You are on page 1of 56

1

การทดลองที่ 1 แรงเสียดทานในการไหล 
(Fluid Friction) 
 
วัตถุประสงค์ 
1. เพื่อศึกษาความเสียดทานและความดันลด ที่เกิดจากการเคลื่อนที่
ของของไหลภายในท่อที่มีการต่อข้อต่อและวาล์วแบบต่างๆ 
2. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างค่า Reynolds Number กับค่า
ความสูญเสียหลักและรอง ผ่านค่า Friction factor และ KL 
 
ทฤษฎี 
แรงเสียดทาน คือ แรงที่ต้านการเคลื่อนที่ ของพื้นผิวสองอย่างที่สัมผัสกัน
มักจะเกิดตรงข้ามกับแรงที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่เสมอ ผิวหน้าสัมผัส จึงช่วย
ลดแรงเสียดทานได้ โดยขนาดของแรงเสียดทานจะมากหรือน้อย ขึน
้ อยู่
กับ 
 แรงหรือน้ำหนักที่กดลงไปบนพื้นผิวสัมผัส ซึ่งแรงนีจ
้ ะตัง้ ฉากกับผิว
สัมผัส ถ้าแรงกดทับนีม
้ าก แรงเสียดทานก็จะมีค่ามากด้วย 
 ลักษณะของผิวสัมผัสนัน
้ ๆ ถ้าผิวสัมผัสนัน
้ เรียบลื่น แรงเสียดทานก็
จะมีค่าน้อย ถ้าผิวสัมผัสหยาบหรือขรุขระ แรงเสียดทานก็จะมีค่ามาก 
แรงเสียดทานสามารถแบงไดเปนประเภทใหญๆ 3 ประเภทดังนี ้
1.  Dry Friction แรงเสีย ดทานประเภทนีเ้ กิด ขึน
้ เมื่อ มีก ารสัม ผัส กัน
ของผิวของแข็งซึ่งไมเรียบ และ มีการเคลื่อนที่สัมพัทธกัน หรือมีแนว
โนมที่จะเคลื่อนที่สัมพัทธ์กัน ทิศทางของแรงเสียดทานจะตรงกัน   ขา
มกับ ทิศการเคลื่อนที่ หรือ ทิศ ที่มีแนวโน มจะเคลื่อนที่ แรงเสียดทาน
ชนิดนีเ้ รียกอีกอยางหนึ่งวา Coulomb friction 
2

2.  Fluid Friction เกิด เมื่อ แต ล ะชัน


้ ของอนุภาคของไหล (ของเหลว
หรือ ก า ซ) เคลื่อ นที่ส ัม พัท ธ ก ัน แรงเสีย ดทานประเภทนีข
้ น
ึ ้ อยู ก ับ
ความเร็วของของไหล  และความหนืดของของไหล แรงเสียดทานชนิด
นีม
้ ีความสําคัญอยางมากในการศึกษาวิชากลศาสตรของไหล 
3.  Internal Friction แรงเสียดทานประเภทนีเ้ กิด ขึน
้ ในของแข็ง ทุก
ชนิด ซึ่งรับแรงแบบเปนคาบกลับไป  
กลับมา (Cyclical loading) ตัวอยางแรงเสียดทานประเภทนีค
้ ือการสั่น
สะเทือ นของของแข็ง ซึ่ง จะสูญ เสีย พลัง งานไปทุก ๆรอบของการ
สั่น ทําใหขนาดการสั่นสะเทือนลดลงจนกระทั่งหยุดนิ่ง 
 
การไหลภายในท่อ  
จากการทดลองของ Reynold พบว่า การไหลในท่อ จะมีล ัก ษณะ
การไ ห ล ขึน
้ อย ู่ก ับ กล ุ่ม ตัว แ ป รไ ร้ม ิต ิท ี่เ รีย ก ว่า  Reynold number,
Re โดยที่ก ารไหลที่ Re ต่ำๆ ลัก ษณะของ Streamline จะเรีย งตัว กัน
อย่างเป็ นระเบียบ ซึ่งเรียกการไหลแบบนีว้ ่า  Laminar flow เมื่อ Re มีค่า
สูงมากขึน
้ ลักษณะการไหลจะเปลี่ยนไปกล่าวคือ  ลักษณะของ Stream
line มีลักษณะยุ่งเหยิง ซึ่งเรียกการไหลในช่วงนีว้ ่า Turbulent flow 
โดยค่า Reynolds’ number, Re สามารถหาได้จากความสัมพันธ์ดังนี ้  
Re= ρVavgDh/μ = VavgDh/υ
 

เมื่อ
ρ

 : ความหนาแน่นของของไหล 
μ
: ความหนืดของของไหล (Viscosity) 
υ

 : Kinematic Viscosity 
3

Dh

 : Hydraulic Diameter 
จากการทดลองพบว่าในสภาวะไหลในท่อ( Internal flow) แบบปกติทั่วๆ
ไป 
เมื่อค่า RE < 2300 ลักษณะการไหลเป็ นแบบ laminar  
2300< RE < 4,000 ลักษณะการไหลอยู่ในช่วง transition  
RE > 4,000 ลักษณะการไหลเป็ นแบบ turbulent  

ในกรณีท่อไม่กลม(non-circular pipe)กำหนดค่า hydraulic
diameter, Dh ด้วยความสัมพันธ์ 
Dh = 4Ac/p
  

Ac: พื้นที่ภาคตัดของของไหล 
p: ความยาวเส้นรอบรูปส่วนที่เปี ยก (wetted perimeter)  
4

 
 การสูญเสียจากการไหลภายในทอ 
การไหลในท่อมักเกิดการสูญเสียความดันขึน
้ เสมอตลอดระยะการ
ไหล การสูญเสียดังกล่าวเกิดขึน
้ จากหลายกรณี เช่น การเปลี่ยนแปลง
ความสูงของการไหล การเปลี่ยนแปลงหน้าตัดการไหล ความหนาแน่น
และความหนืดของของไหล ความฝื ดของผนังท่อซึ่งส่งผลให้การไหลปั่ น
ป่ วน เป็ นต้น การจะขับดันของไหลให้เคลื่อนตัวจากต้นทางไปยังตำแหน่ง
ปลายทางที่ต้องการนัน
้ วิศวกรต้องทราบการสูญเสียดังกล่าวทัง้ หมด
ตลอดเส้นทางการไหนนัน
้ เสียก่อน จึงจะสามารถออกแบบและเลือก
ขนาดของเครื่องสูบที่เหมาะสมมาใช้งานได้ การวิเคราะห์การสูญความดัน
ในท่อเนื่องจากการไหล โดยพื้นฐานทั่วไปอาศัยสมการพลังงานของ
กลศาสตร์ของไหล ดังนี ้
 

โดยเลขกำกับ 1 และ 2 หมายถึงตำแหน่งต้นทางและปลายทางตาม


ลำดับ  
V คือความเร็วเฉลี่ยของของไหล   
ρ คือความหนาแน่น  
z คือระยะสูงจากจุดอ้างอิง  
hL คือการสูญเสียรวมที่เกิดขึน
้  ; hL = ΣhL,major + ΣhL,minor 
สำหรับในกรณีที่ท่อมีพ้น
ื ที่หน้าตัดคงที่และวางอยู่ในแนวระดับ การสูญ
เสียคำนวณได้จาก 
5

 
การสูญเสียความดันสามารถแบงได 2 ประเภท คือ 
1. Major Losses (hL,major) เกิดขึน
้ เนื่องจากแรงเสียดทานภายในทอ 
• การไหลแบบราบเรียบ (Laminar Flow) 

ในกรณีการไหลแบบราบเรียบ การสูญเสียเนื่องจากความดันเขียนไดดัง
สมการ 

• การไหลแบบปบปวน (Turbulent Flow) 


ในกรณีการไหลแบบปนปวน การสูญเสียเนื่องจากความดันเขียนไดดัง
สมการ 

 
ค่า f หาได้จาก Moody Chart หรือ Colebrook Equation 

Colebrook Equation:       
Moody Chart: 
6

 
 
2. Minor Losses (hL,minor) เกิดจากการที่ของไหลไหลผานสิ่งกีดขวาง
ตาง ๆ ตัวอยางเชน Gate Valve, 
Elbow ทอที่มีพ้น
ื ที่หนาตัดไมคงที่และทางแยกตาง ๆ Minor Losses คํา
นวณไดจากสมการ 

