนการเปลี่ยนเฟสของสารบริ สุทธิ์
(Phase-Change Processes)
• จุดวิกฤติ (Critical Point) คือ จุดสุดท้ ายที่จะเห็นสารในสถานะของเหลวและไอแยกกันอย่างชัดเจน
เพราะเมื่อความดันสูงเกินกว่าความดันวิกฤติไปแล้ ว สารจะอยูใ่ นอีกสถานะหนึง่ ที่เรี ยกว่า พลาสมา
(Plasma) ซึง่ จะไม่ใช่ทงของเหลวและไอ
ั้
• เส้ นโค้ งระฆังคว่าจะถูกแบ่งออกเป็ นสองข้ างด้ วยจุดวิกฤติ
=> เส้ นด้ านซ้ าย เรี ยกว่า เส้ นของเหลวอิ่มตัว (Saturated Liquid Line)
=> เส้ นด้ านขวา เรี ยกว่า เส้ นไออิ่มตัว (Saturated Vapor Line)

8
Saturation Condition
• Saturation temperature , Tsat (อุณหภูมิอิ่มตัว) คือ อุณหภูมิซ่ ึ งไอปรากฎครั้งแรกที่ความดันใดๆ
• Saturation pressure, Psat (ความดันอิ่มตัว)

เนื่องจากช่วงการเปลี่ยนสถานะนี ้ ความดันและอุณหภูมิมีความสัมพันธ์กนั ตัวอย่างเช่น ที่สงู ๆ เช่นบนภูเขา ความ


ดันต่า น ้าจะเดือดที่อณ
ุ หภูมิต่ากว่า 100 ͦC
- น ้าเดือดที่ 100 °c ไม่ถกู ต้ องที่ถกู ต้ องคือ น ้าเดือดที่ 100 °c ความดัน 1 atm
- น ้าเดือดที่ 100 °c เพราะเราให้ ความดันคงที่ที่ 1 atm
- ถ้ าเราเพิ่มความดัน น ้าจะเดือดที่อณ
ุ หภูมิสงู ขึ ้น เช่นที่ 150 °c
เพราะฉะนัน้ ถ้ า fix P -> boiling T ก็จะถูก fixed.

9
3.3 คุณสมบัติอิสระของสารบริ สุทธิ์
(Independent Properties of a Pure Substance)

• สภาวะ (state) ของสารบริ สทุ ธิ์ที่ยบุ ตัวได้ (simple compressible pure substance) จะถูกกาหนด
ด้ วยสมบัติ 2 ค่าที่อิสระต่อกัน ตัวอย่างเช่น
- Superheated vapor: จะกาหนดด้ วยปริมาตรจาเพาะและอุณหภูมิ (v, T) or (v, P) or (P, T)
- Saturated liquid หรื อ Saturated vapor ทังสองสภาวะมี
้ อณุ หภูมิเท่ากันและความดันเท่ากัน
แต่มีสถานะต่างกัน ดังนัน้ อุณหภูมิและความดันไม่ใช่คณ ุ สมบัติอิสระของสารบริ สทุ ธิ์ จะใช้ ระบุสภาวะของสาร
บริ สทุ ธิ์นนไม่
ั ้ ได้ ดังนันในกรณี
้ นี ้อาจใช้ ปริ มาตรจาเพาะและความดัน (v, P) or (v, P) or (x, T) or (x, P)
ช่วยในการระบุสภาวะได้

• ความดัน (P) จะต้ องใช้ ความดันสัมบูรณ์ (absolute pressure) เท่ านัน้ !

