You are on page 1of 20

73

บทที่ 5
เรื่อง วงจรคลิปเปอร์

สาระสาคัญ
วงจรคลิปเปอร์ หรื อวงจรลิมิตเตอร์ เป็ นวงจรตัดรู ปคลื่นสัญญาณไฟสลับที่ส่งเข้ามา ให้มีรูปคลื่นไฟ
สลับที่ออกเอาต์พุ ทเปลี่ยนแปลงไปตามต้องการในลักษณะไม่เป็ นเชิงเส้น ใช้อุปกรณ์พวกสารกึ่งตัวนาเช่น
อุปกรณ์ ไดโอด ซี นเนอร์ ไดโอด ทรานซิ สเตอร์ และเฟต เป็ นต้น วงจรคลิปเปอร์ เบื้องต้นนิยมใช้ไดโอด แบ่ง
ลักษณะการจัดไดโอดในวงจรคลิปเปอร์ ได้เป็ นไดโอดต่อนุกรม และไดโอดต่อขนาน
วงจรคลิปเปอร์ แบบไดโอดต่ออนุกรม มีไดโอดต่ออนุกรมกับตัวต้านทาน สัญญาณออกเอาต์พุ ทเป็ น
สัญญาณตกคร่ อมตัวต้านทาน ไดโอดทางานเป็ นสวิตช์ต่อวงจรมีสัญญาณออกเอาต์พุ ท และไดโอดทางานเป็ น
สวิตช์ตดั วงจรไม่มีสัญญาณออกเอาต์พุท
วงจรคลิปเปอร์ แบบไดโอดต่อขนาน มีไดโอดต่ออนุกรมกับตัวต้านทานมีสัญญาณออกเอาต์พุ ท เป็ น
สัญ ญาณตกคร่ อมไดโอด โดยตัวไดโอดต่อขนานกับขั้วต่อเอาต์พุต ไดโอดทางานเป็ นสวิตช์ต่อวงจรไม่มี
สัญญาณออกเอาต์พุท และไดโอดทางานเป็ นสวิตช์ตดั วงจรมีสัญญาณออกเอาต์พุท

สาระการเรียนรู้
1. วงจรคลิปเปอร์
2. การทางานของวงจรคลิปเปอร์ แบบต่าง ๆ

สมรรถนะประจาหน่ วย
1. อธิบายการทางานของวงจรคลิปเปอร์
2. ประกอบวงจรและใช้เครื่ องมือวัดรู ปสัญญาณได้ถูกต้อง

ผลการเรียนรู้
1. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจอธิบายการทางานของวงจรคลิปเปอร์
2. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจสามารถประกอบวงจรและใช้เครื่ องมือวัดรู ปสัญญาณได้ถูกต้อง

จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิบายลักษณะการทางานของวงจรคลิปเปอร์
2. ประกอบวงจรคลิปเปอร์ได้ถูกต้อง
3. สามารถใช้เครื่ องมือและวัดรู ปสัญญาณของวงจรคลิปเปอร์ ได้อย่างถูกต้อง
74

1. วงจรคลิปเปอร์
วงจรคลิปเปอร์ หรื อวงจรลิมิตเตอร์ เป็ นวงจรตัดรู ปคลื่นสัญญาณไฟสลับที่ส่งเข้ามา ให้มีรูปคลื่นไฟ
สลับที่ออกเอาต์พุ ทเปลี่ยนแปลงไปตามต้องการในลักษณะไม่เป็ นเชิงเส้น ใช้อุปกรณ์พวกสารกึ่งตัวนาเช่น
อุปกรณ์ ไดโอด ซี นเนอร์ ไดโอด ทรานซิ สเตอร์ และเฟต เป็ นต้น วงจรคลิปเปอร์ เบื้องต้นนิยมใช้ไดโอด แบ่ง
ลักษณะการจัดไดโอดในวงจรคลิปเปอร์ ได้เป็ นไดโอดต่อนุกรม และไดโอดต่อขนาน
1.1 คุณสมบัติของวงจรไดโอดคลิปเปอร์
1.1.1 ความหมายของวงจรตัดรู ปสัญญาณ วงจรตัดรู ปคลื่น นับได้วา่ เป็ นวงจรแต่งรู ปคลื่นแบบ
ไม่เชิงเส้นง่ายๆ วงจรหนึ่งซึ่ งสามารถที่จะตัดรู ปคลื่นของกระแสหรื อแรงดันให้มีลกั ษณะตามต้องการได้ดงั
แสดงในรู ปที่ 5.1

