You are on page 1of 37

FULL-LAB REPORT

รายงานก่อนทำการทดลอง
Unit Operations Laboratory II (2306452)

การทดลอง E
เครื่องระเหย (Evaporator)

ผู้ควบคุมปฏิบัติการ
คุณ สุพจน์ พุทธวงศ์

ผู้ทำการทดลอง
นาย จักรภัทร แย้มทิม 5932907823
นาย พัชรพล นกโพธิ ์ 5932943323
นาย ภาณุศร กลึงสุวรรณชัย
5932950723
นาย รณัน ศตชัยวิรุจน์
5932952023
กลุ่มที่ 2 พฤหัสบดี

วันกำหนดส่ง วันศุกร์ ที่ 27 กันยายน พ.ศ.2562


วันทำการทดลอง วันพฤหัสบดี ที่ 19 กันยายน พ.ศ.2562

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
การเพิ่มความดันในระบบ ทำให้อัตราการระเหยลดลง เนื่องจากโมเลกุล
ของของเหลวจะระเหยได้ จะต้องมีพลังงานจลน์มากพอที่จะเอาชนะแรงยึด
เหนี่ยวระหว่างโมเลกุลและแรงกดบนผิวหน้าของของเหลว ถ้าความดัน
บรรยากาศสูงแรงกดบนผิวหน้าของของเหลวจะมาก โมเลกุลที่มีพลังงานจลน์
มากพอจะมีจำนวนน้อย ของเหลวจึงระเหยได้ช้าหรืออัตราการระเหยลดลง

  การกลายเป็ นไอ (Vaporization) หมายถึง การที่ของเหลวเปลี่ยน


สถานะกลายเป็ นไอ เมื่อของเหลวได้รักพลังงานความร้อนพอที่จะทำให้
โมเลกุลมีพลังงานจลน์สูงพอจนเอาชนะแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลได้
โมเลกุลก็จะหลุดออกจากของเหลวกลายเป็ นไอ ในทางตรงกันข้ามถ้าไอคาย
พลังงานความร้อนออกมา โมเลกุลก็จะมีพลังงานจลน์น้อยลง ทำให้โมเลกุล
เคลื่อนที่ช้าลง ทำให้เกิดแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลมากขึน
้ และในที่สุดจะ
สามารถทำให้โมเลกุลรวมกันเป็ นสารในสถานะของเหลว การที่สารเปลี่ยน
สถานะจากไอหรือแก็สเป็ นของเหลว เรียกว่า การควบแน่น หรือการกลั่นตัว
(Condensation)
   
      การระเหย (Evaporation) หมายถึง การที่ของเหลวเปลี่ยนสถานะจาก
ของเหลวกลายเป็ นไออย่างช้าๆ และเกิดขึน
้ เฉพาะผิวหน้าของของเหลว
เท่านัน
้ นอกจากนัน
้ การระเหยยังสามารถเกิดได้ทุกๆ อุณหภูมิที่ยังมีของเหลว
นัน
้ อยู่ เช่น น้ำสามารถระเหยได้ที่อุณหภูมิ 0-100 ๐ C ที่ความดัน 1
บรรยากาศ

 
การใช้ทฤษฎีจลน์อธิบายปรากฏการณ์การระเหย

       จากทฤษฎีจลน์ โมเลกุลของของเหลวเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา และเกิด


การชนกันเอง ในการชนโมเลกุลของของเหลวจะมีการถ่ายเทพลังงานให้แก่
กัน ภายหลังการชน บางโมเลกุลของของเหลวจะมีพลังงานจลน์น้อยลง และ
บางโมเลกุลมีพลังงานจลน์เพิ่มขึน
้ ถ้าโมเลกุลที่มีพลังงานจลน์เพิ่มขึน
้ อยู่ที่ผิว
หน้าของของเหลวหรือสารรถเคลื่อนที่มาอยู่ที่ผิวหน้าได้ และสามารคเอาชนะ
แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลก็จะหลุดออกจากผิวหน้าของของเหลวกลายเป็ นไอ
ซึ่งเรียกว่า การระเหย เนื่องจากโมเลกุลที่มีพลังงานจลน์สูงกลายเป็ นไอ จึง
ทำให้พลังงานจลน์เฉลี่ยของของเหลวลดลง ของเหลวก้อจะดูดพลังงานจากสิ่ง
แวดล้อมเข้ามาแทนที่พลังงานที่เสียไปกับโมเลกุลที่กลายเป็ นไอ และการ
ระเหยเป็ นปรากฏการณ์ซึ่งเกิดขึน
้ ไดทัง้ อุณหภูมิสูงและอุณหภูมิต่ำ ตัวอย่าง
เช่น เมื่อเทเอทิลแอลกอฮอล์ใส่มือจะรู้สึกเย็น ทัง้ นีเ้ พราะว่าเอทิลแอลกอฮอล์
มีจุดเดือดต่ำระเหยได้ง่าย จึงดูดพลังงานความร้อนจากมือเราไปช่วยในการ
ระเหย ทำให้มือเราเย็นลง

สรุปได้ว่า ความดันบรรยากาศ
           - ที่ความดันบรรยากาศสูง ของเหลวจะระเหยได้ยาก จึงระเหยได้
น้อย
           - ที่ความดันบรรยากาศต่ำ ของเหลวจะระเหยได้ง่าย จึงระเหยได้
มาก
   
ในสภาวะความดันบรรยากาศทั่วไป ( ระดับน้ำทะเล ) น้ำจะระเหยที่
อุณหภูมิที่ 100ᵒc แต่ในที่ความดันต่ำกว่าบรรยากาศ น้ำระเหยในอุณหภูมท
ิ ี่
ต่ำกว่า 100 c°  หลังจากเครื่องระเหยข้นในระบบสุญญากาศเครื่องแรกถูก
คิดค้นขึน
้ ก็ได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ปั จจุบันมีเครื่องระเหยข้นหลากหลาย
รูปแบบ เช่นแบบ Batch pan, Rising film, Falling film