โดยที่ KL คือ loss coefficient 
7

 
ตาราง ค่า KL ของตัวอย่างวาล์วและข้อต่อแบบต่างๆ 
Type of Component or Fitting  Minor Loss Coefficient 
( KL) 
Tee, Flanged, Dividing Line Flow  0.2 
Tee, Threaded, Dividing Line Flow  0.9 
Tee, Flanged, Dividing Branched 1.0 
Flow 
Tee, Threaded , Dividing Branch 2.0 
Flow 
Union, Threaded  0.08 
Elbow, Flanged Regular 90o  0.3 
Elbow, Threaded Regular 90o  1.5 
Elbow, Threaded Regular 45o  0.4 
Elbow, Flanged Long Radius 90o  0.2 
Elbow, Threaded Long Radius 90o  0.7 
Elbow, Flanged Long Radius 45o  0.2 
8

Return Bend, Flanged 180o  0.2 


Return Bend, Threaded 180o  1.5 
Globe Valve, Fully Open  10 
Angle Valve, Fully Open  2 
Gate Valve, Fully Open  0.15 
Gate Valve, 1/4 Closed  0.26 
Gate Valve, 1/2 Closed  2.1 
Gate Valve, 3/4 Closed  17 
Swing Check Valve, Forward Flow  2 
Ball Valve, Fully Open  0.05 
Ball Valve, 1/3 Closed  5.5 
Ball Valve, 2/3 Closed  200 
Diaphragm Valve, Open  2.3 
Diaphragm Valve, Half Open  4.3 
Diaphragm Valve, 1/4 Open  21 
Water meter  7 
 
ประเภทของวาล์ว 
1.  Gate valve  

 
9

เป็ นวาล์วชนิดที่ใช้กันแพร่หลายมากที่สุดตัวหนึ่ง  (ช่างอาจเรียกวาล์ว


ตัว นีว้ ่า "ประตูน ้ำ") ตัว อย่า งการใช้ง าน ได้แ ก่ มิเ ตอร์น ้ำประปาหน้า
บ้าน ซึ่งก่อนเข้ามิเตอร์น้ำประปาหน้าบ้านจะต้องติดตัง้  gate valve เพื่อ
ที่จะได้ถอดมิเตอร์ออกได้ ในกรณีที่จะต้องมีการเปลี่ยนหรือซ่อมมิเตอร์ 
โครงสร้างของวาล์วนัน
้ จะมีส่วนที่เป็ นแผ่นจาน (disk หรือ gate) ที่มี
ขนาดใหญ่กว่าขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของท่อเล็ก น้อ ย เลื่อ นขึน
้ -ลงใน
ทิศทางที่ตงั ้ ฉากกับทิศทางการไหล เมื่อวาล์วอยู่ในตำแหน่งปิ ด แรงดัน
ของของไหลทางด้าน upstream จะดันตัว disk ให้ไปยันกับตัว body ข
องวาล์วที่อยู่ทางด้าน downstream เป็ นการปิ ดผนึกไม่ให้ของไหลไหล
ผ่านไปได้ 
ข้อดีของ gate valve คือมีความกว้าง (วัดในทิศทางการไหล) ไม่มาก
ใช้พ้น
ื ที่ในการติดตัง้ น้อย ค่าความดันลด (pressure drop) คร่อมวาล์วต่ำ
มากเมื่อวาล์วเปิ ดเต็มที่ เหมาะสำหรับงานประเภทปิ ด-เปิ ด วาล์วชนิดนี ้
ไม่เ หมาะสำหรับ ใช้ในการควบคุม การไหลเพราะความสัมพัน ธ์ระหว่า ง
ระยะที่วาล์ว เปิ ดกับ อัต ราการไหลนัน
้ ไม่ด ี (กล่า วคือ บางช่ว งวาล์ว ขยับ
เพียงเล็กน้อยจะมีอัตราการไหลเปลี่ยนแปลงเยอะ แต่บางช่วงวาล์วขยับ
ไปเยอะแต่อัตราการไหลเปลี่ยนเพียงเล็กน้อย) และไม่เหมาะกับการเปิ ด
หรี่หรือเปิ ดเพียงเล็กน้อย (crack opening) เช่นหมุน hand wheel เพีย
งแค่ไม่ถึง 1 รอบ เพียงแค่ร้ส
ู ึกว่ามีของไหลเริ่มไหลผ่านก็หยุดหมุน (รู้ได้
โดยจะมีเ สีย งเกิด ขึน
้ เมื่อ มีข องไหลไหลรอดผ่า นช่อ งเปิ ดเล็ก ๆ ที่อ ยู่
ระหว่า งใต้แ ผ่น จานกับ  seat ring ข้า งล่า ง) เพราะในขณะที่ว าล์ว เปิ ด
เพียงเล็กน้อยนัน
้ ของไหลจะไหลผ่านด้วยความเร็วที่สูงมาก และมีความ
ดัน ที่ต ่ำ (pressure head เปลี่ย นไปเป็ น velocity head) จะทำให้ต ัว
แผ่นจานเกิดการสั่นอย่างรุนแรงจนสามารถทำให้ตัวแผ่นจานหรือ  seat ข
10

องตัว body เองเกิดการสึกหรอได้ ซึง่ จะทำให้ไม่สามารถปิ ดวาล์วได้สนิท


อีกต่อไป 
 
 
2. Globe valve 

เป็ นวาล์วที่ออกแบบมาเพื่อใช้ควบคุมอัตราการไหลของของไหล
ตัวอย่างการใช้งานวาล์วประเภทนีไ้ ด้แก่ก๊อกน้ำที่ใช้กันอยู่ในบ้าน
หรือในห้องน้ำทั่วไปที่เป็ นแบบหัวหมุนได้หลายรอบ (ไม่ใช่แบบที่มี
ก้านเปิ ด-ปิ ดที่บิดไปเพียง 90 องศา ซึ่งแบบนีเ้ ป็ น ball valve)  
จากรูปจะเห็นได้ว่าของเหลวที่ไหลผ่านตัววาล์วจะมีการหักเลีย
้ วหลาย
ครัง้ แม้ว ่า วาล์ว จะเปิ ดเต็ม ที่ก ็ต าม ทำ ให้ค วามดัน ลดคร่อ มตัว  globe
valve สูง กว่า ของ gate valve การปิ ด-เปิ ดวาล์ว จะอาศัย การปิ ด-เปิ ด
แผ่น  disk (จะ disk หรือ  disc มัน ก็ต ัวเดียวกัน ) หรือ  plug ที่วางตัวอยู่
ในแนวเดียวกันกับทิศทางการไหล (ทิศทางการไหลในที่นค
ี ้ ือจากซ้ายไป
ขวา) กับช่องเปิ ดที่อยู่ในแนวเดียวกันกับทิศทางการไหลเช่นเดียวกัน โดย
11

เมื่อของไหลไหลเข้ามาในตัววาล์วนัน
้ ของไหลจะถูกบังคับให้ไหลลงล่าง
และหัก เลีย
้ วขึน
้ ข้า งบน ไหลผ่า นช่อ งว่า งที่อ ย ู่ร ะหว่า งช่อ งเปิ ดกับ
แผ่น disk/plug การปรับขนาดของช่องว่างทำได้โดยการเลื่อนแผ่น  disk/
plug ขึน
้ -ลง ซึ่งเมื่อแผ่น disk/plug เลื่อนสูงขึน
้ ช่องว่างก็จะเปิ ดมากขึน

ของไหลก็จะไหลผ่านได้เร็วขึน
้  
 
3. Needle valve 

เป็ นวาล์วที่มีทิศทางการไหลเช่นเดียวกับ  globe valve ความแตกต่าง


ระหว่า ง needle valve และ globe valve อยู่ต รงที่ก ารออกแบบ
ช่องเปิ ดและรูปร่างของตัว  plug โดยช่องเปิ ดของ needle valve จะ
มีขนาดเล็ก กว่าช่องเปิ ดของ globe valve และตัวปลั๊ก ของ needle
valve จะมีลักษณะเป็ นกรวยที่มีความเรียวยาวค่อย ๆ เล็กลงที่ปลาย
จากการที่ส ่ว น plug ของ needle valve มีล ก
ั ษณะที่เ รีย วเล็ก ดัง
กล่าวจึงทำให้ตัว plug ไม่แข็งแรงพอที่จะรับแรงกดถ้าหากทำการกด
ให้ตัว plug แนบแน่นกับ seat ของตัว body ของวาล์ว เพราะการกด
ดังกล่าวอาจทำให้ตัว plug เกิดความเสียหายหรือสูญเสียรูปร่างได้ ดัง
12