รู ปที่ 5.1 แสดงลักษณะรู ปคลื่นที่ปรากฏทางด้านเอาต์พุทของวงจรตัดรู ปคลื่น


ซึ่งมีสัญญาณแรงดันที่อินพุทเป็ นรู ปไซน์

ในรู ปที่ 5.1(ก) เรี ยกว่า วงจรลิมิตเตอร์ (Limiter Circuit) หรื อวงจากัดกล่าวคือยอมให้สัญญาณที่มี
ขนาดน้อยกว่าที่วงจรจากัด (E) สามารถปรากฏที่เอาต์พุ ทได้ และสาหรับรู ปที่ 5.1 (ข) เป็ นวงจรซึ่งสามารถตัด
ยอดคลื่น(บวกหรื อลบ) ของสัญญาณของอินพุทให้ปรากฏที่เอาต์พุท วงจรนี้เรี ยกว่าวงจรคลิปเปอร์ ซึ่ งอย่างไร
ก็ดี วงจรทั้งสองนี้เราอาจเรี ยกรวมกันว่าเป็ นวงจรคลิปเปอร์ ได้เช่นเดียวกันการแสดงรู ปเปรี ยบเทียบระหว่างคลื่น
อินพุทและเอาต์พุ ทจะต้องทาโดยเขียนลักษณะคลื่นที่จะเปรี ยบเทียบอยูบ่ นแกนนอนของเวลาแกนเดียวกันโดย
เรี ยงไว้ในแนวตั้งการเปรี ยบเทียบค่าแรงดันระหว่างอินพุ ทและ เอาต์พุ ทก็จะทาได้โดยการพิจารณาที่ตาแหน่ง
เวลาใดๆ ที่จุดเดียวกันนอกจากนี้อาจจัดแบ่งประเภทของวงจรคลิปเปอร์ ได้ตามลักษณะของอุปกรณ์ ประเภท
แอคตีฟที่ประกอบอยูใ่ นวงจรนั้นๆ ได้เป็ น 2 ประเภทคือ วงจรประเภทที่ใช้ไดโอด และวงจรที่ใช้ทรานซิสเตอร์
วงจรคลิปเปอร์ แบบไดโอดยังสามารถแบ่งออกเป็ นชนิดต่าง ๆ ได้อีก เช่นวงจรคลิปเปอร์ แบบอนุกรม
ไดโอด(Series Diode Clipper Circuit) และวงจรคลิปเปอร์แบบขนานไดโอด (Shunt Diode Clipper Circuit ) ซึ่ง
ความแตกต่างของสองวงจรทั้งสองนี้ก็คือ การเปลี่ยนตาแหน่งของไดโอดที่ใช้ในวงจร ซึ่ งจะกล่าวในหัวข้อ
75

ต่อไปนี้เ ป็ นไดโอดประเภทรอยต่อของสารกึ่งตัวนา ซึ่ งถูกนามาใช้งานในหน้าที่คล้ายกับเป็ นสวิต ช์


อิเล็กทรอนิกส์

รู ปที่ 5.2 แสดงคุณสมบัติความสัมพันธ์ระหว่างกระแสและแรงดันในทางอุดมคติของสวิต ช์จริ งๆ กับไดโอด

1.1.2 คุณสมบัติของไดโอด ไดโอดเป็ นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนาที่มีคุณสมบัติในการทางานขึ้นอยู่


กับสภาวะการจ่ายแรงดันไบ แอสให้แก่ไดโอด สภาวะการจ่ายแรงดันไบ แอสให้ตวั ไดโอดมีอยู่ 2 สภาวะคือ
สภาวะไบ อัส ตรง(Forward Bias) เป็ นสภาวะที่ไดโอดนากระแส คือไดโอดทางาน และสภาวะไบ อัสกลับ
(Reverse Bias ) เป็ นสภาวะที่ไดโอดไม่นากระแสคือไดโอดไม่ทางาน คุณสมบัติในการทางานของตัวไดโอด
แบ่งออกได้เป็ น 2 แบบคือ ไดโอดทางอุดมคติ ( Ideal diode ) และไดโอดที่ใช้งานจริ ง ( Real Diode ) จากการ
เปรี ยบเทียบคุณสมบัติของไดโอดกับสวิต ช์จริ งๆ จะเห็นว่าเมื่อแรงดันตกคร่ อมไดโอดมีลกั ษณะเป็ นไบ อัสตรง
คือขั้วอาโนดมีศกั ย์เป็ นบวกเมื่อเปรี ยบเทียบกับขั้วคาโถดเป็ นบวกเมื่อเปรี ยบเทียบกับขั้วคาโถดแล้วไดโอดจะทา
หน้าที่คล้ายกับปิ ดสวิต ช์ ปล่อยให้กระแสไหลผ่านไปได้ และเมื่อแรงดันของไดโอดมีลกั ษณะเป็ นไบ อัส
ย้อนกลับ(Reverse Bias) คือขั้วอาโนดมีศกั ย์เป็ นลบเมื่อเทียบกับขั้วคาโถดไดโอดจะทาหน้าที่คล้ายกับเปิ ดสวิต ช์
ออกทาให้ไม่มีกระแสไหลผ่านไดโอดหรื อวงจรได้
1.1.3 ไดโอดทางอุดมคติ ( Ideal Diode )ไดโอดชนิดนี้จะเป็ นไดโอดที่คุณสมบัติในการทางาน
เหมือนสวิตช์ไฟฟ้ า คือเมื่อไดโอดถูกจ่ายไบ อัสตรงจะนากระแส เหมือนกับสวิตช์อยูใ่ นสภาวะต่อวงจร (ON)
และเมื่อไดโอดถูกจ่ายไบ อัสกลับจะไม่นากระแส เหมือนกับสวิตช์ตดั วงจร (OFF) สวิตช์ไดโอดจะแตกต่างจาก
สวิตช์ไฟฟ้ าจริ งตรงที่สวิตช์ที่ใช้ไดโอดทางานในขณะที่ไดโอดได้รับไบ อัสตรง ไดโอดจะนากระแสได้น้ นั
แรงดันไบ อัสตรงที่ป้อนให้ตวั ไดโอดจะต้องมากกว่าค่าแรงดันแบตเตอรี่ สมมุติระหว่างรอยต่ออาจเรี ยกว่า
แรงดันแทรสโฮลด์ (Threshold Voltage) หรื อแรงดันคัตอิน (Cut in voltage) ค่าดังกล่าวนี้จะแตกต่างกันขึ้นอยู่
กับชนิดของสารกึ่งตัวนาที่นามาผลิตไดโอด ซึ่งไดโอดชนิดซิลิกอน (Silicon) มีค่าประมาณ 0.7 โวลต์ ไดโอด
ชนิดเจอร์มาเนียม(Germanium) มีค่าประมาณ 0.3 โวลต์ สวิตช์ไดโอดแสดงในรู ปที่ 5.2 กล่าวคือเมื่อสวิตช์ปิด
กระแสจะสามารถไหลในวงจรได้ และเมื่อสวิตช์เปิ ดจะทาให้ไม่มีกระแสไหลในวงจร ซึ่ งในรู ปที่ 5.2 เป็ น
ความสัมพันธ์ระหว่างกระแสและแรงดันของไดโอดในทางอุดมคติ จากการเปรี ยบเทียบคุณสมบัติของไดโอด
76