หลักการทำงาน
         การระเหยของเหลวด้วยเครื่องระเหยข้นแบบฟิ ล์มบาง Falling film
evaporator ใช้ ปั จจัยหลัก 3 อย่างในการระเหยข้น
1. ลดความดัน
ใช้เครื่องปั๊ มสูญญากาศ Vacuum pump ในการสร้างแรงดันสูญญากาศ
ภายในเครื่อง เมื่อไอระเหยมาควบแน่นที่ถังควบแน่น condenser จะยิ่งเพิ่ม
แรงสูญญากาศ ทำให้สามารถระเหยน้ำได้ที่อุณหภูมิต่ำ 40-60°c
2. เพิ่มพื้นที่แลกเปลี่ยนความร้อน
ถังอุ่น Pre-heater และ ถังระเหย Evaporator ภายในเป็ นท่อ Shell and
tube จำนวนมาก เพิ่มพื้นที่แลกเปลี่ยนความร้อนให้มีการแลกเปลี่ยนที่
ประสิทธิภาพสูง
การทดลอง E
เครื่องระเหย (Evaporator)

ตัวแปรในการทดลอง

ตัวแปรต้น
- Pressure Vacuum = -0.6, -0.70 barg (5.88,
4.41 psig)
ตัวแปรตาม
- ผลของความเข้มข้นที่เปลี่ยนแปลง
- ปริมาณของ Product
- ปริมาณของ Distillate
- ปริมาณของ Condensate
- ลักษณะการเกิด Climbing Film
- ปริมาณความร้อนที่ Steam ให้แก่สารละลาย (Qsteam)
- ปริมาณความร้อนที่สารละลายใช้ในการระเหย (Qsolution)
- ปริมาณความร้อนที่สูญเสีย (Qloss)
- Overall Heat Transfer Coefficient (U)
- Steam economy
- Efficiency

ตัวแปรควบคุม

- ชนิดของสารละลาย = น้ำตาล
- ความเข้มข้นเริ่มต้นของสารละลาย = 5 % brix
- Pressure steam (เข้า effect และ preheat) = 2 barg
- เวลาในการทำ preheat = 25 นาที
- Pressure cooling water = 0.3 barg
- เวลาในการทดลองแต่ละรอบแบบ Single effect = 8 นาที
- อัตราการไหลของสารละลายที่ป้อนให้ระบบ

สมมติฐาน

1. เมื่อลดความดันภายใน effect ทำให้ความต่างของความดันภายใน


effect เพิ่มขึน
้ ส่งผลให้จุดเดือดของสารละลายต่ำลง ดังนัน
้ climbing
flim สมบูรณ์เกิดเร็วขึน

2. Distillate จะมีปริมาณเพิ่มขึน
้ เมื่อทำการลดความดันภายใน effect
เนื่องจากจุดเดือดของสารจะลดลง ส่งผลให้เกิดการระเหยง่ายยิ่งขึน

ทำให้ปริมาณ distillate เพิ่มขึน

3. Product จะมีปริมาณลดลง เมื่อลดความดันภายใน effect เป็ นผลที่
เกี่ยวเนื่องกับข้อที่ 2 หากเราป้ อนสารเท่าเดิมจะทำให้ปริมาณ
product ลดลง ตามสมการ Mass Balance ดังนี ้ Feed = Distillate
+ Product
4. Q solution จะมีค่าลดลง เมื่อลดความดันภายใน effect เนื่องจากสารมี
จุดเดือดต่ำลง ตามสมการ
Qsolution = mFCp(Tb – Tf) + mvλ
5. Q steam transfer จะมีค่าลดลง เนื่องจาก Q solution มีค่าลดลง เมื่อลดความ
ดันภายใน effect ตามสมการ
Q steam transfer = Q solution + Q loss
6. Condensate จะมีปริมาณลดลง เมื่อลดความดันภายใน effect
เนื่องจากสารมีจุดเดือดต่ำลงและเกิดปริมาณไอ ( mv ) ระเหยขึน
้ ไป
มากขึน
้ ทำให้สารใช้ความร้อนในการกลายเป็ นไอเพิ่มขึน
้ ตามสมการ
Qsolution = mFCp(Tb – Tf) + mvλ ดังนัน
้ sat steam จึงเปลี่ยนเป็ น
condensate ได้มากขึน

7. Heat loss จะไม่เปลี่ยนแปลง เมื่อลดความดันภายใน effect เนื่องจาก
ปริมาณของ steam เท่าเดิม และ steam ไหลผ่านท่อชนิดเดียวกัน
ขนาดเท่ากัน ที่อุณหภูมิบรรยากาศเดียวกัน
8. สัมประสิทธิก์ ารถ่ายโอนความร้อนรวมจะมีค่าเท่าเดิม เมื่อลดความดัน
ภายใน effect เนื่องจาก Qsolution เพิ่มขึน
้ และ Tsteam – Tboiling point
ก็เพิ่มขึน
้ ตามไปด้วย (เพราะว่า boiling point มีค่าตํ่าลง) ตามสมการ
Qsol
U=
A( T s−T b)

9. เมื่อลดความดันภายใน effect ประสิทธิภาพการถ่ายโอนความร้อน จะ


ไม่เปลี่ยนแปลงเนื่องจาก Qsolution เพิ่มขึน
้ เช่นเดียวกันกับ Qsteam transfer
้ ตามไปด้วยตามสมการ Efficiency = Qsolution/Qsteam transfer x
ที่เพิ่มขึน
100%
10. Steam economy จะมีเท่าเดิม เมื่อลดความดันภายใน effect
ผลมาจากสมมติฐานข้อที่ 2 และ 5 (Distillate มีค่าสูงขึน
้ และ
Condensate มีค่าสูงขึน
้ เช่นกัน ตามสมการ
ṁDistillate
%Steam Economy= x 100
ṁCondensate