นัน
้ ทางผู้ผ ลิต จึง ออกแบบให้ต ัว  plug ของ needle valve นัน
้ ไม่
สัมผัส กับ  seat ของตัว  body ของวาล์ว แต่จะมีช ่อ งว่า งอยู่เ ล็ก น้อ ย
จึงทำให้เมื่อเราหมุน  plug ของ needle valve ลงจนสุดแล้ว วาล์วก็
ยังปิ ดไม่สนิท (ซึ่งแตกต่างจาก globe valve ที่สามารถปิ ดได้สนิท) ดัง
นัน
้ การติดตัง้  needle valve ที่ถูกต้องจึงต้องมีการใช้ block valve (
ซึง่ มักเป็ น gate valve หรือ ball valve) ร่วมด้วยดังแสดงในรูปด้าน
บน 
 
4. ball valve  

เป็ นวาล์วตัวหนึ่งที่ได้รับความนิยมมากขึน
้ ในปั จจุบัน ที่เห็นได้ช ัดคือ
ต า ม อ า ค า ร บ ้า น เ ร ือ น ต ่า ง ๆ ท ี่ใ ช ้ก ๊อ ก น ้ำ แ บ บ ท ี่เ ป็ น ก ้า น ห ม ุน
เพียง 90 องศาก็สามารถเปิ ดวาล์วได้เต็มที่หรือปิ ดวาล์วได้สนิท ตัวอย่าง
โครงสร้างของ ball valve แสดงไว้ในรูปด้านล่าง 
ส่วนที่ทำ หน้าที่ปิด-เปิ ดของ ball valve คือตัวลูกบอลที่มีรูเจาะทะลุ
(สีแดงในรูปที่ 5 ด้านขวา) อยู่ตรงกลาง โดยการหมุนให้รูเจาะทะลุอยู่ใน
แนวท่อก็จะเป็ นการเปิ ดวาล์วเต็มที่ และการหมุนให้รูเจาะทะลุอยู่ในแนว
ตัง้ ฉากกับท่อก็จะเป็ นการปิ ดวาล์ว การปรับอัตราการไหลทำได้โดยการ
บิดให้ลูกบอลทำมุมระหว่างตำแหน่งเปิ ดเต็มที่และตำแหน่งปิ ด 

5. Plug valve  
13

ทำหน้าที่ได้เหมือน ball valve แต่ในปั จจุบันจะไม่ค่อยเห็นการเลือก


ใช้ plug valve แต่จ ะใช้ ball valve ทำหน้า ที่แ ทน สาเหตุเ ป็ นเพราะ
อะไรก็ไ ม่ทราบแน่ช ัด แต่คิดว่า เป็ นเพราะวัส ดุพ อลิเ มอร์ที่ใช้เ ป็ นตัวปิ ด
ผนึกกันการรั่วซึมระหว่างตัววาล์วกับลูกบอลของ ball valve ได้รับการ
พัฒนาให้สามารถทนต่อสารเคมีและสภาวะการใช้งานได้ดีขน
ึ ้ แต่จะว่าไป
แล้ว plug valve ก็มีข้อดีกว่า ball valve ตรงที่จะมีขนาดเล็กกว่าเพราะ
ไม่ได้ใช้ลูกบอลกลม ๆ มาเจาะรูเหมือนของ ball valve  
 
6. Butterfly valve  

หรือที่บ้านเราเรียกว่าวาล์วปี กผีเสื้อ ทำหน้าที่ได้เช่นเดียวกันกับ  ball


valve และ plug valve โครงสร้างของ butter fly valve นัน
้ จะใช้แผ่น
จานแบน ๆ หมุนไปมาได้ในมุม  90 องศา ถ้าแผ่นจานนีว้ างตัวขนานกับ
ทิศทางการไหล ก็จะเป็ นการเปิ ดวาล์วเต็มที่ และถ้าวางตัง้ ฉากกับทิศทาง
ก า ร ไ ห ล ก ็จ ะ เ ป็ น ก า ร ปิ ด ว า ล ์ว ซ ึ่ง เ ป็ น ก า ร ทำ ง า น เ ช ่น เ ด ีย ว ก ัน
กับ  damper ที่ใ ช้ปิ ด-เปิ ดลมเย็น ในระบบปรับ อากาศในอาคารต่า ง ๆ
14

การที่ใช้แผ่นจานแทนการใช้ลูกบอลหรือ  plug ในการปิ ดกัน


้ การไหลจึง
ทำให้ butterfly valve มีขนาดเล็กกว่า  ball valve และ plug valve (
คือจะแคบกว่าเมื่อวัดในทิศทางการไหล) และมีน้ำหนักเบากว่าด้วย แต่
โครงสร้างที่เป็ นแผ่นจานดังกล่าวทำให้ไม่สามารถรับแรงดันและอุณหภูมิ
ที่สูงได้ ดังนัน
้ เราจึงมักเห็นการใช้ butterfly valve ในท่อขนาดใหญ่กับ
สารที่ไม่มีอันตรายใด ๆ เช่นท่อน้ำหล่อเย็น ท่ออากาศของระบบทำความ
เย็น 
 
7. Diaphragm valve 

การทำงานของ diaphragm valve จะใช้การกดแผ่นไดอะแฟรม (1)


ซึง่ ทำจากวัสดุที่มีความยืดหยุ่น (ซึง่ มักเป็ นวัสดุพวกพอลิเมอร์) ให้ลงไป
กดแนบกับ  seat (2) ที่อยู่ข้างล่าง ก็จะเป็ นการปิ ดวาล์ว  เมื่อเราลดแรง
กดด้วยการขันนอตที่ทำ หน้าที่กดแผ่นไดอะแฟรมให้ยกตัวสูงขึน
้  ตัวแผ่น
ไดอะแฟรมก็จะยกตัวขึน
้ ด้วยคุณสมบัติการยืดหยุ่นของมันเอง ทำให้วาล์ว
เปิ ดตัว หลักการเดียวกันกับเวลาที่หมอหรือพยาบาลปรับอัตราการไหล
ของน้ำเกลือที่ใหักับผู้ป่วย ซึ่งเขาใช้วิธีบีบสายยางให้น้ำเกลือ (ไม่ร้ว
ู ่าเคย
โดนบ้างหรือยัง ถ้ายังไม่เคยโดยก็ถือว่าโชคดีมาก) 
15

ไดอะแฟรมวาล์วทำงานได้ดีกับของเหลวที่มีของแข็งแขวนลอยปะปน
อยู่ เพราะแม้ว่าจะมีของแข็งตกค้างอยู่บริเวณ seat ในขณะที่ทำ การปิ ด
วาล์ว แต่ด ้วยความยืด หยุ่น ของแผ่น ไดอะแฟรมเองก็ทำ ให้ส ามารถปิ ด
วาล์วได้สนิทได้ แต่การใช้แผ่นไดอะแฟรมทำให้วาล์วชนิดนีไ้ ม่สามารถใช้
งานได้ที่อุณหภูมิและความดันที่สูง 
มาโนมิเตอร์แบบหลอดเดี่ยว (well-type manometer)     
เป็ นมาโนมิเตอร์ (manometer) ชนิดที่นิยมใช้ ดัดแปลงมาจากมาโน
มิเ ตอร์รูป ตัว ยู (u-type manometer) เพื่อ ให้ง ่า ยต่อ การอ่า นค่า และ
สะดวกในการติดตัง้ ภายในบริเวณที่มีพ้น
ื ที่จำกัด 
โครงสร้างของมาโนมิเตอร์แบบหลอดเดี่ยวประกอบด้วยหลอดยาวสูง
หนึ่ง หลอดและพื้น ที่ห น้า ตัด ที่ม ีข นาดใหญ่ ภายในบรรจุข องเหลวที่ใ ช้
สำหรับวัดความดัน ความถูกต้อง (accuracy) ของการวัดด้วยอุปกรณ์วัด
นีข
้ น
ึ ้ อยู่กับค่าอัตราส่วนระหว่างพื้นที่หน้าตัดของหลอดและพื้นที่หน้าตัด
ขนาดใหญ่ (a/A) โดยค่าความถูกต้องของค่าความดันที่วัดได้แปรผกผัน
กับ ค่า อัต ราส่ว นดัง กล่า ว สามารถ คำ นวณหาค่า ความดัน แตกต่า ง
(differential pressure, ΔP) ได้จากสมการ 
ΔP=ρgh (1+(a/A) 
 โดย a       คือ พื้นที่หน้าตัดของหลอดขนาดเล็ก 
          A       คือ พื้นที่หน้าตัดของหลอดขนาดใหญ่ 
16

  

 
 
เกจความดันชนิดบูร์ดอง (bourdon gauge) 