กับสวิตช์จริ งๆ จะเห็นว่าเมื่อแรงดันตกคร่ อมไดโอดมีลกั ษณะเป็ นไบอัสตรง คือ ที่ข้ วั อาโนดมีศกั ย์เป็ นลบเมื่อ
เทียบกับขั้วคาโถด ไดโอดจะทาหน้าที่คล้ายกับเปิ ดสวิตช์ออกทาให้ไม่มีกระแสไหลผ่านไดโอดหรื อวงจรได้ ใน
รู ปที่ 5.2 (ข) เป็ นคุณสมบัติในทางอุดมคติ แต่ไดโอดที่เรานามาใช้งานจริ งๆ นั้นจะมีลกั ษณะแตกต่างไปจากนี้
และสามารถแสดงได้ในรู ปที่ 5.3 ซึ่ งจะเห็นว่าไดโอดจะเริ่ มทางานและยอมให้กระแสไหลผ่านได้เมื่อได้รับ
แรงดันไบแอสตรงค่าไม่นอ้ ยกว่า 0.3 -0.7 โวลต์ ทั้งนี้ก็เนื่องจากที่รอยต่อของไดโอดในภาวะสมดุลมีค่ากาแพง
ศักย์ตกคร่ อมที่รอยต่ออยูก่ ่อนแล้ว ซึ่ งเมื่อค่าแรงดันไบแอส ตรงมีมากกว่าศักย์น้ ีแล้วกระแสจึงจะไหลผ่าน
ไดโอดได้ กระแสที่ไหลจะมีค่ามากแต่ไม่ถึงกับเป็ นค่าอนันต์(  ) นัน่ คือขณะไดโอดยอมให้กระแสไหลผ่าน
ไดโอดจะทาตัวคล้ายกับตัว
ต้านทานที่มีค่าน้อยๆ ค่าความต้านทานนี้ถูกเรี ยกว่า “ความต้านทานขณะไบอัสตรง ” (D.C.
Forward Resistance) ของไดโอดเขียนแทนด้วยตัว Rf และมีหน่วยเป็ นโอห์ม(  ) และในขณะที่ไดโอดได้รับ
แรงดันไบอัสย้อนกลับ ไดโอดจะยอมให้กระแสไหลผ่านไปได้จานวนน้อยมากเช่นมีขนาดไม่กี่ไมโครแอมป์
หรื อน้อยขนาดนาโนแอมป์ ก็ได้ โดยปกติถา้ เป็ นซิ ลิกอนไดโอดทัว่ ๆ ไปกระแสนี้มีค่าประมาณไม่กี่ไมโครแอมป์
ในภาวะนี้ไดโอดจึงกระทาตัวเสมือนกับเป็ นตัวความต้านทานที่มีค่าค่าสู งมาก ค่าความต้านทานขณะนี้ถูก
เรี ยกว่า “ความต้านทานขณะไบอัสย้อนกลับ ” (Reverse Resistance) ของไดโอดเขียนแทนด้วย Rr มีหน่วยเป็ น
โอห์ม(  ) ความสัมพันธ์ระหว่างกระแสและแรงดันของไดโอดในรู ป 5.3 นั้นอาจเขียนเป็ นสมการได้ดงั นี้

I  I R  qV / kT 1

โดยที่ I คือ กระแสซึ่ งไหลผ่านไดโอด(A)


IR คือ กระแสอิ่มตัวย้อนกลับ(กระแสขณะที่ไดโอดได้รับแรงไบแอสกลับ) (A)
 คือ ค่าเอ็กโพเนนเชี่ยล เท่ากับ 2.718
q คือ ประจุของอิเล็กตรอน เท่ากับ 1.602 1019 คูลอมบ์ (C)
T คือ ค่าอุณหภูมิสัมบูรณ์ มีหน่วยเป็ นเคลวิล (K)
V คือ แรงดันที่ตกคร่ อมไดโอด (V)
kT  26 mV ที่อุณหภูมิ 25 Co โดยที่ k คือ ค่าคงที่ของโบสต์มนั = 138x10-23 จูลส์ต่อ
q
องศาเซลเซียส

สมการนี้ถูกเรี ยกว่า “สมการไดโอด”( Diode Equation) ซึ่ งจะเห็นว่ากระแสที่ไหลผ่านไดโอดขึ้นอยูก่ บั


แรงดันที่ตกคร่ อมไดโอด และอุณหภูมิส่วนค่าอื่น ๆ นั้นเป็ นค่าคงที่ และอาจประมาณได้วา่ ที่แรงดันไบอัส
กลับมีค่าสู ง กระแสที่ไหลผ่านไดโอดก็คือ ค่ากระแสอิ่มตัวย้อนกลับซึ่ งเป็ นค่าคงที่ๆ อุณหภูมิหนึ่งๆ เมื่อ
อุณหภูมิเพิ่มขึ้นกระแสนี้ก็จะเพิ่มขึ้นด้วย สาหรับค่าความต้านทานไบ อัสตรง( Rf ) และค่าความต้านทานไบ อัส
77

กลับ(Rr) ของไดโอดนั้นสามารถวัด หรื อคานวณหาได้จาก กราฟความสัมพันธ์ระหว่างกระแสและแรงดันของ