11. ความเข้มข้นของ Product จะมีค่าสูงขึน


้ เมื่อลดความดันภายใน
effect ตามสมมติฐานข้อที่ 3 คือปริมาตรของ Product จะมีค่าลดลง
เนื่องจากตัวทำละลายระเหยออกไป แต่ปริมาณเนื้อสารยังเท่าเดิม
ตามสมการ Concentration = ตัวถูกละลาย (Mass of sugar) / ( ตัว
ทำละลาย + ตัวถูกละลาย (Total Volume))

เครื่องมืออุปกรณ์และสารเคมี

1. ชุดอุปกรณ์เครื่องระเหยชนิด Single Effect และ Double Effect


2. เทอร์โมมิเตอร์ 1 อัน
3. นาฬิกาจับเวลา 1 เรือน
4. Hand refractometer
5. กระบอกตวงพลาสติก 1000 ml 1 กระบอก
6. กระบอกตวงแก้ว 100 ml 1 กระบอก
7. บีกเกอร์แก้วขนาด 250 ml 3 ใบ
8. บีกเกอร์แก้วขนาด 1000 ml 2 ใบ
9. บีกเกอร์พลาสติก ขนาด 1000 ml 1 ใบ
10. หลอดทดลองที่ใช้ 6 หลอด และที่ตงั ้ หลอดทดลอง 1 อัน
11. ถังน้ำพลาสติก 2 ถังถังละ 10 L
12. ดรอปเปอร์ 1 อัน
13. สารละลายน้ำตาล ความเข้มข้น 5 %brix 60 ลิตร (น้ำตาล 3 kg น้ำ
57 kg)
14. ถุงมือกันความร้อน 2 คู่
15. แว่นตากันไอสารเคมี 2 อัน
16. เครื่องชั่งน้ำหนัก
17. สีผสมอาหาร
วิธีการทดลอง
ตอนที่ 1 Evaporator แบบ Single Effect

1. เช็คเครื่องและวาล์วทุกตัว ตามวิธี Operate ข้อที่ 1


2. เช็คไลน์ของเครื่อง
- เช็ค safety valve ของระบบ vacuum
- เช็ค safety valve ของระบบ steam
- เช็คไลน์ feed
3. Feed สารละลายเข้า vessel
4. เปิ ดเครื่อง vacuum แบบ single effect ตามวิธี Operate ข้อที่ 3
5. ปรับความดัน vacuum ให้มีค่าความดันเท่ากับ -0.60 barg โดยให้ดู
ค่าที่ PI 4 (ปิ ดวาล์วของสายสุญญากาศและปรับวาล์วที่ควบคุมความดัน
สุญญากาศ)
6. ปรับความดัน steam ให้มีค่าเท่ากับ 2.0 barg โดยการควบคุมวาล์ว
PVC1
7. ทำการ preheat สารละลายประมาน 40 นาที ตามวิธี Operate ข้อที่
4
8. ปรับวาล์วของ Cooling water FCV4 และควบคุมแรงดันน้ำไว้ที่ 0.3
barg หลังจาก preheat 22 นาที
9. เปิ ด steam เข้า effect ที่เวลาที่ 25 นาที ตามวิธี Operate ข้อที่ 6
อุ่น effect 2 นาที
10. Feed สารละลายเข้าระบบและปรับอัตราการไหลของสารละลาย
โดยเทียบจาก Scale Rotameter 8 พร้อมกับบันทึกอุณหภูมิ TI4, TI5
ทุก ๆ 1 นาที จนครบ 15 นาที
11. เมื่อเครื่อง evaporator เริ่มเดือดปรับ FCV1 เพื่อให้ระดับ
ของเหลวคงที่ไปตลอดการทดลอง
12. เมื่อถึงสภาวะคงที่แล้วซึ่งดูได้จากการเกิด Climbing Film มี
Distillate และค่าควบคุมคงที่เริ่มทำการจับเวลา บันทึกค่าอุณหภูมิ
(TI4, TI5) ความดัน (PI1, PI4) และอัตราการไหล (FI1)
13. หลังจากเริ่มจับเวลา 10 วินาที ให้ทำการเก็บตัวอย่างของ feed
จากเครื่องส่วนที่ preheater
14. เมื่อจับเวลาได้ 6 นาที 30 วินาที ให้บันทึกอุณหภูมิของ
condensate อุณหภูมิ ความดัน และอัตราการไหลที่เครื่องควบคุม
จากนัน
้ ปิ ดวาล์ว VI5 เพื่อกัก Distillate บันทึกอุณหภูมิ TI7 TI8 และ
เก็บตัวอย่างของ Product
15. เมื่อถึงเวลา 8 นาที บันทึกค่าอุณหภูมิ (TI4, TI5) ความดัน (PI1 ,
PI4) และอัตราการไหล(FI1)
16. วัดปริมาตรของ Product และ Distillate แล้วนำไป drain ขึน

vessel feed
17. หลังทำการทดลองเสร็จ นำตัวอย่างที่เก็บไว้มาวัด % brix โดยใช้
Hand Refractometer
18. ทำการทดลองซ้ำ โดยปรับ Pressure Vacuum เป็ น -0.75

Timeline
ตรวจเช็ควาล์วทุกเตรี
ตัวทีย่เมสารละลาย
ชื่อมกับ
อากาศภายนอกให้อยู่ในตำแหน่
30 ง
ปิ ดเพื่อความปลอดภัยในการ Calibrate Rotameter