เป็ นเกจวัดความดันชนิดอาศัยการเปลี่ยนแปลงทางกลด้วยหลักการยืด
ตัว/โก่งตัวของวัสดุที่มีสมบัติยืดหยุ่นหรือเรียกว่า  “เครื่องมือวัดความดัน
แบบอิล าสติก ” ทำ งานโดยอาศัย การแปลงความดัน (pressure) ท
อุปกรณ์ได้รับให้อยู่ในรูปของการเคลื่อนที่ 
17

หลอดบูร์ดองเป็ นหลอดที่มีพ้น
ื ที่ห น้า ตัด เป็ นวงรีแ ละงอเป็ นส่ว นโค้ง
ของวงกลม โดยปลายด้านหนึ่งของหลอดเป็ นปลายปิ ดต่อเข้ากับเข็มตรวจ
วัดตำแหน่งและระยะการเคลื่อนที่ ปลายอีกด้านหนึง่ เป็ นปลายเปิ ดต่อเข้า
กับสิ่งที่ต้องการวัดความดัน เมื่อหลอดได้รับความดันหรือความดันภายใน
หลอดมากกว่าความดันภายนอก หลอดจะเกิดความเครียด (strain) ขึน

และพยายามยืด ตัว ออกให้ต รงทำให้ป ลายข้า งที่ปิ ดเคลื่อ นที่ โดยการ
เคลื่อนที่นเี ้ ปลี่ยนแปลงตามความดันที่ได้รับ และเมื่อความดันลดลงหลอด
จะเคลื่อนที่กลับเข้าสู่ตำ แหน่งเดิม ลักษณะการทำงานของบูร์ดองมีหลัก
การเดียวกับของเด็กเล่นที่มีลักษณะเป็ นขดกระดาษม้วน โดยเมื่อเป่ าลม
เข้า ขดกระดาษม้วนจะคลายตัวออก และเมื่อปล่อยลมออก ขดกระดาษ
จะม้วนตัวกลับเข้าสู่สภาพเดิม 
 

 
ลักษณะของหลอดบูร์ดอง 
บูร์ดองเป็ นอุปกรณ์วัดความดันที่นิยมใช้ในงานอุตสาหกรรมเนื่องจากมี
ย่า นการวัด (range) ที่ก ว้า ง ตัง้ แต่ 1 บาร์ ถึง  6800 บาร์ ซึ่ง ขึน
้ อยู่ก ับ
ชนิดของบูร์ดอง แบ่งประเภทของบูร์ดองตามลักษณะโครงสร้างได้ ดังนี ้  
 บูร์ดองรูปตัว c (c-type bourdon)    
 บูร์ดองแบบก้นหอย (spiral bourdon) 
 บูร์ดองแบบขดซ้อน (helix bourdon) 
โดยทั่ว ไปแล้ว บูร ์ด องเหมาะสำ หรับ การใช้ง านในย่า นความดัน สูง
สามารถวัดความดันได้ทงั ้ ความดันเกจ (gauge pressure) และความดัน
สุญญากาศ (vacuum) ได้อย่างมีประสิทธิภาพและ มีความน่าเชื่อถือสูง
แข็งแรงทนทาน ราคาถูกเมื่อเทียบกับประสิทธิภาพการใช้งาน ตัวอย่าง
การใช้งาน ได้แก่ การวัดความดัน (pressure measurement) ในถังเก็บ
18

ลมเติมยางรถยนต์หรือถังแก๊สต่าง ๆ เป็ นต้น ไม่นิยมใช้ในย่านความดัน


ต่ำ  บูร์ดองมีโครงสร้างง่าย มีย่านการใช้งานให้เลือกมาก อย่างไรก็ตาม
บูร์ดองมีฮีสเตอรีซิส  (hysteresis) ค่อนข้างกว้าง และไม่ควรติดตัง้ เข็มชี ้
วัด ระยะการเคลื่อ นที่โ ดยตรงกับ ตัว บูร ์ด องสำหรับ การใช้ง านในจุด ที่ม ี
ความสั่นสะเทือน

 
เครื่องมือและอุปกรณ์การทดลอง 
1. ชุดเครื่องมือทดลอง ท่อน้ำพร้อมข้อต่อต่างๆ  
2. U- tube Manometer 
3. Rotameter 
4. ตลับเมตร 
5. เวอเนียร์ 
6. เทอร์มอมิเตอร์ 
19

 
หมายเลขต่างๆในแผนผัง 
2. ท่อขรุขระ เส้นผ่านศูนย์กลางภายใน 17 mm 
3. ท่อขรุขระ เส้นผ่านศูนย์กลางภายใน 23 mm 
4. ท่อ methacrylate เส้นผ่านศูนย์กลางภายใน 6.5 mm 
5. ท่อเรียบ เส้นผ่านศูนย์กลางภายใน 16.5 mm 
6. ท่อเรียบ เส้นผ่านศูนย์กลางภายใน 26.5 mm 
7. Angle seat valve 
8. Gate valve 
9. In-line strainer 
10. Diaphragm  valve 
11. Sudden  widening 25-40 mm 
12. Pitot tube 
13. Venture tube 
14. Diaphragm 
15. Reduction 40-25 mm 
16. ระบบท่อขนาน 
17. 90◦C elbows 
20

18. T junction 
19. Ball valve 
20. 45◦elbow 
21. 45◦T 
22. 90◦ elbow 
23. Regulation valve 
24. Bourdon manometer 
25. Water manometer 
 
V1-V7 Ball valve 

 วิธีการทดลอง 
21

ตอนที่ 1 : Fluid Friction ที่เกิดจากชนิดของท่อและท่อขนาด


ต่างๆ (Major Loss) 
1. วัดอุณหภูมิน้ำก่อนทำการทดลอง 
2. เริ่มทำการทดลอง โดยวัดความยาวและขนาดของท่อ 
3. วัดค่าความดันลดคร่อมของท่อ  
4. เปลี่ยนอัตราการไหลของระบบอย่างน้อย 4 ค่า และทำการทดลองซ้ำ
เช่นข้อ 3 
 
ตอนที่ 2 : Fluid Friction ที่เกิดจากวาล์ว และ ข้อต่อแบบ
ต่างๆ (Minor Loss) 
1. วัดอุณหภูมิน้ำก่อนทำการทดลอง 
2. ตรวจสอบ U-tube Manometer ที่ใช้ในการทดลองวัดความดันว่า
สามารถทำงานได้ตามปกติ 
    หรือไม่ (ถ้ามีฟองอากาศเกิดขึน
้ ต้องทำการไล่ฟองอากาศออก) 
3. เริ่มทำการทดลอง โดยวัดค่าความดันลดคร่อมของวาล์วที่เปิ ดสุด  
4. จากนัน
้ หรี่วาล์วลง 1/2 และ 1/4 แล้ววัดค่าความดันลดคร่อมวาล์ว 
5. หลังจากวัดอุปกรณ์ประเภทวาล์วเสร็จสิน
้ ให้เปลี่ยนมาวัดข้อต่อแบบ
ต่างๆ โดยวัดอุณหภูมิน้ำ 
ก่อนทำการทดลอง 
6. จากนัน
้  วัดค่าความดันลดคร่อมของข้อต่อแต่ละแบบ  
 
 ตอนที่ 3 Fluid Friction ของระบบแบบ Parallel Flow 
1. วัดอุณหภูมิน้ำก่อนทำการทดลอง 
22

2. เริ่มทำการทดลอง วัดความดันลดของระบบท่อโดยแบ่งเป็ น 2 สาย คือ


สายบนและสายล่าง ให้วัดค่าความดันลดคร่อมของท่อแต่ละช่วงของทัง้
สายบนและล่าง  
3. นำค่ามาเทียบกัน 
4. ปิ ดอุปกรณ์ทุกอย่างให้เรียบร้อยเหมือนก่อนเริ่มทำการทดลอง 
 
 
 
 
 
 

ข้อมูลการทดลอง 
ตอนที่ 1 Fluid Friction ที่เกิดจากชนิดของท่อและท่อขนาด
ต่างๆ (Major Loss) 
o
อุณหภูมิน้ำ 32.2 C 
1. Small Rough Pipe หมายเลข 2 
เส้นผ่านศูนย์กลาง (D) =  0.018   m 
ความยาวท่อ (L) =     99.8 cm 
Flow rate ความดัน (bar)
(L/min) 
Inlet /outlet Inlet/Outlet 
 
2600 0.46/0.30 0.46/0.30
23

 2200 0.30/0.20 0.30/0.19


1800 0.20/0.12 0.18/0.11
1400 0.08/0.04 0.07/0.04
2. Big Rough Pipe หมายเลข 3 
เส้นผ่านศูนย์กลาง (D) =    0.0268 m 
ความยาวท่อ (L) =  99.9 cm 
Flow rate ความดัน 
(L/min) 
Inlet /outlet Inlet /outlet
 