10
3.4 กราฟแสดงสมบัติของสารบริ สุทธิ์ ภายใต้กระบวนการการเปลี่ยนสถานะ
(Property diagram for phase change process)

• T-v diagram

- เมื่อความดันเพิ่มขึ ้น จุดเดือดของน ้าจะสูงขึ ้น


- v ที่ Sat. liq (P สูง) > v ที่ Sat. liq (P ต่า)
- v ที่ Sat. vap (P สูง) < v ที่ Sat. vap (P ต่า)

[ปริ มาตรจาเพาะ (v) = V/m]

11
3.4 กราฟแสดงสมบัติของสารบริ สุทธิ์ ภายใต้กระบวนการการเปลี่ยนสถานะ
(Property diagram for phase change process)
• P-v diagram • T-v diagram
เส้น T=const. ที่จะวิ่งลงเมื่อความดันลดลง เส้น P=const. จะมีลักษณะวิ่งขึ้นเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น

12
3.4 กราฟแสดงสมบัติของสารบริ สุทธิ์ ภายใต้กระบวนการการเปลี่ยนสถานะ
(Property diagram for phase change process)

• P-T Diagram for water

จุดไตรภาค (Triple point) เป็ นสภาวะ


ที่เฟสทังสาม
้ คือของแข็ง ของเหลว และไอ
อยูร่ ่วมกันอย่างสมดุลทัง้ 3 เฟส

13
การศึกษาความสั มพันธ์ ระหว่ างคุณสมบัติ 3 ตัวพืน้ ฐานของสารบริสุทธิ์ ได้แก่ ความ
ดัน (P) อุณหภูมิ (T) และปริ มาตรจาเพาะ (v) สามารถแบ่งออกได้เป็ น 3 วิธีใหญ่
1. การใช้ พนื ้ ผิวเทอร์ โมไดนามิกส์ (Thermodynamic Surface)
=> มี 1 พื ้นผิวสาหรับสาร 1 ชนิด
=> บอกคุณสมบัติครบทุกสถานะ ทังของแข็
้ ง ของเหลว ไอ และก๊ าซ
=> ไม่ สะดวกในการใช้ งานจริงและให้ ค่าที่ไม่ แม่ นยา เพราะเป็ นการอ่านค่าจากกราฟ แต่จะเห็นภาพ
ความสัมพันธ์ค่อนข้ างชัดเจน
2. การใช้ สมการสภาวะของสารในสถานะก๊ าซ
=> ใช้ เมื่อสารอยู่ในสถานะก๊ าซเท่ านัน้ ไม่รวมถึงของแข็ง ของเหลว และไอ
3. การใช้ ตารางเทอร์ โมไดนามิกส์ (Thermodynamic Table)
=> มีตาราง 1 ชุดสาหรับสาร 1 ชนิด
=> บอกคุณสมบัติครบทุกสถานะ ทังของแข็
้ ง ของเหลว ไอ และก๊ าซ
=> ใช้ งานได้ สะดวกที่สุดและให้ ค่าที่แม่ นยา จึงนิยมใช้ มากที่สุด

14
3.5 พื้นผิวเทอร์โมไดนามิกส์ (Thermodynamic Surface)

พื ้นผิวเทอร์ โมไดนามิกส์เป็ นพื ้นผิวบนรูปทรง 3 มิติที่มีแกนสามแกนเป็ นคุณสมบัตคิ วามดัน อุณหภูมิ


และปริมาตร ดังนัน้ พื ้นผิวเทอร์ โมไดนามิกส์จงึ แสดงความสัมพันธ์ระหว่างคุณสมบัติทงสามได้
ั้ อย่างชัดเจน
=> มุมมองบนพื ้นผิวเทอร์ โมไดนามิกส์ที่มกั นามาใช้ ช่วยในการวิเคราะห์กระบวนการ
ทางอุณหพลศาสตร์ ได้ แก่ มุมมองระหว่างอุณหภูมิและปริมาตรจาเพาะ (T-v Diagram) และ
มุมมองระหว่างความดันและปริมาตรจาเพาะ (P-v Diagram)

15
3.5 พื้นผิวเทอร์โมไดนามิกส์ (Thermodynamic Surface)

16
3.5 ตารางสมบัติทางอุณหพลศาสตร์
(Tables of Thermodynamic Properties)
• แสดงค่าคุณสมบัติของสารที่สภาวะอุณหภูมิและความดันต่างๆ
• สร้ างจากสมการจากการทดลองที่เหมาะสมในแต่ละช่วงสภาวะ
• รู้คณ
ุ สมบัติ 2 ค่า จะรู้คณ
ุ สมบัติค่าอื่นๆ ที่เหลือ
• เริ่มต้ นศึกษาจากตารางไอนา้ เป็ นอันดับแรก เพราะเป็ นสารทางานพื ้นฐานที่ใช้ มากที่สดุ

