You are on page 1of 23

CAPACITOR

คาปาซิเตอร์หรือตัวเก็บประจุ
เป็ นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทาหน้าที่ในการเก็บสะสมประจุไฟฟ้า
(Charge) หรื อ คายประจุไ ฟฟ้ า (Discharge) แรงเคลื่ อ นไฟฟ้ าไม่
สามารถตกคล่ อ มคาปาซิ เ ตอร์ทั น ที แ ต่ต อ้ งใช้เ วลาให้มัน ค่ อ ย ๆ
เปลี่ยนแปลงประจุไฟฟ้า
สัญลักษณ์ของ CAPACITOR

แบบมีขวั้ แบบไม่มขี วั้ แบบเปลี่ยนค่าได้


ลักษณะทางกายภาพ
ตัว เก็ บ ประจุนั้น ประกอบด้ว ยขั้ว ไฟฟ้ า (หรื อ เพลต) 2 ขั้ว แต่ ล ะขั้ ว จะ
เก็บประจุชนิดตรงกันข้ามกันและมีฉนวนหรือไดอิเล็ กตริกเป็ นตัวแยกคัน่ กลาง
ระหว่างเพลตเนื่องจากแต่ล ะเพลตจะเก็ บประจุชนิด ตรงกันข้าม แต่มีปริ ม าณ
เท่ากันดังนัน้ ประจุสทุ ธิในตัวเก็บประจุจึงมีค่าเท่ากับศูนย์เสมอ
Dielectric
ไดอิ เ ล็ก ตริ ก คื อวัสดุ ที่ไ ม่ นำไฟฟ้ ำ
ถ้ำใช้ก้ นั ระหว่ำงแผ่นตัวนำของตัวเก็บ
ประจุจะทำให้ค่ำควำมจุสูงขึ้ น ขึ้ นอยู่
กับค่ำคงที่ของไดอิเล็กตริ กแต่ละตัวที่
แตกต่ ำ งกัน ออกไป ค่ ำ คงที่ ไ ดอิ เ ล็ ก
ตริ ก เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์
ถ้ำเรำใช้ไดอิเล็กตริ กชนิดเซรำมิก (ceramic) แทนไดอิเล็กตริ กชนิดอำกำศ เรำจะได้ตวั
***

เก็บประจุที่มีค่ำควำมจุเพิ่มเป็ น 3 เท่ำของไดอิเล็กตริ กชนิดอำกำศ


การทางานของตัวเก็บประจุ
การเก็บประจุ
การเก็บอิเล็กตรอนไว้ที่แผ่นเพลตของตัวเก็บประจุ เมื่อนาแบตเตอรี่อื่นๆ ต่อกับตัวเก็ บประจุ อิเล็กตรอน
จากขั้วลบของแบตเตอรี่ จะเข้าไปสะสมกันที่ แผ่นเพลต ทาให้เกิดประจุลบขึ้นและยังส่งสนามไฟฟ้ าไป ผลัก
อิเล็กตรอนของแผ่นเพลตตรงข้าม ซึ่งโดยปกติในแผ่นเพลตจะมี ประจุเป็ น + และ - ปะปนกันอยู่ เมื่ออิเล็กตรอน
จากแผ่นเพลตถูกผลักให้หลุดออกไปแล้วจึงเหลือประจุบวกมากกว่าประจุลบ ยิ่งอิเล็กตรอนถูกผลั กออกไปมาก
เท่าไร แผ่นเพลตนัน้ ก็จะเป็ นบวกมากขึน้ เท่านัน้
การคายประจุ
ตัวเก็บประจุที่ถกู ประจุแล้ว ถ้ายังไม่นาขัว้ ตัวเก็บประจุมาต่อกัน อิเล็กตรอนก็
ยังคงอยูท่ ี่แผ่นเพลต แต่ถา้ มีการครบวงจร ระหว่างแผ่นเพลตทัง้ สองเมื่อไร
อิเล็กตรอนก็จะวิ่งจากแผ่นเพลตทางด้านลบ ไปครบวงจรที่แผ่นเพลต บวกทันที เรา
เรียกเหตุการณ์นวี้ ่า "การคายประจุ"
จากการเก็บและคายประจุของคาปาซิเตอร์ สามารถนามาใช้ประโยชน์