ไดโอด ดังแสดงในรู ปที่ 5.3 ซึ่ งเป็ นกราฟโดยการประมาณ ค่าของ If และ Vf ในรู ปนี้ทางบริ ษทั ผูผ้ ลิตจะแจ้งไว้

รู ปที่ 5.3 แสดงกราฟความสัมพันธ์ระหว่างกระแสและแรงดันของไดโอดโดยประมาณ

ค่าประมาณของ Rf ก็คือ ค่าความชัน(Slope) ทางด้านไบแอสตรงของรู ปที่ 5.3 จะได้สมการว่า

Vf V V
Rf   I1  I 2
I f 1 2

ค่าประมาณของ Rr ก็คือค่าความชัน ทางด้านไบอัสกลับของรู ปที่ 5.3 จะได้สมการว่า

Vr V V
Rr   I4  I 3
I r 4 3

2. การทางานของวงจรคลิปเปอร์ แบบต่ าง ๆ
วงจรคลิปเปอร์ คือวงจรคลิปเปอร์ ประเภทที่ใช้ไดโอดซึ่ งแบ่งออก เป็ น 2 แบบ คือวงจรคลิปเปอร์แบบ
อนุกรมไดโอด และ วงจรคลิปเปอร์แบบขนานไดโอด
2.1. วงจรคลิปเปอร์แบบอนุกรมไดโอด

รู ปที่ 5.4 แสดงลักษณะของวงจรและรู ปคลื่นของแรงดันที่เอาต์พุ ทของวงจรคลิปเปอร์แบบอนุกรมไดโอด


78

การทางานของวงจรอธิ บายได้ดงั นี้ กล่าวคือเมื่อสัญญาณจากอินพุ ททาให้ตวั ไดโอดอยูใ่ นลักษณะ


ได้รับแรงดันไบอัสตรง กระแสก็จะไหลผ่านไดโอดได้ ทาให้เกิดแรงดันปรากฏที่เอาต์พุท ซึ่งในรู ปที่ 5.4 กรณี
นี้จะเกิดขึ้นได้ เมื่อแรงดันอินพุ ทมีค่าเป็ นบวก และตรงกันข้ามเมื่อแรงดันอินพุ ทเป็ นลบตัวไดโอดจะได้รับ
แรงดันไบอัสกลับ ทาให้กระไหลผ่านไดโอดไม่ได้ ดังนั้นจึงไม่มีกระแสไหลผ่านตัวต้านทานค่าแรงดันเอาต์พุ ท
จึงเป็ นศูนย์ จึงทาให้ได้รูปสัญญาณตามรู ปที่ 5.4
2.2 วงจรคลิปเปอร์แบบขนานไดโอด

รู ปที่ 5.5 แสดงลักษณะของวงจรและรู ปคลื่นของแรงดันที่เอาต์พุ ทของวงจรคลิปเปอร์แบบขนานไดโอด

การทางานของวงจรอธิ บายได้ดงั นี้ กล่าวคือเมื่อสัญญาณจากอินพุททาให้ตวั ไดโอดอยูใ่ นลักษณะได้รับ


แรงดันไบอัสกลับ กระแสก็จะไหลผ่านไดโอดไม่ได้ ทาให้เกิดแรงดันปรากฏที่เอาต์พุท ซึ่งในรู ปที่ 5.5 กรณี น้ ี
จะเกิดขึ้นได้ เมื่อแรงดันอินพุทมีค่าเป็ นบวก และตรงกันข้ามเมื่อแรงดันอินพุ ทเป็ นลบตัวไดโอดจะได้รับแรงดัน
ไบอัสตรงทาให้กระไหลผ่านไดโอดได้ ดังนั้นจึงมีกระแสไหลผ่านตัวต้านทาน ค่าแรงดันเอาต์พุ ทจึงเป็ นศูนย์
จึงทาให้ได้รูปสัญญาณตามรู ปที่ 5.5
2.3 พารามิเตอร์ของวงจรคลิปเปอร์แบบไดโอด ที่ใช้งานจริ งวงจรคลิปเปอร์แบบไดโอด ซึ่งนามาใช้
งานจริ งๆ นั้นค่าความต้านทานในวงจรจะต้องมีค่าที่เหมาะสมทั้งนี้ก็เพื่อจุดประสงค์ใหญ่ 2 ประการคือ
2.3.1 ขณะที่ไดโอดได้รับแรงดันไบ อัสตรง ขนาดของแรงดันที่เอาต์พุ ทจะต้องเท่ากับขนาด
ของแรงดันที่อินพุท
2.3.2 ขณะที่ไดโอดได้รับแรงดันไบ อัสกลับ ขนาดของแรงดันที่เอาต์พุ ทจะต้องมีค่าเท่ากับ
ศูนย์

รู ปที่ 3.6 แสดงวงจรเปรี ยบเทียบของวงจรคลิปเปอร์แบบไดโอด


79

ดังนั้นจึงคล้ายกับว่าในวงจรประกอบด้วยตัวต้านทานสองตัวอนุกรมกันอยู่ และมีลกั ษณะคล้ายกับ


วงจรแบ่งแรงดันดังนั้นจะได้สมการดังนี้
แรงดันเอาต์พุทขณะไบอัสตรง e o  e in RRf  R

แรงดันเอาต์พุทขณะไบแอสกลับ e o  e in R R R
r

การหาค่าความต้านทาน R คานวณได้จาก R  Rf Rr

เมื่อค่าความต้านทาน R ที่ตอ้ งการ ต้องเป็ นไปตามเงื่อนไข R f  R  R r


เมื่อ R คือ ค่าความต้านทานของตัวต้านทานในวงจร
Rf คือ ค่าความต้านทานของไดโอดขณะไบอัสตรง
Rr คือ ค่าความต้านทานของไดโอดขณะไบอัสกลับ