17
ตารางไอนา้ (Steam Table)
Saturated liquid จุดวิกฤต Saturated vapor
ตัวห้ อยคือ f ตัวห้ อยคือ g

1. Saturated water
- Table B.1.1 : temperature entry
Compressed liquid Superheated vapor
- Table B.1.2 : pressure entry Wet vapor
ตัวห้ อยคือ fg
2. Superheated water
- Table B.1.3 : T and P
3. Compressed liquid water
- Table B.1.4 : T and P (บางครัง้ สามารถ มักใช้ คณ
ุ สมบัติของ Sat. liq ที่อณ ุ หภูมิเดียวกันแทนเพราะมี
ค่าใกล้ เคียงกัน)

18
ตารางสารทางานอื่นๆ
Ammonia (B2.1 - B2.2)
CO2 (B3.1 - B3.2)
R-410a (B4.1 - B4.2)
R-134a (B5.1 – B5.2)
Nitrogen (B6.1 – B6.2)
Methane (B7.1 – B7.2)
จะพบว่ามีแค่ตารางสารอิ่มตัว(Saturated table) และสารไอร้ อนยวดยิ่ง (Superheated table)
ไม่ มีตารางสารเหลวอัดตัว(Compressed liq. table) ดังนัน้ ถ้ ามีสารอยูใ่ นสถานะ Compressed liquid ที่
ต้ องหาคุณสมบัติ ให้ ใช้ คณ
ุ สมบัติของสารเหลวอิ่มตัว (Saturated table) ที่อณ
ุ หภูมิเดียวกันแทน

19
ปริ มาตรจาเพาะของสารในสถานะของผสมอิม่ ตัว
(Specific Volume of a Wet Vapor)
Vg

Vf

20
Phase Check: P-v diagram

21
Phase Check

22
Example.1
จงบอกสถานะของน ้าที่สภาวะต่อไปนี ้ พร้ อมทังวาด
้ P-v และ T-v Diagram
(a) 120 ͦC , 500 kPa
(b) 120 ͦC , 0.5 m3/kg

23
Solution. 1

(a) 120 ͦC, 500 kPa (b) 120 ͦC , 0.5 m3/kg

(a.1) จากตารางน ้าอิ่มตัว (saturated water) B.1.1 จากตารางน ้าอิ่มตัว (saturated water) B.1.1
ที่ T = 120 ͦC -> Psat = 198.5 kPa ที่ T = 120 ͦC -> ค่า v อยู่ระหว่าง
ดังนัน้ น ้ามีสถานะเป็ น Compressed liquid (ของเหลวอัดตัว) vf = 0.001060 m3 /kg และ vg = 0.89186 m3 /kg
(เพราะมีความดันสูงกว่าความดันอิ่มตัวที่อณ
ุ หภูมิที่สนใจ)
ดังนัน้ น ้ามีสถานะเป็ น Wet vapor (ของผสมระหว่าง
(a.2) จากตารางน ้าอิ่มตัว (saturated water) B.1.2 ของเหลวอิ่มตัวและไออิ่มตัว)
ที่ P = 500 kPa -> Tsat = 151.86 ͦC
v = vf + x vfg
ดังนัน้ น ้ามีสถานะเป็ น Subcooled liquid (ของเหลวเย็นยิ่ง) x = (0.5 – 0.001060) / (0.89186 – 0.001060)
(เพราะมีอณ ุ หภูมิต่ากว่าอุณหภูมิอิ่มตัวที่ความดันที่สนใจ)
= 0.56

24
Example.2
แอมโมเนียที่สภาวะ 30 ͦC, 1,000 kPa มีปริมาตรจาเพาะเท่าใด

Solution. 2
แอมโมเนียที่สภาวะ 30 ͦC, 1,000 kPa เป็ น Superheated vapor
จากตารางไอร้ อนยิ่งยวดของแอมโมเนีย Table.B.2.2
ได้ v = 0.13206 m3 /kg