➢ การกรองไฟดีซีให้เรียบ (Filter)
➢ การถ่ายทอดสัญญาณและเชือ่ มโยงระหว่างวงจร (Coupling)
➢ การกรองความถี่ (Bypass)
➢ การกัน้ การไหลของกระแสไฟดีซี (Blocking)
ตัวเก็บประจุสามารถแบ่งลักษณะตามโครงสร้างออกได้ 3 ประเภท

1. ตัวเก็บประจุแบบค่าคงที่ (Fixed Capacitor)


2. ตัวเก็บประจุแบบปรับค่าได้ (Variable Capacitor)
3. ตัวเก็บประจุแบบเลือกค่าได้ (Select Capacitor)
1. ตัวเก็บประจุแบบค่าคงที่ (FIXED CAPACITOR)
คือ ตัวเก็บประจุที่มีค่าความจุคงที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงค่าได้ โดยปกติจะมี
ลักษณะรูปทรงเป็ นวงกลม สี่เหลี่ยมผืนผ้า หรือ ทรงกระบอกจะมีค่าความจุเป็ นนา
โนฟารัด (nF) พิโกฟารัด (pF) ไมโครฟารัด (uF) ส่วนมากจะแบ่งชนิดตามประเภทของ
วัสดุฉนวนที่นามาใช้ทาไดอิเล็กตริก
ตัวเก็บประจุชนิดอิเล็กโทรลิติก
(ELECTROLYTIC CAPACITOR)
ตัวเก็บประจุชนิดกระดาษ ตัวเก็บประจุชนิดไมก้า ตัวเก็บประจุชนิดเซรามิก
(PAPER CAPACITOR) (mica capacitor) (ceramic capacitor)

ตัวเก็บประจุชนิดฟิ ล์มพลาสติก ตัวเก็บประจุชนิดแทนทาลัม


ตัวเก็บประจุชนิดอิเล็กโทรลิตกิ
(plastic - film capacitor) (tantalum capacitor)
(electrolytic capacitor)
2. ตัวเก็บประจุแบบปรับค่าได้ (VARIABLE CAPACITOR)

จะมีลักษณะโครงสร้างที่ประกอบด้วยแผ่นโลหะ 2 ชุด แต่ละชุดของแผ่นโลหะจะเป็ น


แผ่นที่วางซ้อนกันอยู่ คือชุดที่หนึง่ สามารถเคลี่อนที่ได้โดยการหมุนแกนที่เรียกว่าโรเตอร์
(rotor) และชุดของแผ่นโลหะที่ยึดติดอยู่กบั ที่ ซึ่งเรียกว่าสเตเตอร์ (stator) บริเวณรอยต่อ
ลอยอยู่ได้เพราะใช้ฉนวนเบกาไลต์หรือกระเบื้องเป็ นตัวยึดตรึงไว้กับตัวถัง ของตัวเก็ บ
ประจุ

***ตัวเก็บประจุเปลีย่ นแปรค่ าได้ จะใช้ อากาศเป็ นไดอิเล็กตริกเป็ นส่ วนใหญ่ และค่ าความจุของตัว
เก็บประจุชนิดนีจ้ ะมีค่าความจุเปลีย่ นแปรได้ เมื่อเราหมุนแกนของโรเตอร์
3. ตัวเก็บประจุแบบเลือกค่าได้ (SELECT CAPACITOR)