ทดลองและป้ องกันไม่ให้เกิดจุดรั่ว
ไหล (กรณีเป็ นสุญญากาศแล้ว
30

วัด flowrate น้ำหล่อ


10
min

10 เช็คไลน์ของเครื่องและเช็ควาล์ว
min ที่จำเป็ นต้องเปิ ดเพื่อที่จะดูด
เปิ ดระบบ Vacuum P= - 0.60
barg 5

10
เปิ ด steam ให้ความ
min
ร้อนเข้า preheat P
20

30mi

25

เปิ ดระบบ Cooling Pcooling =


3min
2

นับถอยหลัง 10

เริ่มปิ ดวาล์ว V16 และ ใช้บีกเกอร์เก็บ steam


10

เมื่อเสร็จการ
ปิ ดวาล์วของสาย feed, steam จับเวลา 10 นาที เพื่อปิ ด cooling
เข้า effect,
10
min
ปิ ดก๊อก cooling water ตาม
ด้วยวาล์ว ของ cooling water

ทำความสะอาดเครื่อง ปิ ด
Drain สารละลายที่คา้ งอยู่

20 สรุปเวลาในการทำการทดลอง
วัดความเข้มข้นของสาร min RUN 1 : ( เวลา 11.00 - 12.00
น.)
30 วัด flowrate น้ําหล่อเย็น + 10
min นาที : ตรวจเช็ควาล์วและไลน์ของ
เครื่อง + 50 นาที : ทําระบบ
END vacuum & preheat + 2 นาที :
อุ่น effect +15 นาที : feed สาร
เข้าระบบ และรอให้เกิด climbing
film อย่างสมบูรณ์ + 5 นาที เช็ค
ค่าต่างๆให้คงที่ + 8 นาที : จับ
เวลาทําการทดลอง = 100 นาที
โดยประมาณ
RUN 2 : ( เวลา 12.00 – 12.30
น.) ตรวจเช็ควาล์วและไลน์ของ
แผนผังการทดลอง

ศึกษาการทำงานของระบบ Single effect

1. เตรียมสารละลายน้ำตาล 5 % brix 30 นาที ผู้รับผิดชอบ กลุ่ม 2


วันพฤหัส

2. วัด flow rate ของน้ำหล่อเย็นที่แรงดันน้ำ 0.3 barg 10 นาทีผู้รับผิดชอบ

3. ศึกษารายละเอียดเดี่ยวกับอุปกรณ์และส่วนประกอบต่าง ๆ ของเครื่อง เส้น


ทางการไหลของสารละลาย และตรวจเช็ควาล์วทุกตัวที่เชื่อมต่อกับอากาศภายนอก

4. เริ่มต้นทำการรันระบบแบบ single effect เปิ ดระบบสุญญากาศที่ความดัน -0.60


barg 10 นาที ผู้รับผิดชอบ สมาชิกทัง้ กลุ่ม

5. เปิ ด steam เข้าระบบ preheat 6. เปิ ด น้ำหล่อเย็นที่ flow rate


ปรับค่าความดันเป็ น 2.0 barg 0.3 barg หลังจาก preheat ผ่านไป 20
ทำการ preheat 25 นาที ผู้รับผิด นาที

ชอบ ภาณุศร พัชรพล (ผู้สังเกต) ผู้รับผิดชอบ รณัน จักรภัทร


7. ทำการอุ่น effect โดยการเปิ ด steam เข้า effect หลังจาก preheat ผ่านไป

8. ทำการปรับอัตราการไหลของสารละลายไว้ที่ scale 8 ของ rotameter ผู้รับผิด

9. บันทึกลักษณะ Climbing film และบันทึกค่าอุณหภูมิ TI.4 TI.5 ทุกๆ 1 นาที


เมื่อของไหลเคลื่อนที่สมบูรณ์เป็ นเวลา 15 นาที ผู้รับผิดชอบ รณัน ภาณุศร

10. สังเกตระดับสารละลายในหม้อ product ถ้าใกล้ถึงจุดวิกฤตให้ส่งสัญญาณให้

11. บอกให้ทุกคนประจำตำแหน่งของตัวเอง ผู้รับผิดชอบ ภาณุศร

12. เช็คค่าต่างๆ ณ จุดของแต่ละคนว่ายอมรับได้หรือไม่ (Steady state หรือไม่)


ตำแหน่งเก็บ ตำแหน่งแผง ตำแหน่งหม้อ ตำแหน่งเก็บ
condensate ควบคุม distillate Product
(ด้านหลัง) (ด้านหน้า) (ด้านข้าง) (ด้านข้าง)
ถามคนอื่นว่า temp, ช่วงที่นับ 10-0 จดค่า ช่วง 10-0 ปิ ด valve สังเกตระดับสารละลาย
pressure, flow rate อัตราการไหล (F11) ในหม้อ Product ถ้าถึง
คงที่หรือไม่ ถ้าคงที่ให้ ความดัน (PI1, PI4)
หลัง 10 วินาที อ่าน จุดวิกฤตให้ส่งสัญญาณ
สัญญาณคนอื่นแล้วนับ