2600 0.39/0.33 0.37/0.32
2200 0.25/0.22 0.24/0.21
1800 0.14/0.12 0.15/0.13
1400 0.05/0.04 0.05/0.04
3. Methacrylate Pipe หมายเลข 4 
เส้นผ่านศูนย์กลาง (D)= 0.0063  m 
ความยาวท่อ (L)=  99.5 cm 
Flow rate ความดัน 
(L/min) 
Inlet /outlet Inlet /outlet
 
1000 0.89/0.24 0.89/0.24
800 0.60/0.14 0.62/0.15
600 0.32/0.05 0.28/0.09
 
24

4. Small Smooth Pipe หมายเลข 5 


เส้นผ่านศูนย์กลาง (D) =   0.0159 m 
ความยาวท่อ (L) =   99.8 cm 
Flow rate ความดัน 
(L/min) 
Inlet /outlet Inlet /outlet
 
2600 0.38/0.31 0.38/0.30
2200 0.24/0.19 0.24/0.19
1800 0.14/0.10 0.14/0.11
1400 0.06/0.04 0.05/0.03
 
5.  Big Smooth Pipe หมายเลข 6 
เส้นผ่านศูนย์กลาง (D)=  0.0268 m 
ความยาวท่อ (L)=   99.8   cm 
Flow rate
(L/min)  ความดัน 
   Inlet /outlet Inlet /outlet
2600 0.33/0.31 0/34/0.32
2200 0.22/0.21 0.21/0.20
1800 0.13/0.12 0.11/0.1
1400 0.05/0.09 0.05/0.05
 
  ตอนที่ 2 Fluid Friction ที่เกิดจากวาล์วและข้อต่อแบบ
ต่างๆ (Minor Loss) 
25

o
อุณหภูมิน้ำ  32.2 C 
2.1 Gate Valve หมายเลข  8 
เส้นผ่านศูนย์กลาง (D)=    0.0268   m 
ความยาวท่อ (L)=   19.30  cm 
Flow rate=     2000      L/min 
Valve open  ความดัน 

  Inlet /outlet Inlet /outlet

Fully open  0.17/0.16 0.18/0.17


1/4 open  0.666/0.17 0.63/0.16
1/2 open  0.20/0.17 0.20/0.17
2.2 Ball Valve หมายเลข 19 
เส้นผ่านศูนย์กลาง (D)=   0.018    m 
ความยาวท่อ (L)=    18.20   cm 
Flow rate=       2000     L/min 
Valve open  ความดัน 

  Inlet /outlet Inlet /outlet

Fully open  0.160/0.155 0.167/0.167


1/4 open  0.170/0.160 0.160/0.160
1/2 open  0.170/0.162 0.162/0.163
 
 2.3 Angle Seat Valve หมายเลข 7 
เส้นผ่านศูนย์กลาง (D)=    0.0159 m 
ความยาวท่อ (L)=    19.50   cm 
Flow rate=       2000      L/min 
26

Valve open  ความดัน 

  Inlet /outlet Inlet /outlet

Fully open  0.27/0.19 0.27/0.20


1/4 open  0.30/0.20 0.28/0.19
1/2 open  0.28/0.20 0.27/0.19
 
2.4 Diaphragm Valve หมายเลข 10 
เส้นผ่านศูนย์กลาง (D)=   0.018    m 
ความยาวท่อ (L)=    17.00   cm 
Flow rate=   2000  L/min 
Valve open  ความดัน 
Inlet /outlet Inlet /outlet
 
Fully open  0.25/0.20 0.23/0.18
1/4 open  0.28/0.18 0.28/0.19
1/2 open  0.42/0.18 0.44/0.20

2.5 Elbow Pipe 90 degree หมายเลข 22 


เส้นผ่านศูนย์กลาง (D)=   0.018  m 
ความยาวท่อ (L)=   7.90  cm 
Flow rate=     2000     L/min 
Valve open  ความดัน 

  Inlet /outlet Inlet /outlet

Fully open  0.18/0.17 0.17/0.16


27

  2.6 Elbow Pipe 45 degree หมายเลข 20 


เส้นผ่านศูนย์กลาง (D)=  0.018   m 
ความยาวท่อ (L)=   11.4  cm 
Flow rate=    2000     L/min 
Valve open  ความดัน 

  Inlet /outlet Inlet /outlet

Fully open  0.17/0.16 0.16/0.15


    2.7 T junction หมายเลข 18 
เส้นผ่านศูนย์กลาง (D)=   0.018  m 
ความยาวท่อ (L)=   14.00  cm 
Flow rate=     2000    L/min 
Valve open  ความดัน 

  Inlet /outlet Inlet /outlet

Fully open  0.170/0.163 0.170/0.160

ตอนที่ 3 Fluid Friction ของระบบแบบ Parallel Flow 


Flow rate=     2000       L/min 
Upper side 

ครัง้ ที่  ความดัน mm H2O 


Inlet /outle
  Inlet /outlet
t
คร่อมช่วง 1  0.170/0.165 0.170/0.165
คร่อมช่วง 2  0.160/0.160 0.160/0.160
28

    

  Down side 

ครัง้ ที่  ความดัน mm H2O 


Inlet /outle
  Inlet /outlet
t
คร่อมช่วง 1  0.170/0.160 0.170/0.160
คร่อมช่วง 2  0.160/0.155 0.160/0.155
29
30

ผลการทดลอง

ตอนที่ 1 Fluid Friction ที่เกิดจากชนิดของท่อและท่อขนาดต่างๆ (Major Loss)

อัตราการไหล อัตรา
ชนิดท่อ
(L/h) ΔPavg(b การ ΔPavg(P hL( V Tw(N/ F
3
f 2
Re
ar) ไหล(m / a) m) (m/s) m) (N)
s)
2(rough 0.00072 1.63 0.07 72.14 4.0 66276
2600 0.16 16000 2.837
pipe) 2 9 2 4 73 .86
0.00061 1.07 0.06 47.34 2.6 56080
2200 0.105 10500 2.401
1 5 6 5 73 .42
0.00050 0.76 0.07 33.81 1.9 45883
1800 0.075 7500 1.964
0 8 0 8 09 .98
1400 0.035 0.00038 3500 0.35 1.528 0.05 15.78 0.8 35687
31

9 8 4 2 91 .54
0.00072 0.56 0.18 36.88 3.1 44514
2600 0.055 5500 1.280
2 3 1 7 04 .31
0.00061 0.30 0.13 20.12 1.6 37665
2200 0.03 3000 1.083
3(rough 1 7 8 0 93 .96
pipe) 0.00050 0.20 0.13 13.41 1.1 30817
1800 0.02 2000 0.886
0 5 7 3 29 .6
0.00038 0.10 0.11 0.5 23969
1400 0.01 1000 0.689 6.707
9 2 4 64 .25
0.00027 6.65 0.01 102.8 2.0 72831
1000 0.65 65000 8.907
8 8 0 89 27 .72
4(metacrylat 0.00022 4.76 0.01 73.60 1.4 58265
800 0.465 46500 7.126
e Pipe) 2 3 2 6 50 .38
0.00016 2.61 0.01 40.36 0.7 43699
600 0.255 25500 5.344
7 2 1 4 95 .03
5(smooth 2600 0.075 0.00072 7500 0.76 3.636 0.01 29.87 1.4 75030
32

2 8 8 2 90 .41
0.00061 0.51 0.01 19.91 0.9 63487
2200 0.05 5000 3.077
1 2 7 5 93 .27
pipe) 0.00050 0.35 0.01 13.94 0.6 51944
1800 0.035 3500 2.517
0 8 8 0 95 .13
0.00038 0.20 0.01 0.3 40400
1400 0.02 2000 1.958 7.966
9 5 7 97 .99
0.00072 0.20 0.03 0.6 44514
2600 0.02 2000 1.280 7.966
2 5 9 70 .31
0.00061 0.10 0.02 0.3 37665
2200 0.01 1000 1.083 3.983
6(smooth 1 2 7 35 .96
pipe) 0.00050 0.10 0.04 0.3 30817
1800 0.01 1000 0.886 3.983
0 2 1 35 .6
0.00038 0.05 0.03 0.1 23969
1400 0.005 500 0.689 1.991
9 1 4 67 .25
33

ตอนที่ 2 Fluid Friction ที่เกิดจากวาล์ว และ ข้อต่อแบบต่างๆ (Minor Loss)

(ข้อต่อ)