ตัวอย่างที่ 5.1 จงคานวณหาค่าความต้านทาน R โดยอาศัยกราฟความสัมพันธ์ในรู ปที่ 5.7

รู ปที่ 5.7 แสดงลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างกระแส และแรงดันของไดโอดอย่างประมาณ

วิธีทา
Vf V V
Rf   I1  I 2
I f 1 2
1V  0V
R f  10mA  0A  101mAV
80

Rf  100 
Vr V V
Rr   I4  I 3
I r 4 3
75V  0V
R r  5 A  0A  575VA

R r  15 M

R  Rf Rr
R  100 15 10 6
R  38.73 k
R  39 k
ตัวอย่างที่ 5.2 จงคานวณหาค่าแรงดันเอาต์พุทขณะไดโอดได้รับไบอัสตรงและไบอัสกลับโดยอาศัย
ความสัมพันธ์จากรู ปที่ 5.7 โดยมีแรงดันอินพุทเท่ากับ 5 V
วิธีทา จากตัวอย่างที่ 5.1 จะได้วา่
Rf  100 
R r  15 M
R  39 k
แรงดันเอาต์พุทของไดโอดขณะไบอัสตรง หาได้จาก
e o  e in R R R
f
3
e o  5 39 10 3
100  39 10
3
e o  5V 39 10 3
39.110
e o  5 0.997
e o  4.985 V
แรงดันเอาต์พุทของไดโอดขณะไบอัสกลับ หาได้จาก
e o  e in R R R
r

eo  5 39 10 3
15 10 9  39 10 3
3
e o  5 39 10 9
15.039 10
e o  5  2.593 103
e o  0.0129 V
81

2.4 การประยุกต์วงจรคลิปเปอร์
การประยุกต์วงจรคลิปเปอร์ แบบไดโอดนั้นขึ้นอยูก่ บั ว่าจะออกแบบวงจรอย่างไร จะให้รูปคลื่นออกมา
เป็ นอย่างไรหรื อจะนาไปใช้กบั งานอะไรนั้น ซึ่ งในหัวข้อนี้จะอธิ บายการออกแบบเบื้องต้นเพียงบางวงจรเท่านั้น
เพื่อเป็ นแนวทางในการออกแบบวงจรคลิปเปอร์ แบบอื่นๆ ต่อไป
2.4.1 วงจรคลิปเปอร์แบบอนุกรมไดโอดที่มีการให้ไบอัสไดโอดด้วยแบตเตอรี่

รู ปที่ 5.8 วงจรคลิปเปอร์แบบอนุกรมไดโอดที่มีการให้ไบอัสไดโอดด้วยแบตเตอรี่

จากรู ปที่ 5.8 เป็ นวงจรคลิปเปอร์แบบอนุกรมไดโอด มีแบตเตอรี่ จา่ ยเป็ นไบ อัสกลับให้ตวั
ไดโอดสามารถอธิ บายวงจรได้ดงั นี้ ขณะไม่มีสัญญาณไซน์ป้อนเข้ามา แบตเตอรี่ E จะจ่ายแรงดันไบอัสกลับให้
ไดโอด(D) ไดโอดจะไม่นากระแส เมื่อมีสัญญาณไซน์ป้อนเข้ามาที่ ein มีข้ วั บนเป็ นบวก(+) ขั้วล่างเป็ นลบ(-) ทา
ให้ไดโอด ได้รับแรงดันไบ อัส 2 ชุด ชุดที่หนึ่งจากแบตเตอรี่ E จ่ายแรงดันไบอัสกลับให้ไดโอด ชุดที่สองจาก
แรงดันไซน์ที่ ein จ่ายไบอัสตรงให้ไดโอด ทาให้ไดโอดได้รับทั้งไบ อัสตรงและไบ อัสกลับการทางานของ
ไดโอด จะขึ้นอยูก่ บั ศักย์ไบ อัสทั้งสอง ถ้าศักย์ไบ อัสของแบตเตอรี่ E มากกว่าศักย์ไบ อัสของแรงดันไซน์ที่ ein
ไดโอด จะได้รับแรงดันไบอัสกลับ ไดโอดไม่นากระแสไม่มีสัญญาณออกเอาต์พุ ท eo ถ้าศักย์ไบอัสของแรงดัน
ไซน์ที่ ein มากกว่าศักย์ไบ อัสของแบตเตอรี่ E ไดโอดจะได้รับแรงดันไบอัสตรง ไดโอดนากระแส มีกระแส
ไหลผ่านตัวต้านทาน เกิดศักย์ตกคร่ อมที่ตวั ต้านทาน เป็ นสัญญาณออกเอาต์พุท eo เมื่อมีสัญญาณไซน์ป้อนเข้ามา
ที่ ein มีข้ วั บนเป็ นลบ(-) ขั้วล่างเป็ นบวก(+) ทาให้ไดโอด ได้รับแรงดันไบ อัสกลับ 2 ชุด ชุดที่หนึ่งจากแบตเตอรี่
E จ่ายแรงดันไบอัสกลับให้ไดโอด ชุดที่สองจากแรงดันไซน์ที่ ein จ่ายไบอัสกลับให้ไดโอด เช่นกันทาให้ไดโอด
ได้รับแรงดันไบอัส กลับตลอดเวลา ไดโอด จะไม่นากระแส ไม่มีกระแสไหลผ่านตัวต้านทาน R ไม่เกิดศักย์
ตกคร่ อมที่ตวั ต้านทาน ไม่มีสัญญาณออกเอาต์พุท eo จะได้ดงั รู ปที่ 3.8
82