ใช้บีเกอร์เก็บ steam หลัง 10 วินาที เก็บ ช่วง 10-0 เก็บ


ปิ ด valve 15 และ product โดยปิ ด
condensate และจุ่ม sample
ค่อยๆ เปิ ด release
thermometer ทิง้ ไว้
ปิ ด V12 ดูดอากาศ
บันทึกเวลาที่ยังไม่เกิด ควบคุม pressure, หมุน valve drain
เปิ ด release valve
Climbing film และ flow rate ตลอด 8 สาร
V13 เปิ ด V43 นำ
เวลาในการเกิด สารละลายออกจาก
ทำหม้อกลับเป็ น
vacuum และเปิ ด ทำหม้อกลับเป็ น
วัด temp
วาล์ว V16 โดยปิ ด vacuum โดยเปิ ด
condensate นาที่ที่
วาล์ว drain และ
6.30 และนาทีที่ 7.30
นาทีที่ 7.50 เก็บ
นาทีที่ 7.50 จดค่า นาทีที่ 7.50 ปิ ด product โดยปิ ด
นาทีที่ 7.50 นับเวลา อัตราการไหล (F11) valve V16 อ่านค่า
ถอยหลัง 10-0 เพื่อ ปิ ด valve (vacuum)
ความดัน (PI1, PI4)
ปิ ด valve 15 และ เปิ ด release valve
นาทีที่ 8 เปลีย
่ นบีก ค่อยๆ เปิ ด release V13 เปิ ด V43 นำ
เกอร์กลับไปเป็ นถังรอง สารละลายออกจาก
หมุน valve drain
สาร
ใช้กระบอกตวงวัด ทำหม้อกลับเป็ น
ทำหม้อกลับเป็ น vacuum โดยเปิ ด
ปริมาตร
vacuum และเปิ ด
นำกระบอกตวงไปให้ เก็บ sample และวัด วัดปริมาตร distillate ปิ ด V12 ดูดอากาศเปิ ด
คนข้างหน้าวัด ปริมาตร product ที่ drain ออกมาและ release valve V13 เปิ ด
V43 นำสารละลายออก

ทำหม้อกลับเป็ น

หยุดเวลาเมื่อครบ 8 นาที หรือกรณีไม่เกิด Climbling film ให้หยุดเวลาเมื่อ


สารละลายในหม้อ product ใกล้เต็มผู้รับผิดชอบ รณัน

13. ในกรณีหยุดพัก ปิ ดวาล์วสาย feed สาย steam และ cooling water 3 นาที

14. นำ product และ distillate drain กลับเข้าไปใน vessel ผู้รับผิดชอบ

15. เริ่มทำการทดลองใหม่ตงั ้ แต่ข้อ 4 โดยใช้ Pressure Vacuum เป็ น -0.70 barg

16. ทำความสะอาดเครื่อง ปิ ดระบบ และวิจารณ์ผล 1 ชม. 45 นาที ผู้รับผิดชอบ


วิธีการ Operate เครื่อง Evaporator

1.ก่อนการเดินเครื่อง
ให้ตรวจเช็ควาล์วทุกตัวที่ต่อเชื่อมกับอากาศภายนอกให้อยู่ใน
ตำแหน่งปิ ดโดยหมุนให้ไปทางด้านเปิ ดแล้วหมุนกลับมาให้อยู่ทางด้านปิ ด
ให้สนิท

2.ตรวจสอบการทำงานของระบบ (Checking Line)

3.การเปิ ดระบบสุญญากาศ (Vacuum System)


3.1 ทำการเปิ ดวาล์วต่างๆที่เกี่ยวข้องกับระบบ Vacuum
- เปิ ด V15 V16 และ ปิ ด V14
- เปิ ด V12 V9 V8 V33 และปิ ด V6, และ V13
- ปิ ดวาล์ว PCV2 ให้สุด
- เปิ ด V18
3.2 ปิ ดวาล์ว FCV1 เพราะเมื่อเปิ ดปั๊ มจะทำให้ feed ถูกดูดเข้า
ระบบอย่างรวดเร็ว
3.3 เปิ ด Vacuum Pump
3.4 กรณีต้องการลดความดันสุญญากาศ ค่อยๆเปิ ดวาล์ว PCV2
โดยดูที่ Pressure gauge PI4 จนได้
ความดันสุญญากาศเป็ น -0.7 bar

4.การเปิ ดระบบความร้อนสำหรับการ Preheat

ทำเมื่อเสร็จสิน
้ การทำระบบสุญญากาศ
4.1. เปิ ด PCV1 ไว้สุด
4.2. ปิ ดวาล์ว V19, V20, V21
4.3. ที่ระบบ Preheat เปิ ดวาล์วทางออก V22 และ V24 และวาล์ว
By-pass (V23) ที่ Steam Trap และเอาถังมารองที่ Condensate
4.4. เปิ ดวาล์ว V19 เห็นทองเหลืองนิดหน่อย
4.5. ค่อยๆเปิ ดวาล์วจ่ายไอน้ำ จากท่อหลัก จนกระทั่งเห็นไอ
steam ผ่านออกและปิ ดวาล์ว bypass
4.6. ค่อยๆเปิ ดวาล์ว Regulator โดยดูที่ Pressure gauge P11 ให้
ระวังการเกิด Water Hammer ที่ระบบท่อ รอจนความดันที่ P11
ได้ตามต้องการ
4.7. ต้องรอให้วน Loop ได้ 12 รอบ (ประมาณ 20-25 นาที)

5.การเปิ ดระบบน้ำหล่อเย็น
5.1. เปิ ดก๊อกน้ำนอกห้อง
5.2. ต่อสายยางน้ำหล่อเย็นเข้ากับวาล์ว FCV4
5.3. ค่อยๆเปิ ดวาล์ว FCV อย่างช้า ๆ ระวังค่อยๆไล่ฟองอากาศใน
ระบบออกโดยไม่ให้ Pressure GaugeFCV4 สูงเกินไป (ไม่ควรเกิน
0.5 barg) ให้ได้ 0.3 barg