25
Example.3
ภาชนะปิ ดอันหนึง่ บรรจุสาร R-134a ไว้ ภายใน มีสว่ นที่เป็ นของเหลวอิ่มตัว 0.1 m3 และส่วนที่เป็ นไออิ่มตัว
0.9 m3 อยูใ่ นสภาวะสมดุลที่อณุ หภูมิ 30 ͦC จงคานวณหาเปอร์ เซ็นต์โดยมวลของส่วนที่เป็ นไออิ่มตัว

26
Solution. 3
จากตารางอิ่มตัวของ R-134a (Table B.5.1) ที่ 30 ͦC

27
Example 4
น ้าที่สภาวะ 200 kPa, 0.99 m3 /kg มีอณ ุ หภูมิเท่าใด
Solution 4
น ้าที่สภาวะ 200 kPa, 0.99 m3 /kg เป็ นไอร้ อนยิ่งยวด (Superheated vapor)
จากตารางไอร้ อนยิ่งยวดของน ้า ที่ 200 kPa ทาการประมาณค่าในช่วง (Interpolation)
เพื่อหาค่าของอุณหภูมิที่ตรงกับค่าปริมาตรจาเพาะ 0.99 m3 /kg

T − 150 0.99 − 0.95964


=
200 − 150 1.08034 − 0.95964

T = 162.576 ͦC
28
Example 5
ภาชนะที่ทาด้ วยวัสดุแข็งเกร็ง (Rigid Container) อันหนึง่ บรรจุไอแอมโมเนียอิ่มตัว ที่อณ
ุ หภูมิ
20 ͦC ไว้ ภายใน ต่อมามีการให้ ความร้ อนแก่ระบบจนกระทัง่ อุณหภูมิเพิ่มขึ ้นเป็ น 40 ͦC
จงหาว่าความดันสุดท้ ายของระบบมีคา่ เท่าใด

29
Solution 5
ภาชนะที่ทาด้ วยวัสดุแข็งเกร็งจะมีปริ มาตรคงที่ ในขณะเดียวกัน มวลของระบบนี ้คงที่ด้วย ดังนัน้ จะได้ วา่
กระบวนการนี ้เป็ นกระบวนการ v คงที่
ทีส่ ภาวะเริ่ มต้ น จากตารางอิ่มตัวของแอมโมเนีย (Table B.2.1) ได้ v = vg @ 20 ͦC = 0.14922 m3 /kg
ทีส่ ภาวะสุดท้ าย แอมโมเนียมีอณ ุ หภูมิสงู ขึ ้น จะมีสถานะเป็ นไอร้ อนยิ่งยวด
จากตารางไอร้ อนยิ่งยวด (Table B.2.2) ของแอมโมเนียที่ 40 ͦC

30
Example 6 น้ า 5 kg มี อุณหภูมิ 150 ͦC มีปริ มาตรจาเพาะ 0.20 m3/kg น้ าอยูใ่ น
สภาวะใด และมีพลังงานภายในเท่าไร

31
การประมาณค่าในช่วง (Interpolation)
Linear interpolation กรณีที่สภาวะที่เราต้ องการหาของสารไม่ตรงพอดีกบั ค่าที่มีในตาราง เราต้ องใช้ วิธี
ประมาณค่า โดยสมมุติวา่ ในช่วงนันมี
้ การเปลี่ยนแปลงเป็ นเส้ นตรง

32
การประมาณค่านอกช่วง (Extrapolation)
ใช้ ในกรณีที่คา่ คุณสมบัติที่ต้องการทราบอยูน่ อกเหนือจากตาราง
จากภาพคือกรณีที่ไม่มีคา่ x3 และ y3 ในตาราง