2.4.2 วงจรคลิปเปอร์แบบขนานไดโอดที่มีการให้ไบอัสไดโอดด้วยแบตเตอรี่

รู ปที่ 5.9 แสดงวงจรคลิปเปอร์แบบขนานไดโอดที่มีการให้ไบแอสไดโอดด้วยแบตเตอรี่


จากรู ปที่ 5.9 เป็ นวงจรคลิปเปอร์ แบบขนานไดโอด มีแบตเตอรี่ จ่ายเป็ นไบอัสกลับให้ตวั ไดโอดสามารถ
อธิ บายวงจรได้ดงั นี้ ขณะไม่มีสั ญญาณไซน์ป้อนเข้ามา แบตเตอรี่ E จะจ่ายแรงดันไบ อัสกลับให้ไดโอด
ตลอดเวลา ไดโอดจะไม่นากระแส เมื่อมีสัญญาณไซน์ป้อนเข้ามาที่ ein มีข้ วั บนเป็ นบวก(+) ขั้วล่างเป็ นลบ(-)
ทาให้ไดโอดได้รับแรงดันไบอัส 2 ชุด ชุดที่หนึ่งจากแบตเตอรี่ E จ่ายแรงดันไบอัสกลับให้ไดโอด ชุดที่สองจาก
แรงดันไซน์ที่ ein จ่ายไบอัสตรงให้ไดโอด ทาให้ไดโอดได้รับทั้งไบ อัสตรงและไบ อัสกลับ การทางานของ
ไดโอด จะขึ้นอยูก่ บั ศักย์ไบ อัสทั้งสอง ถ้าศักย์ไบ อัสของแบตเตอรี่ E มากกว่าศักย์ไบอัสของแรงดันไซน์ที่ ein
ไดโอด จะได้รับแรงดันไบ อัสกลับ ไดโอดไม่นากระแส ทาให้สั ญญาณไซน์ที่ ein ในส่ วนที่แรงดันน้อยกว่า
แบตเตอรี่ E ถูกส่ งออกเอาต์พุ ทที่ eo ถ้าศักย์ไบอัสของแรงดันไซน์ที่ ein มากกว่าศักย์ไบ อัสของแบตเตอรี่ E
ไดโอด จะได้รับแรงดันไบ อัสตรงไดโอดนากระแส ทาให้สั ญญาณไซน์ที่ ein ในส่ วนที่แรงดันมากกว่า
แบตเตอรี่ E ถูกกาจัดทิง้ ไปไม่ส่งออกเอาต์พุ ท eo เมื่อมีสัญญาณไซน์ป้อนเข้ามาที่ ein มีข้ วั บนเป็ นลบ(-) ขั้วล่าง
เป็ นบวก(+) ทาให้ไดโอดได้รับแรงดันไบ อัสกลับ 2 ชุด ชุดที่หนึ่งจากแบตเตอรี่ E จ่ายแรงดันไบอัสกลับให้
ไดโอด ชุดที่สองจากแรงดันไซน์ที่ ein จ่ายไบอัสกลับให้ไดโอด เช่นกัน ทาให้ไดโอด ได้รับแรงดันไบ อัสกลับ
ตลอดเวลา ไดโอด จะไม่นากระแสทาให้สัญญาณไซน์ที่ ein ซี กลบถูกส่ งออกเอาต์พุ ท eo ทั้งซี ก จะได้ดงั รู ปที่
5.9
2.4. 3. วงจรคลิปเปอร์ที่ใช้ซีเนอร์ไดโอดเป็ นตัวไบ อัสไดโอด ซีเนอร์ไดโอด(Zener Diode) ก็
คือไดโอดที่ผลิตขึ้นมาจากอุปกรณ์สารกึ่งตัวนา ชนิด P และชนิด N เช่นเดียวกับไดโอดธรรมดา มีขาต่อใช้งาน
2 ขา คือขาอาโนด (A) และคาโถด (K) เช่นเดียวกับไดโอดธรรมดา ส่ วนที่แตกต่างไปจากไดโอดธรรมดาตรง
กระบวนการผลิต ซี เนอร์ ไดโอดมีเทคนิคพิเศษในการผลิตทาให้สามารถทางานได้ในช่วงไบ อัสกลับโดย
สามารถกาหนดแรงดันให้คงที่ค่าหนึ่งตามค่าแรงดันพังของซี เนอร์ (Zener Breakdown Voltage) การนาซีเนอร์
ไดโอดไปใช้งานเมื่อจ่ายแรงดันไบอัสตรงให้ ซี เนอร์ ไดโอดจะทางานเหมือนไดโอดธรรมดา และเมื่อจ่ายไบ อัส
กลับให้ ซีเนอร์ไดโอดจะทางานที่จุดซีเนอร์เบรกดาวน์ หรื อแรงดันพังของซีเนอร์ (Vz) คุณสมบัติของซีเนอร์
ไดโอดแสดงด้วยกราฟคุณสมบัติจะคล้ายกับกราฟคุณสมบัติของไดโอดธรรมดา แสดงดงรู ปที่ 5.10
83

รู ปที่ 5.10 แสดงกราฟคุณสมบัติของซีเนอร์ไดโอด

วงจรคลิปเปอร์ที่ใช้ซีเนอร์ไดโอดเป็ นตัวไบ อัสไดโอด ซึ่งขอให้สังเกตที่ตวั ของซีเนอร์ไดโอดในขณะ


ไดรับแรงดันไบอัสกลับ จะมีการทางานคล้ายกับเป็ นแหล่งจ่ายไฟกระแสตรงหรื อแบตเตอรี่

ก ) แสดงวงจรเสมือนของวงจรคลิปเปอร์ที่ใช้ซีเนอร์ไดโอดเป็ นตัวไบอัสไดโอด

ข ) แสดงรู ปสัญญานของวงจรคลิปเปอร์ที่ใช้ซีเนอร์ไดโอดเป็ นตัวไบอัสไดโอด


รู ปที่ 5.11 แสดงวงจรและรู ปคลื่นที่เอาต์พุทของวงจรคลิปเปอร์ที่ใช้ซีเนอร์ไดโอดเป็ นตัวไบอัสไดโอด