6.การเปิ ดระบบให้ความร้อน Effect


 สำหรับ Single Effect
6.1. ระบบ Single Effect ให้เปิ ดวาล์วที่ Steam Trap โดยเปิ ด
V28, V29 และต้องเปิ ดวาล์ว V10
6.2. ทำการเปิ ดวาล์วจ่ายไอน้ำ V21 พร้อม V31 รอจนทางออกของ
Steam Trap เห็นไอจึงปิ ด V29
6.3. ปรับความดัน Steam ให้คงที่ที่ต้องการใช้
6.4. ขัน
้ ตอนการ Feed Single
6.4.1. เปิ ด V3 ดู Flow rate จาก Rotameter ให้ได้ขีด 8 จน
กระทั่งเกิด Climbing film, Condensate ออกมาเป็ นไอน้ำ
 สำหรับ Double Effect
6.5. ระบบ Double Effect ให้ตรวจดูว่า V21 อยู่ในตำแหน่งปิ ด
ปิ ด V31 เปิ ด V32 ค่อยๆเปิ ด V18
และ เปิ ด V5 จากนัน
้ เปิ ด V25 V26 (by pass) V28 V32 และเปิ ด
วาล์วไอน้ำ V20 รอจนไอน้ำออกจากทางออก column ที่ 1 ให้ปิด
วาล์ว V26
6.6. เมื่อหยุดการใช้งานปิ ดวาล์ว PCV1 แล้วเปิ ดวาล์ว by pass
ของ steam trap ทุกตัว (เปิ ด V23 V26 V29 รอจนไอน้ำหมด
ความดันในระบบ เปิ ดน้ำหล่อเย็นต่อไปอีกประมาณ 10 นาที)

7.การ Drain สารละลาย


7.1 การ Drain Product
ปิ ดวาล์ว V12,V9 ค่อยๆเปิ ดวาล์ว V13 รอจน Vessel เข้าสู่
ความดันบรรยากาศ นำถังมารองและเปิ ด V43 เมื่อเสร็จแล้วจึง
ปิ ด V43,V13 แล้วเปิ ด V12,V9 เพื่อกลับเข้าสู่บรรยากาศตาม
เดิม
7.2 การ Drain Distillate
ปิ ดวาล์ว V15,V16 ค่อยๆเปิ ด V14 รอจน Vessel เข้าสูค
่ วาม
ดันบรรยากาศ นำถังมารองและเปิ ด V42 เมื่อเสร็จแล้วจึงปิ ด
V42,V13 แล้วเปิ ด V15,16 เพื่อกลับเข้าสู่บรรยากาศตามเดิม

8.การทำความสะอาดระบบ
8.1. ให้ทำการถ่ายของเหลวออกจากเครื่องให้หมดโดยการเปิ ด
V37 V38 V39 V40 V24 และช่วยระบายอากาศด้วยการเปิ ด V44
V48 เมื่อระบบระบายของเหลวหมดแล้วปิ ดวาล์วที่กล่าวมาข้างต้น
8.2. ทำการเติมน้ำสะอาดเข้าสู่ระบบและดำเนินการเดินเครื่องปกติ
ด้วยน้ำสะอาด เมื่อระบบสะอาดแล้วให้ระบายน้ำออก และเปิ ด
วาล์วทุกตัวที่อยู่ในตำแหน่งของการระบายเพื่อให้เครื่องแห้ง และไม่
เกิดตะไคร่น้ำ

9.การปิ ดเครื่อง
9.1 ปิ ด Feed , ปิ ด steam ที่ Effect , ปิ ด Steam ที่ Preheat
9.2 เมื่อหยุดระบบสุญญากาศให้ปิดปั๊ ม Vacuum และปิ ดวาล์ว
PCV2 เล็กน้อยค่อยๆเปิ ด V14 ให้ได้ยินเสียงลมเข้าและรอจนกว่า
ระบบเข้าสูส
่ มดุล ( ถึง gauge ที่ P14 กลับมาเป็ น 0 )
9.3 เมื่อหยุดการใช้งานปิ ดวาล์ว PCV1 แล้วเปิ ดวาล์ว bypass ของ
Steam trap ทุกตัว ( เปิ ด V23,V26,V29 รอจนไอน้ำหมดความดัน
ในระบบ )
9.4 เปิ ดน้ำหล่อเย็นต่อไปอีก 10 นาที หลังจากปิ ด Steam จึงปิ ด
วาล์ว
9.5 ปิ ดระบบน้ำหล่อเย็นโดยปิ ด FCV4 แล้วจึงปิ ดก๊อกน้ำ

10. การสุ่มตัวอย่าง
10.1 สุ่มตัวอย่าง Feed: วัดความเข้มข้นสารละลายก่อนระเหย
10.1.1 นำบีกเกอร์ 250 mL จำนวน 2 บีกเกอร์ มาใช้ในการ
Drain สารละลายออกจากด้านล่างของ Preheater
10.1.2 นำบีกเกอร์ 250 mL อีกหนึ่งใบมารองสารละลายจาก
ด้านล่างของ Preheater ประมาณไม่น้อยกว่า 20 mL
10.1.3 นำสารละลายในบีกเกอร์เทใส่หลอดทอดลองให้เต็ม
หลอด
10.1.4 นำสารละลายที่ Drain ออกมาไปเทรวมที่ถัง Feed
เพื่อนำกลับมาใช้ใหม่

10.2 สุ่มตัวอย่าง Product: วัดความเข้มข้นสารละลายหลังการ


ระเหย
10.2.1 นำบีกเกอร์ 250 mL มาสุ่ม Product หลังจากที่ Drain
ออกจาก Receiver ประมาณไม่น้อยกว่า 20 mL
10.2.2 เทสารละลายใส่หลอดทดลองให้เต็มหลอด
10.2.3 นำสารละลายส่วนที่เหลือในบีกเกอร์เทกลับใส่ถัง
Product เพื่อนำไปใช้ในการวัดปริมาตร
ข้อมูลการทดลอง

Outside Diameter ของ Tube นอก ที่ column = 34


mm
Inside Diameter ของ Tube นอก ที่ column (Schedule 40) =
27 mm
ความยาว Tube ที่ column = 1.2 m
Flow rate Cooling Water ที่แรงดัน 0.3 barg = 27.66
L/min
Steam Pressure ที่ Preheat = 2 barg
Steam Pressure ที่ Effect = 2 barg
Vacuum Pressure = -0.6, -0.7 barg
Preheat time = 25 min