ชนิด อัตรา อัตราการ


delta delta P KL %erro
ของข้อ การไหล ไหล Pin avg Pout avg hL (m) KL
3
P (Pa) theory r
ต่อ (L/h) (m /s)

90 elb 0.00055 1000.0 0.102 0.421 1.100 61.70
2000
ow 6 0.175 0.165 0.01 000 3 3 0 1
45 ๐ el 0.00055 1000.0 0.102 0.421 0.400
2000 1.936
bow 6 0.165 0.155 0.01 000 3 3 0
0.00055 0.161 0.008 850.00 0.087 0.358 1.000 58.35
T 2000
6 0.17 5 5 00 0 1 0 5
34

(วาล์ว)

delta
Pin avg Pout avg delta hL KL %erro
ชนิด valve P KL
(bar) (bar) P (m) theory r
(Pa) Re f
Fully 0.051 0.210 321.6 5100
0.05
open 0.16 0.155 0.005 500 2 8 3 3 0.021
Ball 1/2 0.081 0.337 5100
- -
valve open 0.17 0.162 0.008 800 9 3 3 0.033
1/4 0.102 0.421 5100
- -
open 0.17 0.16 0.01 1000 4 6 3 0.042
Diaphr Fully 0.512 2.108 5100
2.3 8.34
agm open 0.25 0.2 0.05 5000 1 2 3 0.223
valve 1/2 2400 2.458 10.11 135.3 5100
4.3
open 0.42 0.18 0.24 0 3 92 3 3 1.071
1/4 0.28 0.18 0.1 1000 1.024 4.216 21 79.92 5100 0.446
35

open 0 3 3 3
Fully 0.102 2.072 935.9 3425
0.2
open 0.17 0.16 0.01 1000 4 0 9 6 0.288
Gate 1/2 0.307 6.215 196.0 3425
2.1
valve open 0.2 0.17 0.03 3000 3 9 0 6 0.863
1/4 4900 5.019 101.5 497.2 3425 14.09
17
open 0.66 0.17 0.49 0 0 266 2 6 8
Fully 0.819 2.053 5773
5 58.93
open 0.27 0.19 0.08 8000 4 6 9 0.167
Angle
1/2 0.819 2.053 5773
seat - -
open 0.28 0.2 0.08 8000 4 6 9 0.167
valve
1/4 1000 1.024 2.567 5773
- -
open 0.3 0.2 0.1 0 3 0 9 0.209
36

ตอนที่ 3 Fluid Friction ของระบบแบบ Parallel Flow

ครัง้ ที่  ความดัน mm H2O 

  Upper Down

คร่อมช่วง 1  0.170/0.165 0.170/0.160


คร่อมช่วง 2  0.160/0.160 0.160/0.155
37

วิจารณ์ผลการทดลอง

ตอนที่ 1 : Fluid Friction ที่เกิดจากชนิดของท่อและท่อขนาดต่างๆ


(Major loss)

การทดลองนีเ้ ป็ นการทดลองเพื่อศึกษาความเสียดทานที่เกิดจากผิว
ท่อชนิดและขนาดต่างๆ ได้แก่ ท่อขรุขระขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ท่อ
เรียบขนาดเล็กและขนาดใหญ่ และท่อเรียบ Methacrylate ทำการ
ทดลองโดยเปลี่ยนแปลงอัตราการไหลของน้ำ ดังนีค
้ ือ 2600, 2200,
1800 และ 1400 L/hr ยกเว้นสำหรับท่อเรียบ Methacrylate ใช้อัตรา
การไหลเท่ากับ 1000, 800 และ 600 L/hr จากนัน
้ วัดค่าความดันของ
น้ำที่ขาเข้าและขาออก เพื่อนำไปคำนวณหาค่า Friction factor และ ค่า
ความขรุขระ ε ต่อไป

สำหรับในตอนที่ 1.1 และ 1.2 ในการทดลอง Small rough pipe


ท่อหมายเลขสอง (D2) และ Big rough pipe ท่อหมายเลขสาม (D3)
ตามลำดับ เริ่มต้นทำการทดลองที่อัตราการไหลของน้ำเท่ากับ 2600
L/hr ทำการวัดค่าความดันขาเข้าและความดันขาออกเพื่อหาความดันลด
L v2 ∆ P
หา Friction factor (f) จากสูตร f =
D 2 g ρg
=hL จะได้ว่าจากการทดลอง
ค่า f ของท่อขรุขระขนาดใหญ่(D3)มีค่ามากกว่าท่อขนาดเล็ก(D2)
38

สำหรับในตอนที่ 1.3 ถึง 1.5 เป็ นการทดลองของท่อเรียบในแบบ


ต่างๆ ดังนัน
้ ε มีค่าเท่ากับศูนย์ ทำให้สามารถคำนวณหาค่า f ทางทฤษฎี
ที่อัตราการไหลต่างๆได้โดยใช้สมการ Colebrook equation จากผลการ
ทดลองจะได้ว่า ที่อัตราการไหลเท่ากันที่ 1400 L/hr ค่า f ของแต่ละท่อ
เป็ นดังนี ้ ท่อ Methacrylate < ท่อเรียบขนาดเล็ก < ท่อเรียบขนาดใหญ่
ซึ่งเป็ นไปตามทฤษฎี แต่ท่อ Methacrylate ต้องใช้ค่าที่ 1000L/hr ซึง่
เป็ นค่ามากที่สุดที่ท่อนีจ
้ ะวัด flow ได้

ต่อไปหากพิจารณาที่ขนาดท่อเดียวกัน อัตราการการไหลเท่ากัน แต่


คนละพื้นผิว นั่นคือเปรียบเทียบระหว่างท่อเรียบขนาดใหญ่และท่อขรุขระ
ขนาดใหญ่ ที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางเท่ากับ 0.002660 m เท่ากัน พบว่าที่
ทุกๆอัตราการไหล ท่อขรุขระขนาดใหญ่มีค่า f มากกว่าของท่อเรียบ
ขนาดใหญ่ นอกจากนีห
้ ากพิจารณาการไหลภายในท่อแบบเดียวกัน เมื่อ
เพิ่มอัตราการไหลจะได้ว่าความดันลดค่อนข้างจะมีแนวโน้มว่าในทิศทาง
เพิ่มขึน
้ เป็ นไปตามทฤษฎี ซึ่งอาจมีบางค่าที่แกว่ง นั่นอาจเป็ นผลจาก
ความคลาดเคลื่อนในการทดลองอีกเช่นกัน

ตอนที่ 2 : Fluid Friction ที่เกิดจากวาล์ว และ ข้อต่อแบบต่างๆ


(Minor Loss)
ในการทดลองเรื่อง Fluid friction โดยมีของไหลที่ใช้ คือ น้ำ จะ
ศึกษาความเสียดทานและความดันลดที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของของไหล
ภายในท่อที่มีการต่อข้อต่อและวาล์วแบบต่างๆ จากการทดลองตอนที่ 1
ซึ่งกล่าวถึงการสูญเสียหลักที่เกิดจากวัสดุต่างๆที่ ทำมาใช้ในระบบท่อจะมี
ความขรุขระอยู่เสมอทำให้ท่อมีแรงเสียดทานภายในเนื่องจากที่ผิวขรุขระ
39

ข้างในท่อนัน
้ ของไหลจึงต้องสูญเสียพลังงานไปจำนวนหนึ่งที่ใช้ต้านแรง
เสียดทานนีทำ
้ ให้เกิดความดันลดของของไหลระหว่างจุด 2 จุดภายในท่อ
เช่นเดียวกัน Fluid friction ที่เกิดจากการที่ของไหลไหลไปได้ไม่ราบรื่น
ภายในวาล์วหรือข้อต่อ ก็มีผลต่อแรงเสียดทานให้กับของไหลด้วยเช่นกัน
นอกจากนีก
้ ารเกิดแรงเสียดทานในวาล์วและข้อต่อ แต่ละชนิดจะ
มีค่าเฉพาะซึง่ เรียกว่า Loss Coefficient (KL) ทีทำ
่ ให้เกิดการสูญเสีย
V2 ∆ P
ตามความสัมพันธ์ h L =K L × =
2 g ρg โดยในการทดลองจะสามารถวัดค่า