ดังนั้นจากวงจรในรู ปที่ 5.11 (ก) ซีเนอร์ไดโอดจึงทาหน้าที่แทนแบตเตอรี่ E กล่าวได้คือ ในช่วงที่


แรงดันอินพุทมีค่าเป็ นลบซี เนอร์ ไดโอด Dz จะได้รับแรงดันไบอัสตรงจึงคล้ายกับเป็ นสวิตช์ปิดแต่ไดโอด ซึ่ งต่อ
อนุกรมอยูจ่ ะได้รับแรงดันไบ อัสกลับจึงคล้ายกับสวิตช์เปิ ด เมื่อสวิตช์สองสวิตช์ต่ออนุกรมกันอยู่ ถ้าหากมี
84

สวิตช์หนึ่งสวิตช์ใดเปิ ด วงจรก็จะถูกเปิ ดออกทาให้ไม่มีกระแสไหลผ่าน ดังนั้นแรงดันเอาต์พุ ทขณะนี้จึงเท่ากับ


แรงดันอินพุ ท และในช่วงแรงดันอินพุ ทมีค่าเป็ นบวกน้อยกว่า “แรงดันพังของซีเนอร์ ” Vz ซี เนอร์ ก็จะได้รับ
แรงดันไบอัสกลับจึงคล้ายกับเป็ นสวิตช์เปิ ด แต่ไดโอดจะคล้ายกับปิ ด ดังนั้นแรงดันเอาต์พุทขณะนี้ก็ยงั คงเท่ากับ
แรงดันอินพุ ท แต่เมื่อขนาดของแรงดันอินพุ ทมีค่าเป็ นบวกมากกว่าแรงดันพังของซี เนอร์ Vz แล้วซีเนอร์
ไดโอดก็จะได้รับแรงดัน ไบอัสกลับค่ามากกว่า Vz นั้นคือซี เนอร์ ไดโอดจะยอมให้กระแสไหลผ่านได้ คล้ายกับ
เป็ นสวิตช์ปิดเหมือนกับไดโอด ดังนั้นจึงคล้ายกับสวิตช์ปิดสองตัวอนุกรมกันอยู่ แต่ซีเนอร์ ไดโอดจะมีแรงดัน
Vz ตกคร่ อมอยูอ่ ย่างคงที่ ดังนั้นสัญญาณแรงดันทางด้านเอาต์พุ ทจึงมีค่าเท่ากับแรงดันพังของซี เนอร์ Vz ตลอด
ช่วงเวลานี้ดงั แสดงในรู ปที่ 5.11(ข) ซึ่ งสมมุติวา่ แรงดันพังของซี เนอร์ มีค่าเท่ากับ E โวลต์ เหมือนแบตเตอรี่
2.5 วงจรคลิปเปอร์ ไดโอดที่นาไปประยุกต์ใช้งานจริ งตัวอย่างวงจรที่จะกล่าวถึงคือวงจรคลิปเปอร์
สัญญาณรบกวนแบบอนุกรมไดโอด(Series Noise Clipper) บางกรณี สัญญาณทางไฟฟ้ าอาจมีสัญญาณรบกวน
(Noise) ที่ไม่ตอ้ งการปะปนมากับสัญญาณหลัก เช่นในรู ปที่ 5.12

รู ปที่ 5.12 แสดงวงจรคลิปเปอร์สัญญาณรบกวนแบบอนุกรมไดโอด(Series Noise Clipper)

จะเห็นว่าสัญญาณอินพุ ทมีสัญญาณรบกวนที่บริ เวณจุด 0 โวลต์ สามารถใช้วงจรคลิปเปอร์สัญญาณ


รบกวนแบบอนุกรมไดโอด โดยการต่อไดโอด D1, D2 แบบ Anti Parallel 1 คู่ และต่ออนุกรมกับสัญญาณ
อินพุท ดังรู ป 5.12 D1 จะตัดสัญญาณรบกวนด้านบวกออก และ D2 จะตัดสัญญาณรบกวนด้านลบออกโดยมี
ย่าน Dead Zone เท่ากับ  Vf ในกรณี ที่สัญญาณรบกวนมีค่ามากกว่าย่าน Dead Zone สามารถแก้ไขโดยการ
ต่อไดโอดอนุกรมกับ D1 และ D2 เพิ่มขึ้นอีกได้ ขนาดของแรงดันเอาต์พุ ทด้านบวกสู งสุ ดจะเท่ากับ  E  Vf 
และขนาดของแรงดันด้านลบเท่ากับ  E  Vf  ดังรู ปที่ 5.12
85