Steam temperature (วัดด้วยเครื่องวัดอุณหภูมืที่ผิวท่อ) = 124 C
จำนวนรอบของ Preheat = 11 รอบ
Feed Flow Rate ของ สารละลายน้ำตาล = 0.87
L/min

ตารางบันทึกจำนวนรอบของการ Preheat

เวลาที่เกิด 1 รอบ (min)


รอบที่
Single effect 1 st
1 3.50
2 6.23
3 8.48
4 11.08
5 13.16
6 15.29
7 17.25
8 19.25
9 20.59
10 22.37
11 24.21
12
13
14
15
ตารางบันทึกค่าอุณหภูมิ Feed หลังการทำการ Preheat
Run 1: Vacuum Pressure = -0.60 barg (single effect)

Time TI4 (˚C) TI5 (˚C)


(min)
0 31 31
1 31 60
2 32 65
3 39 62
4 48 62
5 51 78
6 54 80
7 58 81
8 60 81
9 62 80
10 63 81
11 65 80
12 66 80
13 67 80
14 68 80
15 68 80
ตารางบันทึกข้อมูลการทดลอง
Run 1: Vacuum Pressure = -0.60 barg

Feed Flow Rate ของ สารละลายน้ำตาล = 0.87


L/min

Single effect
เริ่มต้นเก็บ สิน
้ สุด
ข้อมูล การ ค่าเฉลี่ย
( 0 min ) เก็บ
รายการ
เกิด/ เวลา ข้อมูล
ไม่เกิด (8
min )
1. Single Phase / -
2. Sub Cooled / 4.05
Flow Boiling
นาทีที่ 3. Bubbly Flow / 4.22
เกิด 4. Churn Flow / 4.40
Climbin 5.1 Annular Flow / 4.55
g film ลั ตอนปลาย
กษณะ 5.2 Annular Flow / 7.00
ต่าง(นาที) ตอนกลาง
5.3 Annular Flow x -
ตอน ¾ ท่อ
6. Annular Flow x -
ทัง้ ท่อ
TI. อุณหภูมิของสารละลายก่อนเข้า 69 74 71.5
nd o
4 2 Effect ( C)
TI. อุณหภูมิของ Distillate ออกจาก 80 82 81
nd o
5 2 Effect ( C)
PI. Steam Pressure ที่ effect 1.8 2 1.9
1 (barg)
PI. Vacuum Pressure (barg) -0.6 -0.6 -0.6
4
FI. Feed flow rate ของสารละลาย 7.5 7.6 7.55
1 น้ำตาล (Scale)
o
TI. อุณหภูมิน้ำหล่อเย็นขาเข้า ( C) 31 31 31
7
o
TI. อุณหภูมิน้ำหล่อเย็นขาออก ( C) 31.5 31.5 31.5
8
TI. อุณหภูมิของ Steam 83
nd
6 Condensate จาก 2 Effect
o
( C)
V. ปริมาตรของ product (ml) 4,300
1
V. ปริมาตรของ distillate ออกจาก 48
nd
3 2 effect (ml)
V. ปริมาตรของ condensate ออก 1,000
nd
5 จาก 2 effect (ml)
C. ความเข้มข้นของ feed (%brix) 4.9
1
C. ความเข้มข้นของ product 4.9
2 (%brix)
∆C ความเข้มข้นที่เปลี่ยนแปลง 0
(%brix)
ความดันน้ำหล่อเย็นที่ 0.3
Condenser (barg)

Run 2: Vacuum Pressure = -0.70 barg

Feed Flow Rate ของ สารละลายน้ำตาล = 0.87


L/min

Single effect
เริ่มต้นเก็บ สิน
้ สุด
ข้อมูล การ ค่าเฉลี่ย
( 0 min ) เก็บ
รายการ
เกิด/ เวลา ข้อมูล
ไม่เกิด (8
min )
1. Single Phase
2. Sub Cooled
Flow Boiling
นาทีที่ 3. Bubbly Flow
เกิด 4. Churn Flow
Climbin 5.1 Annular Flow
g ตอนปลาย
film ลักษ 5.2 Annular Flow
ณะ ตอนกลาง
ต่าง(นาที) 5.3 Annular Flow
ตอน ¾ ท่อ
6. Annular Flow / 2.18
ทัง้ ท่อ
TI. อุณหภูมิของสารละลายก่อนเข้า 72 75 73.5
nd o
4 2 Effect ( C)
TI. อุณหภูมิของ Distillate ออกจาก 74 76 75
nd o
5 2 Effect ( C)
PI. Steam Pressure ที่ effect 1.9 2.1 2.0
1 (barg)
PI. Vacuum Pressure (barg) -0.7 -0.7 -0.7
4
FI. Feed flow rate ของสารละลาย 7.5 7.7 7.6
1 น้ำตาล (Scale)
o
TI. อุณหภูมิน้ำหล่อเย็นขาเข้า ( C) 31.5 31.5 31.5
7
o
TI. อุณหภูมิน้ำหล่อเย็นขาออก ( C) 32.5 32.5 32.5
8
TI. อุณหภูมิของ Steam 81
nd
6 Condensate จาก 2 Effect
o
( C)
V. ปริมาตรของ product (ml) 3,800
1
V. ปริมาตรของ distillate ออกจาก 229
nd
3 2 effect (ml)
V. ปริมาตรของ condensate ออก 980
nd
5 จาก 2 effect (ml)
C. ความเข้มข้นของ feed (%brix) 4.7
1
C. ความเข้มข้นของ product 5
2 (%brix)
∆C ความเข้มข้นที่เปลี่ยนแปลง 0.3
(%brix)
ความดันน้ำหล่อเย็นที่ 0.3
Condenser (barg)

