You are on page 1of 14

Lesson 01

ตัวเก็บประจุ
Capacitor
ตัวเก็บประจุ

อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์
ชนิดหนึ่ง ที่ถูกออกแบบ มา
ใช้ทำหน้าที่ เก็บพลังงานใน
รูปแบบของสนามไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุ Capacitor
หลักการทำงาน
สัญลักษณ์
ตัวเก็บประจุ
แต่ละชนิด
1. ตัวเก็บประจุแบบค่าคงที่
(Fixed Capacitor)

คือตัวเก็บประจุที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงค่าได้ โดยปกติ
จะมีรูปลักษณะเป็นวงกลม หรือเป็นทรงกระบอก ซึ่งมัก
แสดงค่าที่ตัวเก็บประจุ เช่น 5 พิโกฟารัด (pF) 10
ไมโครฟารัด ( F) แผ่นเพลทตัวนำมักใช้โลหะและมีไดอิ
เล็กตริกประเภท ไมก้า เซรามิค อิเล็กโตรไลติกคั่นกลาง
เป็นต้น
1. ตัวเก็บประจุแบบค่า
คงที่(Fixed Capacitor)
ไบโพล่าร์
แทนทาลั่มอิเล็กโตรไลด์
ชนิดอิเล็กโตรไรต์
1. ตัวเก็บประจุแบบค่า
คงที่(Fixed Capacitor)
ซิลเวอร์ไมก้า
ไมล่าร์
เซรามิค
2. ตัวเก็บประจุแบบปรับค่าได้
(Variable Capacitor)

ค่าการเก็บประจุจะเปลี่ยนแปลงไปตามการเคลื่อนที่ของ
แกนหมุน โครงสร้างภายในประกอบด้วย แผ่นโลหะ 2 แผ่น
หรือมากกว่าวางใกล้กัน แผ่นหนึ่งจะอยู่กับที่ส่วนอีกแผ่น
หนึ่งจะเคลื่อนที่ได้ ไดอิเล็กตริกที่ใช้มีหลายชนิดด้วยกันคือ
อากาศ ไมก้า เซรามิค และพลาสติก เป็นต้น
3. ตัวเก็บประจุแบบเลือกค่าได้
(Select Capacitor)

คือตัวเก็บประจุในตัวถัง
เดียว แต่มีค่าให้เลือกใช้
งานมากกว่าหนึ่งค่าดัง
แสดงในรูป
Lesson 02

ตัวเหนี่ยวนำ
Inductor
พงศกร แสงเพิ่ม
ตัวเหนี่ยวนำ Inductor
มีคุณสมบัติในการป้องกันการเปลี่ยนแปลง
ของกระแสไฟฟ้า ที่ไหลผ่านตัวมัน เช่น ลวด
ทองแดงพันเป็นวงกลม เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหล
ผ่านตัวมัน พลังงานจะถูกสะสมเก็บไว้ชั่วคราว
ในรูปแบบของ สนามแม่เหล็ก เมื่อกระแสไฟฟ้า
นั้นมีการเปลี่ยนแปลง จะทำให้เกิดแรงดันไฟฟ้า
ในตัวนำนั้น ตามกฏการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้า
ของ ฟาราเดย์
Indicator หรือ ตัวเหนี่ยวนำ
สัญลักษณ์
RULE 01

อัตราส่วนของแรงดันไฟฟ้า กับ
อัตราการเปลี่ยนแปลงของ
กระแสไฟฟ้า มีหน่วยเป็น เฮนรี่
Henries (H) ตัวเหนี่ยวนำมีค่า
ปกติตั้งแต่ 1ไมโครเฮนรี่ จนถึง
1เฮนรี่ ตัวเหนี่ยวนำจำนวนมาก
นิยมใช้ แกนเฟอร์ไรด์ เป็นแกน
ชนิดของตัวเหนี่ยวนำ
แกนอากาศ
มักถูกนำมาใช้กับความถี่สูง แกนเฟอร์ไรท์
เช่น ความถี่วิทยุ
ถูกใช้ในภาครับวิทยุ แกนเทอร์ลอย
TOROID
จะถูกใช้เป็น หม้อแปลงเทอร์ลอย
ชนิดของตัวเหนี่ยวนำ
ตัวเหนี่ยวนำแปรค่าได้
CHOKE
มักถูกใช้ใน ภาครับของวิทยุ
โช๊คถูกออกแบบโดย ครับ
เฉพาะสำหรับการปิดกั้น
ไฟฟ้ากระแสสลับ (AC)
ความถี่สูงในวงจรไฟฟ้า
ขณะที่ยอมให้ความถี่ที่
ต่ำกว่าหรือกระแส DC
สามารถผ่านไปได้

You might also like