Pressure Drop ได้และเราจะนำมาหาค่า KL เพื่อเทียบกับค่าทางทฤษฎี


คำนวณหาความคลาดเคลื่อนได้ จากการทดลอง เมื่อให้มีการเปิ ดวาล์ว
แบบต่างๆกัน ที่สภาวะการเปิ ดวาล์วหมด ให้อัตราการไหลของของไหล
คงที่ ที่ 2000 L/h พบว่า Ball Valve จะมีค่า Pressure Drop ต่ำที่สุด
ตามมาด้วย Gate Valve, Diaphragm Valve และ Angle Valve ต่อมา
เมื่อสังเกตจากกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง Loss Coefficient กับ
การเปิ ด-ปิ ด ของ Valve ชนิดต่างๆ ที่เส้นกราฟของ Ball Valve จะอยู่
ต่ำที่สุดและมี Diaphragm Valve อยู่สูงที่สุด เนื่องมาจาก Ball Valve
และ Gate Valve มีลักษณะเป็ น Valve แบบง่ายๆ ให้ทิศทางการไหล
ของน้ำคล้ายกับท่อตรง ส่วน Angle Valve และ Diaphragm Valve มี
โครงสร้างภายในที่ซับซ้อนมากกว่า จึงทำให้เกิด Pressure Drop และ
Loss Coefficient มากกว่า ส่วนที่การเปิ ด-ปิ ด ของ Valve ชนิดต่างๆ
แบบอื่นๆ ไม่มีแนวโน้มที่ชัดเจน ค่า Pressure Drop แกว่งไปมา ไม่เป็ น
ไปตามทฤษฎี เมื่อคำนวณค่า Loss Coefficient ก็จะได้ค่าที่คลาดเคลื่อน
40

ไปจากทฤษฎีด้วย ซึ่งอาจเกิดจากข้อผิดพลาดต่างๆ (อธิบายเพิ่มเติมในข้อ


ผิดพลาด)
o
สำหรับการทดลองในส่วนของข้อต่อ ข้องอ ซึ่งประกอบด้วย 45
o
Elbow, 90 Elbow และ T juction พบว่าค่า Pressure Drop มีค่าดังนี ้
o o
90 Elbow = 45 Elbow > T junction เมื่อนำไปคำนวณจะมีแนวโน้ม
ของค่า Loss Coefficient ที่ได้มาเป็ นไปตามทฤษฎีแต่จะมีค่าตัวเลขที่
แตกต่างไปจากค่าทางทฤษฎีอาจเป็ นเหตุมาจากความผิดพลาดขณะ
ทำการทดลอง (อธิบายเพิ่มเติมในข้อผิดพลาด) จากสมมติฐานที่ว่าวาล์ว
และข้อต่อ ข้องอ มีผลต่อ Head loss เนื่องจากข้อต่อแต่ละชนิดมีค่า KL
( สัมประสิทธิก์ ารสูญเสียพลังงาน) ไม่เท่ากัน ซึ่งพบว่า KL มีค่ามากขึน
้ จะ
ทำให้เกิด Head loss เพิ่มมากขึน
้ ถ้าจะให้เห็นค่าต่างๆ ที่ชัดเจนมากยิ่ง
ขึน
้ เราสามารถปรับอัตราการไหลของน้ำ เพราะ Pressure Drop มีค่า
แปรผันตาม V2 ดังนัน
้ เมื่อ อัตราการไหลสูงจะทำให้ Head loss
ภายในท่อสูงขึน
้ และทำให้ Loss Coefficient เพิ่มมากขึน
้ ด้วย

ตอนที่ 3 : Fluid Friction ของระบบท่อแบบขนาน


ในตอนนีเ้ ราทำการทดลองโดยวัดความดันลดของระบบท่อแบบ
ขนาน นั่นคือ ระบบท่อ ที่มีขาเข้าและ ขาออกรวมกันของท่อสองสาย คือ
สายบนและสายล่าง จากทฤษฎี ที่บอกว่าถ้าเราวัดความดันคร่อมจุดต่างๆ
41

ระหว่างสายบน และ ความดันลดคร่อมจุดต่างๆ ระหว่างสายล่างผลรวม


ของทุกจุดย่อม จะมีค่าใกล้เคียงกัน
และในแต่ละสาย ถ้าวัดความดันลดแต่ละจุดแล้วนำมารวมกันเป็ นผลรวม
ความลดแต่ละจุด กับ วัดความดันลด
คร่อมทัง้ ช่วงค่าที่ได้ออกมาจะต้องใกล้เคียงกัน จากการทดลองพบว่า ค่า
ความดันลดคร่อมจุดต่างๆ ระหว่างสายบน และ ความดันคร่อมจุดต่างๆ
ระหว่างสายล่างผลรวมของทุกจุดย่อม จะมีค่าใกล้เคียงกัน
ตามทฤษฎีแต่ความดันลดแต่ละจุดแล้วนำมารวมกันเป็ นผลรวมความลด
แต่ละจุด กับ วัดความดันลด
คร่อมทัง้ ช่วงค่าที่ได้ไม่ใกล้เคียงกันเช่นการวัดแบบแรก ซึ่งอาจเกิดจาก
การอ่านค่าที่คลาดเคลื่อน
หรืออุปกรณ์แสดงผลไม่เป็ นไปตามจริง

สรุปผลการทดลอง

ตอนที่ 1 : Fluid Friction ที่เกิดจากท่อชนิดและขนาดต่างๆ (Major


loss)
1. สำหรับอัตราการไหลเดียวกันของท่อขรุขระ ค่า Friction factor
ของท่อที่มีขนาดใหญ่จะมีค่ามากกว่าท่อที่มีขนาดเล็ก
2. สำหรับอัตราการไหลเดียวกันของท่อเรียบ ค่า Friction factor มี
แนวโน้มดังนี ้ ท่อ Methacrylate < ท่อเรียบขนาดเล็ก < ท่อเรียบ
ขนาดใหญ่
42

3. สำหรับท่อขนาดเท่ากัน ที่อัตราการไหลเดียวกัน ท่อที่มีความขรุขระ


มากกว่าจะมีค่า Friction factor มากกว่า
4. ความดันลดของการไหลภายในท่อ แปรผันตรงตาม อัตราการไหล
ของของไหล

ตอนที่ 2 : Fluid Friction ที่เกิดจากวาล์ว และ ข้อต่อแบบต่างๆ


(Minor Loss)
1. เมื่อเปิ ดวาล์วเต็มที่จะมีแนวโน้มของค่า Loss Coefficient (KL) คือ
Ball Valve > Gate Valve > Diaphragm Valve > Angle
Valve
นั่นคือ โครงสร้างของวาล์วมีผลต่อค่า Loss Coefficient (KL) วาล์วที่มี
โครงสร้างที่ซับซ้อนจะทำให้ค่า KL มากตามไปด้วย
2. การเปิ ดวาล์วแบบต่างๆมีผลต่อค่า KL
3. ข้อต่อแบบที่มีมุมองศามากจะทำให้ค่า KL มาก
ตอนที่ 3 : Fluid Friction ของระบบท่อแบบขนาน
การต่อท่อแบบขนานไม่ว่าจะวัดความดันลดที่สายบนหรือสายล่างจะให้
ค่าที่ใกล้เคียงกัน
จากการทดลองทัง้ หมดจะพบว่าปั จจัยที่อาจทำให้เกิดความเสียด
ทาน ได้แก่ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของท่อ ความยาวของท่อ พื้นที่ผิว
ภายในท่อ ความเร็วของการไหลหรืออัตราการไหล ลักษณะข้อต่อและ
valve รวมทัง้ ชนิดของท่อก็มีผลอย่างมาก ท่อที่ทำด้วยวัสดุต่างกันจะ
43

ทำให้เกิดแรงเสียดทานที่ต่างกันเนื่องจากมีความขรุขระต่างกัน หรืออาจ
เกิดจาก viscosity และ density ของของไหลได้ด้วย
จากการทดลองนีทำ
้ ให้สามารถเลือกใช้อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับระบบ
การเดินท่อได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับงานที่จะใช้ สามารถออกแบบ
การวางอุปกรณ์ในระบบท่อต่างๆเรียงลำดับได้อย่างเหมาะสม และจาก
การคำนวณค่าความดันลดเนื่องจากแรงเสียดทาน ก็เป็ นประโยชน์ในกรณี
ขณะใช้งานจริงจะได้ไม่เกิดเหตุการณ์ที่ของไหลไหลไปไม่ถึงจุดหมายที่
ต้องการ และจะได้ไม่ต้องให้งานแก่ pump มากจนเกินไป
44