ตารางบันทึก Error Time

Single effect Single effect


run1 run2
เริ่มหาย กลับ ∆ เริ่มหาย กลับมา ∆
มา
(s) (s) (s) (s) (s)
(s)
Effec 154 285 131 120 223 10
t2 3
ตารางบันทึกเวลาที่ใช้จริงในการเก็บข้อมูล (เวลาที่ใช้ในการเก็บข้อมูล
–Error Time)

Single effect
Run1 (s) Run2 (s)
349 377

การหา Volume Flow Rate ( V̇ )

Single effect Run 1 Single effect Run 2


V V (ml)
V̇ V̇ V̇ V̇

(ml) (ml/s) (L/min) (ml/s) (L/min)


ปริมาตร Product (ml) 4,30 12.32 0.74 3,800 10.08 0.60
0
ปริมาตร Distillate ออก
st
จาก 1 effect (ml)
ปริมาตร Distillate ออก 48 0.14 0.008 229 0.61 0.036
nd
จาก 2 effect (ml)
ปริมาตร Condensate
st
ออกจาก 1 effect
(ml)
ปริมาตร Condensate 1,00 2.86 0.17 980 2.60 0.16
nd
ออกจาก 2 effect 0
(ml)

ผลการทดลอง
ตารางการเปรียบเทียบผลการทดลองที่ Pressure Vacuum ต่างกัน
ข้อมูล Vacuum Pressure
- 0.60 - 0.70 barg
barg
อัตราของ Condensate (L/min) 0.17 0.16
อัตราของ Distillate (L/min) 0.008 0.036
อัตราของ Product (L/min) 0.74 0.60
ผลของความเข้มข้นที่เปลี่ยนแปลงไป (%brix) 0 0.3
ปริมาณความร้อนที่สารละลายใช้ในการระเหย:
54.06 94.95
Qsolution (kW)
ปริมาณความร้อนที่ steam ให้แก่สารละลาย:
394.21 359.36
Qsteam (kW)
ปริมาณความร้อนที่สูญเสีย: Qloss (kW) 340.14 264.41
Overall Heat Transfer Coefficient: U 11.16 17.20
2
(kW/m .K)
% Efficiency 13.71 26.42
% Steam Economy 4.93 23.94

ภาคผนวก
ตัวอย่างการคำนวณ
ความหนาแน่น (ρ), ค่าความจุความร้อน (Cp), Enthalpy และ Heat of
vaporization สามารถค้นได้จาก
http://www.sugartech.co.za/heatcapacity/index.php ใช้
หาความจุความร้อนของสารละลายซูโครส 5 %brix ที่อุณหภูมิต่าง ๆ
http://www.sugartech.co.za/density/index.php ใช้้หาความ
หนาแน่นสารละลายซูโครส 5 % brix ที่อุณหภูมิต่าง ๆ
http://www.peacesoftware.de/einigewerte/wasser_dampf_e
.html ใช้หาคุณสมบัติของน้ำ และไอน้ำ คือ ความหนาแน่น เอนทาลปี
และค่าความร้อนของการกลายเป็ นไอ

การคำนวณ Single effect


Sucrose
solution @ Water & Steam
5%brix
Data
TI4 TI5 TI8 Ts TI6 TI5
o o o o
@71. @81 @31 @124 @83 @81
o o
5C C C C C C
990. 995. 969.
Density: ρ (kg/m3) 996.1 - -
7 30 89
Specific Heat Capacity:
4.09 4.09 - - - -
Cp [kJ/kg.K]
Heat vaporiztion of 2482 2482
- - - -
water: λ [kJ/kg] .81 .81
2711.
Steam enthalpy [kJ/kg] - - - - -
69
347.
Water enthalpy [kJ/kg] - - - - -
54

Mass balance: FfeedρTI4 = FproductρTI5 + FdistillateρTI8


0.87(996.1)/1000 = 0.60(990.7)/1000 +
0.0083(995.30)/1000
0.8666 kg = 0.73238 kg
|0.8666-0.73238|
%error = 0.8666
x100 = 14.54 %
c p@TI4 + c p@TI5
Energy calculation: Qsolution = FfeedρTI4( 2 )

(TI5-TI4) + FdistillateρTI8λTI5
4.09+4.09
= 0.87(996.1)( 2 )(81 – 71.5) /
1000 +
0.036(995.30)(2482.81)/1000
= 54.06 kJ/s
Qsteam = FcondensateρTI6(hv@Ts- hL@TI6)
= 0.16(969.89)(2711.69-
347.54)/1000
= 394.21 kWJ/s
Qloss = Qsteam - Qsolution
= 394.21– 54.06
= 340.15 kJ/s
Ai -Ao
Overall heat transfer coefficient: As = ln(
Ai
)
A
π d 2i /4- π d 2o /4
= π d 2i /4
ln( 2 )
π d o /4
π 0.0272 /4- π 0.0332 /4
= ln(
π 0.0272 /4
)
π 0.0332 /4
2
= 0.11 m
U = Qsolution/As(Ts-TI5)
= 54.06/0.11(124-81)
2
= 11.16 kW/m .K
Efficiency:%Eff = Qsolution/Qsteam x100
= 54.06/357.63 x100
= 13.71 %
Steam economy: % Steam economy =
FdistillateρTI8/FcondensateρTI6 x100
0.036(995.30)/1000
= 0.16(969.89)/1000 x 100

= 4.93 %

เอกสารอ้างอิง

- ตำราฝึ กอบรมผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน (ผชพ) ด้านความร้อน. บท


ที่ 2 กลศาสตร์ของไหลเบื้องต้น. เข้าถึงได้จาก
www2.dede.go.th เมื่อวันที่ 5 กันยายน 2562.
- ไม่ปรากฏนามผู้แต่ง. อัตราการไหลและการวัดปริมาณน้ำ. เข้าถึงได้
จาก mall.factomart.com/flow-meter/ เมื่อวันที่ 5 กันยายน
2562.

You might also like