33
3.6 สมการสภาวะของสารบริ สุทธิ์ ที่อดั ตัวได้อย่างง่ายในสถานะก๊าซ
(The ideal-gas equation of state)
• ก๊ าซอุดมคติ (Ideal Gas) – ก๊ าซที่มีความหนาแน่นต่า และไม่มีแรงระหว่างโมเลกุล
• สมการคุณสมบัติของก๊ าซอุดมคติ

P = Absolute Pressure (kPa)


T = Absolute Temperature (K)

34
3.6 สมการสภาวะของสารบริ สุทธิ์ ที่อดั ตัวได้อย่างง่ายในสถานะก๊าซ
(The ideal-gas equation of state)
• สภาวะที่สามารถถือได้ วา่ ก๊ าซมีคณ
ุ สมบัติใกล้ เคียงก๊ าซอุดมคติ
- ความดันต่ากว่าความดันวิกฤติมากๆ (P <<< Pc)
=> ความดันต่ามาก ไม่ต้องคานึงถึงอุณหภูมิวา่ จะเป็ นเท่าใด
- อุณหภูมิสงู กว่าสองเท่าของอุณหภูมิวิกฤติ (T > 2Tc) และความดันต่ากว่าความดันวิกฤติ 4 ถึง 5
เท่า

35
3.6 สมการสภาวะของสารบริ สุทธิ์ ที่อดั ตัวได้อย่างง่ายในสถานะก๊าซ
(The ideal-gas equation of state)
• ถ้ าไม่ ใช่ ก๊าซอุดมคติ (T < 2Tc และ P ไม่ต่ามาก) ต้ องใช้ สมการก๊ าซอุดมคติที่มีการแก้ ไข หรื อใช้ วิธีอื่นเช่น
- ค่าตัวประกอบการอัดตัว (Compressibility Factor, Z)
Pv = ZRT
=> ค่า Z ชี ้ว่า ก๊ าซจริงเบี่ยงเบนไปจากความเป็ นก๊ าซอุดมคติเท่าใด
=> ค่า Z หาได้ จากกราฟในหน้ าถัดไป

36
3.6 สมการสภาวะของสารบริ สุทธิ์ ที่อดั ตัวได้อย่างง่ายในสถานะก๊าซ
(The ideal-gas equation of state)
P T
PR  and TR 
Pcr Tcr

เมื่อ Pcr และ Tcr คือค่า P และ T ที่จุดวิกฤติ


(ตาราง A.2)

37
3.6 สมการสภาวะของสารบริ สุทธิ์ ที่อดั ตัวได้อย่างง่ายในสถานะก๊าซ
(The ideal-gas equation of state)
- สมการของเบเนดิกต์-เว็บบ์-รูบิน (Benedict-Webb-Rubin Equation) – เหมาะกับ
ก๊ าซที่มีความหนาแน่น 2 เท่าของความหนาแน่นวิกฤติ

RT RTB0  A0  C0 / T 2 RTb  a a c     / v 2
P    6  3 2 1  2  e
v v 2
v3 v vT  v 

• Eight empirical constants (given in App. D)


• Difficult to use; only for computer programs
• More practical: use table e.g. the steam table in App. B

38
Example 7
มวลของอากาศในห้ องขนาด 6 m x 10 m x 4 m มีคา่ เท่าใด ถ้ าความดันมีคา่ เท่ากับ
100 kPa และอุณหภูมิอากาศเท่ากับ 25 ͦC

Solution 7

39
Example 8
ถังปริมาตร 0.5 m3 บรรจุก๊าซชนิดหนึง่ ที่มีมวลโมเลกุล 24 g/mol ปริมาณ 10 kg ถ้ า
อุณหภูมใิ นถังเท่ากับ 25 ͦC ก๊ าซในถังจะมีความดันเท่าไร
Solution 8

40
Textbooks
• Gordon J.Van Wylan & Richard E.Sonntag, Fundamentals of Classical
Thermodynamics, 5th Edition 1998 (or other editions)
• Yonus A.Cengel & Michael A Boles, Thermodynamics- An Engineering Approach,
2nd Edition 1994 (or other editions)
• ตาราอุณหพลศาสตร์ เล่มอื่นๆ

41

You might also like