ภาคผนวก
45

ตัวอย่างการคำนวณ

Major losses

 การคำนวณจากการทดลอง

ตัวอย่างจากตอนที่ 1.1

Lengt Diamet Area Flow rate


2
Type h (m) er (m) (m ) (L/hr) Pin  Pout
          bar bar
Small
0.00025
rough( 0.998 0.018 2600 0.46 0.3
4571
D2)

Pressure drop: ∆ P=Pinlet −Poutlet

10000 Pa
∆ P=0.46−0.3 ×
¯
1 ¿ =16000 Pa ¿
¯

กำหนด Diameter(D) = 0 .0180 m


o 3
Water at 32.2 c : ρ = 995.2 kg/m
µ = 0.0007668 kg/m.s
2
π D2 π ( 0.0180 )
Cross-sectional Area(Ac)¿ 4
=
4
=0.0002545 m 2

Flow rate 2600 L /h 1h 1 m3


Velocity (v) Cross Area 0.0002545 m2 3600 sec 1000 L =2.837 m/s
¿ = × ×

ρVD 995.2 ×2.837 ×(0.0180)


Reynolds number(Re) ¿ μ = 0.0007668
=66276.9

L v2 ∆ P
จากสมการ f =
D 2 g ρg
=hL
46

∆ P(D)(2) (16000)(0.0180)(2)
Friction factor (f) ¿
ρL v 2
=
( 995.2 ) ( 0.998 ) 2.837 2
=0.072

1 ε 2. 51
=−2 log[ + ]
3 . 7 D
จากสมการ Colebrook √Equation:
f Re √ f

1 ε 2.51
√ 0.072
=−2 log
[
3.7(0.0180)
+
66276.9× √ 0.072 ]
แก้สมการ ε =0.0009 m

 การคำนวณ Friction factor ของท่อเรียบทางทฤษฎี

ตัวอย่างจากตอนที่ 1.4

Lengt Diamet Area Flow rate


Type 2
h (m) er (m) (m ) (L/hr)

Small
0.00019
smooth(D5 0.998 0.0159 2600
99
)

กำหนด Diameter(D) = 0 .0159 m


o 3
Water at 30 c : ρ = 995.2 kg/m
µ = 0.0007668 kg/m.s

2
π D2 π ( 0.01590 )
Cross-sectional Area (Ac) ¿
4
=
4
=0.000199 m2

Flow rate 2600 L /h 1h 1 m3


Velocity (v) ¿ = × ×
Cross Area 0.000199 m 2 3600 sec 1000 L
=3.636 m/s
47

ρVD 995.2 ×3.636 ×(0.01590)


Reynolds number (Re) ¿
μ
=
0.0007668
=75030.4

1 ε 2. 51
=−2 log[ + ]
√f 3 . 7 D Re √ f
จากสมการ Colebrook Equation:

เนื่องจากท่อเรียบ ดังนัน
้ ε =0
1 0 2.51
√f
=−2 log
[ +
3.7(0.01590) 75030.4 × √ f ]
แก้สมการจะได้ Friction factor: f Theory = 0.018
 การหา %error

ตัวอย่างจากตอนที่ 1.3 ที่อัตราการไหลเท่ากับ 800 L/hr:f Theory =


0.0120, f experiment = 0.17
%error=¿ f Theory −f experiment ∨ ¿ x 100 ¿
f Theory

%error=¿ 0.0120−0.17∨ ¿ x 100=13.16 % ¿


0.0120

ตัวอย่างการคำนวณ

ตอนที่ 2 : Fluid Friction ที่เกิดจากวาล์ว และ ข้อต่อแบบต่างๆ


(Minor Loss)

โดย 1 bar = 10000 Pa

2.1 :วาล์ว

ชนิดของ Valve D L P (bar)
48

วาล์ว open (m) (L/hr) (m) Inlet Outlet


Gate
Fully 0.0268 2000 0.193 0.17 0.16
valve

Cross Section Area


2
πD
A = 4
2
π (0 . 0268)
= 4
2
= 0.000564 m

Velocity
10−3
2000×
V̇ = 3600
3
= 0.000556m /s

V = A
0. 000556
= 0. 00056

= 0.99286 m/s

Pressure Drop
ΔP = Inlet - Outlet
= 0.17 – 0.16
= 0.01 bar
And in Pascal unit
= 0.01 x 100000
= 1000 Pa
49

Minor Head Loss


ΔP
HL = ρg
1000 Pa
= kg m
(995.2 3 ) ×(9.81 2 )
m s
= 0.102 m

Loss Coefficient
2 g×H Minor
KL = V2
2×9 . 81×0 .102
= 0 .99286 2

= 2.07
% Error
|K L, Theory −K L , Experiment|
% Error= ×100
K L ,Theory

= 935.99 %
50

2.2 :ข้อต่อ
ชนิดของ D V̇ L P (bar)
วาล์ว (m) (L/hr) (m) Inlet Outlet
0.018 2000 0.114 0.175 0.165
o
90 Elbow

Cross Section Area


πD2
A = 4
π (0 . 018 )2
= 4
2
= 0.000254 m

Velocity
−3
10
2000×
V̇ = 3600
3
= 0.000556m /s

V = A
51

0. 000556
= 0. 000254

= 2.183 m/s

Pressure Drop
ΔP = Inlet - Outlet
= 0.175 – 0.165
= 0.01 bar
And in Pascal unit
= 0.01 x 100000
= 1000 Pa

MinorHead Loss
ΔP
HL = ρg
1000 Pa
= kg m
(995.2 3 ) ×(9.81 2 )
m s
= 0.1023 m

Loss Coefficient
2 g×H Minor
KL = V2
2×9 . 81×0 .1023
= 2 .183 2
52

= 0.4213
% Error
|K L, Theory −K L , Experiment|
% Error= ×100
K L ,Theory

= 63.616 %

ั ันธ์ระหว่างhLoss ก ับ Re
กราฟแสดงความสมพ
6.000

5.000

4.000
2(rough pipe)
3(rough pipe)
hL (m)

3.000 4(metacrylate Pipe)


5(smooth pipe)
6(smooth pipe)
2.000

1.000

0.000
20000 30000 40000 50000 60000 70000 80000
Re
53

ั ันธ์ระหว่างhLoss ก ับ Re
กราฟแสดงความสมพ
0.600

0.500

0.400

3(rough pipe)
hL (m)

0.300 6(smooth pipe)

0.200

0.100

0.000
30000 32000 34000 36000 38000 40000 42000 44000 46000
Re

ั ันธ์ระหว่างhLoss ก ับ Re
กราฟแสดงความสมพ
1.800
1.600
1.400
1.200
1.000 2(rough pipe)
hL (m)

0.800 3(rough pipe)

0.600
0.400
0.200
0.000
25000 30000 35000 40000 45000 50000 55000 60000 65000 70000
Re
54

ั ันธ์ระหว่างhLoss ก ับ Re
กราฟแสดงความสมพ
7.000

6.000

5.000

4.000 4(metacrylate Pipe)


hL (m)

5(smooth pipe)
3.000 6(smooth pipe)

2.000

1.000

0.000
20000 30000 40000 50000 60000 70000 80000
Re

กราฟความสมพ ันธ์ระหว่าง KL ก ับ รูปแบบการเปิ ด vale


120.0000

100.0000

80.0000
ball
Diaphragm
KL

60.0000
Gate
Angle
40.0000

20.0000

0.0000
1 2 3

รูปแบบการเปิ ดvalve
55

บรรณานุกรม 
 
Loss coefficient. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้
จาก http://www.engineeringtoolbox.com/minor-loss- 
coefficients-pipes-d_626.html. วันที่สืบค้น 9 มีนาคม 2559. 
การไหลในท่อ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้
จาก http://www.me.psu.ac.th/~juntakan/215-241fluid/ 
Chapter6/Chapter6.pdf. วันที่สืบค้น 9 มีนาคม 2559. 
การสูญเสียความดันในท่อ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้
จาก http://eng.sut.ac.th/me/2014/laboratory/ 
PressureLoseinPipe.php. วันที่สืบค้น 9 มีนาคม 2559. 
56

ประเภทของวาล์ว. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้
จาก http://tamagozzilla.blogspot.com/2009/08/mo- 
memoir-1_23.html. วันที่สืบค้น 9 มีนาคม 2559. 
มาโนมิเตอร์แบบเดี่ยว. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้
จาก http://www.foodnetworksolution.com/wiki/ 
word/4324/well-type-manometer-มาโนมิเตอร์แบบหลอด
เดี่ยว. วันที่สืบค้น 9 มีนาคม 2559. 
แรงเสียดทาน. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้
จาก https://th.wikipedia.org/wiki/แรงเสียดทาน. วันที่สืบค้น 9  
มีนาคม 2559. 
แรงเสียดทาน. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้
จาก http://pioneer.netserv.chula.ac.th/~rchanat/2103213 
%20MechI/ch6/document/statics%20ch6.pdf. วันที่สืบค้น 
9 มีนาคม 2559. 
 
 
 
 

You might also like