2.6 ข้อดี และข้อเสี ยในการออกแบบวงจรคลิเปอร์แบบไดโอด


โดยทัว่ ไปการนาวงจรคลิปเปอร์ ไปใช้งานเพื่อให้วงจรทางานได้อย่างสมบูรณ์ รู ปคลื่นที่ถูกตัดมีความ
คมดี จะต้องคานึงถึงขนาดของแรงดันอินพุ ทนี้ ให้มีค่ามากกว่าค่าแรงดันเทรสโฮลด์ของไดโอดหลา ยๆ เท่า
ข้อดีของวงจรคลิปเปอร์ แบบไดโอดต่างๆ คือ ออกแบบง่ายไม่ซบั ซ้อน เสถียรภาพของวงจรดี ราคาถูก
2.6.1 ข้อเสี ยของวงจรคลิปเปอร์ แบบอนุกรมไดโอด ก็คือในขณะที่ไดโอดในวงจรนี้ได้รับ
แรงดันไบอัสกลับ ไดโอดจะไม่ยอมให้กระแสไหลผ่าน แต่ที่รอยต่อของไดโอดมีคุณสมบัติเป็ นตัวเก็บประจุ
จะทาหน้าที่คล้ายกับตัวคัปปลิ้ง (Coupling ) ดังนั้นถ้าหากสัญญาณอินพุ ทมีความถี่สูงก็อาจจะผ่านไดโอดนี้ไป
ได้นนั่ คือมีกระแสไหลได้ท้ งั ๆ ที่ไดโอดได้รับแรงดันไบอัสกลับ
2.6.2 สาหรับข้อเสี ยของวงจรคลิปเปอร์ แบบขนานไดโอด ก็มีเช่นเดียวกัน กล่าวคือเมื่อ
ไดโอดได้รับไบ อัสกลับ ไดโอดก็จะทาตัวคล้ายกับตัวเก็บประจุยอมให้สัญญาณความถี่สูงผ่านได้ ผลเสี ยก็คือ
บริ เวณมุมของสัญญาณแรงดันที่เอาต์พุ ทจะไม่คมแต่มีลกั ษณะเป็ นเส้นโค้ง ซึ่ งผูอ้ อกแบบและนาไปใช้งาน
จะต้องคานึงถึง และแก้ไขผลเสี ยดังกล่าวซึ่ งอาจเกิดขึ้นได้น้ ีดว้ ย
86

ขั้นตอนการทดลอง
การทดลองเรื่อง วงจรคลิปเปอร์
1. ประกอบวงจรตามรู ป1

Ei
Eo
R=10K

รู ปที่1
2. ปรับเครื่ องกาเนิดสัญญาณแบบสี่ เหลี่ยม ความถี่ 1 KHz ความแรงประมาณ 10 Vp-p ป้ อนเข้า
อินพุทของวงจร
3. ใช้ออสซิลโลสโคปวัดสัญญาณ อินพุทและเอาต์พุท ของวงจร

Ei
Ei = ……………… Vp-p

Eo
Eo = ……………… Vp-p

4. ต่อวงจรตามรู ปที่ 2
D

Ei
Eo
R=10K

รู ปที่ 2
87

5. ใช้ออสซิลโลสโคปวัดสัญญาณ อินพุทและเอาต์พุท ของวงจร

Ei
Ei = ……………… Vp-p

Eo

Eo = ……………… Vp-p

6. ต่อวงจรตามรู ปที่ 3
R=10K

Ei
Eo
D

รู ปที่ 3

7. ใช้ออสซิลโลสโคปวัดสัญญาณ อินพุทและเอาต์พุทของวงจร

Ei = ……………… Vp-p
Ei

Eo

Eo = ……………… Vp-p
88

8. ต่อแบตตอรี่ อนุกรมกับไดโอดดังรู ป 4
R=10K

Ei
D Eo
+5V

1.5 V
-5V

รู ปที่ 4

9. ใช้ออสซิลโลสโคปวัดสัญญาณ อินพุทและเอาต์พุท ของวงจร

Ei
Ei = ……………… Vp-p

Eo
Eo = ……………… Vp-p

10. ต่อวงจรตามรู ปที่ 5


R=330

Ei D
+5V Eo

Dz
3.3 V
-5V

รู ปที่ 5
89

11. ใช้ออสซิลโลสโคปวัดสัญญาณ อินพุทและเอาต์พุท ของวงจร

Ei

Ei = ……………… Vp-p

Eo

Eo = ……………… Vp-p

12. สรุ ปและวิจารณ์การทดลอง


……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
90

แบบฝึ กหัดบทที่ 5 เรื่อง วงจรคลิปเปอร์


คาชี้แจง จงตอบคาถามโดยเติมคาในช่องว่างให้สมบูรณ์
1. วงจรคลิปเปอร์หรื อวงจรลิมิตเตอร์ คืออะไร
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
2.วงจรคลิปเปอร์ แบบไดโอดต่ออนุกรม มีลกั ษณะเป็ นอย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
3. วงจรคลิปเปอร์ แบบไดโอดต่อขนาน มีลกั ษณะเป็ นอย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
4. จงอธิบายหลักการทางานของวงจรคลิปเปอร์ที่ใช้ซีเนอร์ไดโอดเป็ นตัวไบแอสไดโอด
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
5. จงอธิบายหลักการทางานวงจรคลิปเปอร์แบบขนานไดโอดที่มีการให้ไบแอสไดโอดด้วยแบตเตอรี่
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
6. จงอธิบายหลักการทางานวงจรคลิปเปอร์แบบอนุกรมไดโอดที่มีการให้ไบแอสไดโอดด้วยแบตเตอรี่
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
91

……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
7. จงอธิบายหลักการทางานพารามิเตอร์ของวงจรคลิปเปอร์แบบไดโอด ที่ใช้งานจริ งวงจรคลิปเปอร์แบบ
ไดโอด
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
8. จงอธิบายหลักการทางานวงจรคลิปเปอร์แบบอนุกรมไดโอด
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
9. จงอธิบายหลักการทางานวงจรคลิปเปอร์แบบขนานไดโอด
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
10. จงคานวณหาค่าแรงดันเอาต์พุ ทขณะไดโอดได้รับไบแอสตรงและไบแอสกลับโดยอาศัยความสัมพันธ์จาก
รู ปที่ 5.7 โดยมีแรงดันอินพุตเท่ากับ 5 V โดยที่ R f  200 Ω , R r  15 MΩ และ R  39 k
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
92

……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………

You might also like