ในบางครั้ง ตัว เก็ บ ประจุช นิด ปรับ ค่า ได้ จะเรี ย กอี ก อย่ า งหนึ่ง ว่ า ทริ ม เมอร์
(trimmer) ซึ่งจะมีโครงสร้างภายในที่ประกอบขึ้นมาจากแผ่นโลหะบางๆ วางซ้อนกั น
หลายๆ แผ่น และใช้เซรามิกหรือไมก้าเป็ นไดอิเล็กตริกคัน่ กลางระหว่างแผ่น โลหะ ส่วน
ตรงกลางจะมีสกรูขนั ไว้เพื่อใช้ปรับแผ่นโลหะที่วางซ้อนกันให้ระยะชิดกั นหรือระยะห่าง
กันได้
หน่วยความจุของตัวเก็บประจุ
ตัวเก็บประจุมหี น่วยวัดค่าความจุเป็ น ฟารัด (Farad)
1 ฟารัด ได้จากความสามารถในการรับกระแส 1 แอมแปร์ ในเวลา 1 นาที จะมีความต่าง
ศักย์ที่แผ่นโลหะทัง้ สองของคาปาซิเตอร์ 1 โวลต์
และมีอิเล็กตรอนบรรจุอยู่ 1 คูลอมป์ (1 คูลอมป์ เท่ากับจานวนอิเล็กตรอน 6.24 x
10^18 หรือ 6,240,000,000,000,000,000 ตัว)
1,000 pF (พิโกฟารัด) เท่ากับ 1 nF (นาโนฟารัด)
1,000 nF (นาโนฟารัด) เท่ากับ 1 u F (ไมโครฟารัด)
1,000,000 uF (ไมโครฟารัด) เท่ากับ 1 F (ฟารัด)
การอ่านค่าตัวเก็บประจุ

การอ่านค่าตัวเก็บประจแุ ละค่าความคลาดเคลื่อนตัวเก็บประจุที่แสดง
บนตัวเก็บประจุโดยสามารถทาได้ 2 วิธี
1. แบบตัวเลขหรือตัวอักษร (Alphanumeric Labels
2. แบบรหัสสี (Color Coding)
การ
อ่าน
ค่าตัว
เก็บ
ประจุ
การ
อ่าน
ค่าตัว
เก็บ
ประจ ุ
ในกรณีที่ตัวเก็บประจุแสดงค่าเป็ นแถบสีนิยมใช้กับตัวเก็บประจุชนิดแทนทาลั ่มซึ่งจะมีแบบ
3 แถบสี และ 5 แถบสี วิธีการก็จะคล้าย ๆ กับการอ่านค่าแถบสีของตัวต้านทาน โดยจะแสดงรูป
และอธิบายวิธีการอ่านแต่ละตัวพอสังเขป เพื่อเป็ นแนวทางในการศึกษาต่อไปดังนี้
แบบรหัสสี (COLOR CODING 3 แถบสี

แถบที่ 1 สีแดงมีค่าเท่ากับ 2
แถบที่ 2 สีเขียวมีค่าเท่ากับ 5
แถบที่ 3 สีสม้ มีค่าเท่ากับ 3
สีที่ 1 และสีที่ 2 เป็ นตัวตัง้
สีที่ 3 เป็ นตัวคูณ หรือตัวเติมศูนย์
อ่านค่าได้ 25,000 พิโกฟารัด
แบบรหัสสี (COLOR CODING 5 แถบสี

แถบที่ 1 สีแดงมีค่าเท่ากับ 2
แถบที่ 2 สีเขียวมีค่าเท่ากับ 5
แถบที่ 3 สีเหลืองมีค่าเท่ากับ 4
แถบที่ 4 สีสม้ มีค่าเท่ากับ 3
สีที่ 1 สีที่ 2 และสีที่ 3 เป็ นตัวตัง้
สีที่ 4 เป็ นตัวคูณ หรือตัวเติมศูนย์
สีที่ 5 แสดงเปอร์เซ็นต์ค่าผิดพลาด
อ่านค่าได้ 254,000 พิโกฟารัด 2 %
สาเหตุการเสียของ CAPACITOR

1. ใช้แรงดันเกินพิกดั ที่กาหนด
2. ใช้ผดิ ประเภท DC/AC ดูสญ ั ญาณด้วยครับว่าส่วนนัน้ เป็ น AC หรือ DC
3. การต่อขัว้ ที่ผดิ
4. เกิดจากอุณภูมทิ ี่ตวั เก็บประจุมคี วามร้อนมาก ๆ

You might also like